ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน

โรงเรียนบ้านควนจงได้จัดอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนทุกคน โดยมีการควบคุมคุณภาพอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ ให้ครบถ้วนและจัดอาหารกลางวันอย่างเพียงพอแก่นักเรียน แต่ยังพบว่านักเรียนยังมีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ และบางส่วนมีน้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์ ทางโรงเรียนจึงคิดวิธีการส่งเสริมโภชนาการเพิ่มเติมให้กับนักเรียน โดยให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติการทำกิจกรรมการเพาะเห็ด การทำปุ๋ยหมักแห้ง การปลูกผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไก่ไข่ โดยใช้รูปแบบการเกษตรผสมผสานและชีววิถี ให้มีผลผลิตที่ปลอดภัยและหลากหลายหมุนเวียนกันอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับแผนการประกอบอาหารของโรงเรียนภายใต้โครงการอาหารกลางวันให้นักเรียนได้รับประทานซึ่งถือได้ว่าเป็นการให้นักเรียนฝีกปฏิบัติ และสามารถนำประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตต่อไป

กรอบแนวคิด

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

การบริการอาหารกลางวันของสถานศึกษาเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับนักเรียนเพราะการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ปลอดสารพิษ และได้รับประทานอาหารอย่างเพียงพอ จะส่งผลต่อสุขภาพนักเรียนทำให้นักเรียนมีสุขภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง มีภูมิคุ้มกันโรค ทำให้คุณภาพชีวิตของนักเรียนดีขึ้นและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี 1เพื่อให้มีวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่ใหม่ สด สะอาด มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษโดยผลิตขึ้นในโรงเรียนตลอดปี ตัวชี้วัดความสำเร็จ :

ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรที่โรงเรียนผลิตได้เพียงพอต่อการใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน

112.00 2เพื่อสร้างทักษะทางด้านการเกษตรให้แก่นักเรียน เพื่อใช้เป็นแนวทางการประกอบอาชีพและขยายผลต่อชุมชนได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ :

นักเรียนมีความรู้และทักษะด้านการเกษตรอย่างยั่งยืน

112.00 3เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ การเสียสละ ความอดทน การมีวินัย และความรับผิดชอบ ตัวชี้วัดความสำเร็จ :

นักเรียนมีความซื่อสัตย์ รู้จักเสียสละ มีความอดทน มีวินัย และมีความรับผิดชอบ

112.00 44.เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหลงเรียนรู้ด้านการเกษตรให้แก่ชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ :

โรงเรียนสามารถเป็นต้นแบบให้เกษตรกรเข้ามาศึกษาหาความรู้

80.00

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 192 192 กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) คณะครู ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน80 80 นักเรียน112 112

การดำเนินงาน/กิจกรรม

  • เรียงลำดับตามเวลา
  • จำแนกตามกลุ่มกิจกรรม
  • จำแนกตามวัตถุประสงค์

วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย (คน)งบกิจกรรม (บาท)ทำแล้ว ใช้จ่ายแล้ว (บาท) 1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 การเลี้ยงไก่ไข่ 6,880.00 ✔ 6,880.00 1 พ.ย. 61 - 28 ก.พ. 62 การทำปุ๋ยหมัก 0.00 ✔ 4,750.00 5 พ.ย. 61 - 31 ม.ค. 62 การเพาะเห็ดนางฟ้า 0.00 ✔ 3,050.00 3 ธ.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 การปลูกผักปลอดสารพิษ 9.00 ✔ 5,320.00 รวม 0 6,889.00 4 20,000.00

วิธีดำเนินการ (บรรยายเพิ่มเติม)

1.เลี้ยงไก่ไข่ จำนวน16ตัว ใช้อาหารไก่จำนวน 8 กระสอบ 2.ทำปุ๋ยหมัก ใช้มูลไก่ 20กระสอบ มูลวัว 10 กระสอบ แกลบดำ 10 กระสอบ ดินผสม 32 ถุง มะพร้าวสับ 10กระสอบ 3.เพาะเห็ดนางฟ้า ใช้ก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า 200 ก้อน และใช้สแลม จำนวน 21หลา 4.ปลูกผักปลอดสารพิษ โดยมีเมล็ดพันธ์ผัก 12 ซอง

"โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)


บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า) " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ความเป็นมา/หลักการเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ กิจกรรม/การดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ได้ การประเมินผล ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ เอกสารประกอบอื่นๆ


ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโต เนื่องจากการเจริญเติบโคมีทั้งด้านสมองและร่างกายหากขาดอาหารสิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย จึงเป็นการแสดงออกทางร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงด้านร่างกายเท่านั้นยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้าไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ สถานก่ารณ์ปัญหา ที่พบคือ เด็กนักเรียนมีลักษณะร่างกายเตี้ยร้อยละ20 ผอม ร้อยละ10 และนักเรียนที่ไม่ได้ทานอาหารเช้า ร้อย 70

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
  2. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์
  3. เลี้ยงไก่ไข่
  4. ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง
  5. เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้ ครู 6 เด็กนักเรียนศูนย์เด็กเล็ก ก่อนประถมวัย 22 เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหว้า 54

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันทุกคนในระดับก่อนปฐมวัย ถึง ชันประถมศึกษาปีที่ 6 และเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษ ส่งผลการพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา แก่เด็กนักเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน


วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการผลผลิต*ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบ
  • ประชุมปรึกษาหารือผู้ปกครองเกี่ยวกับการโครงการเพื่ออาหารกลางวันเด็กนักเรียน
  • จัดเวรนักเรียนช่วยงานการเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก
  • ปฏิบัติกิจกรรมเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ

  • สามารถให้ความรู้การเลี้ยงปลาดุกให้แก่นักเรียนไม่น้อยกว่า 50 คน
  • สามารถเป็นอาหารกลางวันเด็กให้แก่นักเรียน ไม่น้อยกว่า 50 คน

ด้านคุณภาพ

  • สามารถบริการความรู้ด้านการเลี้ยงปลาดุกให้กับนักเรียน
  • เกิดความมั่นใจด้านวิชาชีพประมง
  • มีอาหารปลอดภัยรับประทาน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน

20 0

2. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่3-6 จำนวน 30คน ช่วยกันทำปุ๋ยหมัก ที่ใช้วัสดุอินทรีย์ เช่น มูลวัว หญ้าแห้ง ฟางข้าว หมักทิ้งไว้ประมาณ 2อาทิตย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ มีปุ๋ยหมัก จำนวน 1ตัน เพื่อใช้ในการใส่ผักที่ปลูก และข้าวโพดหวาน

ผลลัพธ์

  • สามารถให้ความรู้ด้านการทำปุ๋ยหมักให้แก่นักเรียน
  • เกิดความมั่นใจในการนำศาสตร์พระราชาไปใช้ด้านการเกษตร
  • มีผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน

23 0

3. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการเตรียมแปลงปลูกผัก จำนวน 7 แปลง โดยมีการปลูกข้าวโพดหวาน จำนวน 100-200 ต้น เพื่อบำรุงดิน ก่อนที่จะปลูกผักชนิดอื่นๆ

2.นักเรียนที่มีส่วนร่วมในการปลูกผัก ระดับชั้น ป.3-6 จำนวน 30คน ช่วยในการเตรียมแปลง ส่วนนักเรียนชั้นป1-2 ช่วยในการรดน้ำข้าวโพดหวาน

3.มีการเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานส่งโครงการอาหารกลางวัน จำนวน 3ครั้ง ประมาณ 400ฝัก

4.แม่ครัวนำข้าวโพดที่ผลิตได้ประกอบเป็นขนมไทยให้นักเรียนได้กินในโครงการอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนทั้ง 57 คน ได้มีส่วนร่วมในการปลูกข้าวโพดหวาน และได้กินข้าวโพดในมื้อกลางวันของโรงเรียน

2.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกข้าวโพดหวาน

  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน

23 0

4. เลี้ยงไก่ไข่

วันที่ 2 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการซื้อไก่ไข่มาเลี้ยง จำนวน 20 ตัว แต่ประสบปัญหามีสุนัขมากัดกินไก่ เหลือ 10ตัว สาเหตุจากโรงเรือนยังไม่มีความมั่นคง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนไก่ที่ลดลงทำให้ได้ผลผลิตน้อย ประมาณวันละ 7-8 ฟอง/วัน

  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน

23 0

5. เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก

วันที่ 15 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3-6 จำนวน....30.......คน เตรียมบ่อเลี้ยงปลา (แบบพาลสติก) จำนวน...6.บ่อ

2.แบ่งนักเรียน จำนวน....30......คน ช่วยกันปล่อยลูกปลาดุก จำนวน....100......ตัว และแบ่งบทบาทในการเลี้ยงปลา เช่น การให้อาหารปลา การปล่อยน้ำเ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีบ่อปลาดุก จำนวน.......ุ6...บ่อ และปล่อยลูกปลาดุก จำนวน....100....ตัว

2.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุก

  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน
  • ตัวอย่าง โครงการ อาหาร กลางวัน ใน โรงเรียน

23 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม: บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ :

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย 1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย น้ำหนักเพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร 20.00 10.0010.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ตัวชี้วัด : ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ 100.0050.00

รอผลผลิต

3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน ตัวชี้วัด : ผู้เรียนร้อยละ 70 ได้รับการเรียนรู้เรื่อง เศษฐกิจพอเพียง ตามศาสตร์พระราชา 70.0070.00

ครัวเรือนต้นแบบ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) ครู 6 เด็กนักเรียนศูนย์เด็กเล็ก ก่อนประถมวัย 22 เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหว้า 54

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน (2) ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ (3) เลี้ยงไก่ไข่ (4) ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง (5) เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก