ใบ งาน เรื่อง หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน

แผ่นธรณีต่าง ๆ เป็นส่วนประกอบของธรณีภาคการเปลี่ยนแปลงขนาดและตำแหน่งตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีดังกล่าว อธิบายได้ตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานซึ่งมี รากฐานมาจากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎี การแผ่ขยายพื้นสมุทรโดยมีหลักฐานที่สนับสนุนได้แก่รูปร่างของของทวีปที่สามารถเชื่อมต่อกันได้ความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขาซากดึกดำบรรพ์ร่องรอยการเคลื่อนที่ของ ตะกอนธารน้ำแข็งภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาลอายุหินของพื้นมหาสมุทรรวมทั้งการค้นพบ สันเขากลางสมุทร และร่องลึกก้นสมุทร

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรอ่ื ง โลกและการเปลย่ี นแปลงของเปลือกโลก

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชุดที่
รายวิชาธรณวี ิทยา รหัสวิชา ว30261 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5
3

แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนุน

นางพัชรี คณู ทอง
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
โรงเรียนโนนกลางวิทยาคม อาเภอพบิ ลู มังสาหาร จังหวดั อุบลราชธานี
องค์การบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

คำนำ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลีย่ นแปลงของเปลือกโลก
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่ือนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาธรณีวิทยา รหัสวิชา ว30261 เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน
และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใชใ้ นการเรยี นการสอนซอ่ มเสริมได้ หรือใชใ้ นการสอนแทน
ได้เป็นอย่างดี เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นนวัตกรรมท่ีช่วยลดบทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูป
การเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้
ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ
ซง่ึ สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้อง
เหมาะสม

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีจะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน สามารถใช้เพ่ือศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นส่ือที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วตั ถุประสงคข์ องหลักสูตรได้

พัชรี คณู ทอง

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ ก

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

สำรบญั

เรื่อง หนำ้
คำนำ ก
สำรบญั ข
คำชแ้ี จงเก่ยี วกับกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภูมิลำดบั ข้ันตอนกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชี้แจงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรบั ครู จ
คำชีแ้ จงกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรส์ ำหรบั นกั เรียน ช
1
สาระการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
สาระสาคัญ 3
แบบทดสอบก่อนเรยี น 6
บตั รเน้อื หา ชดุ ท่ี 3 เรือ่ ง แนวคิดของทฤษฎที วปี เลือ่ นและหลักฐานสนับสนนุ 19
บตั รกจิ กรรมที่ 3.1 เร่ือง การสารวจหลกั ฐานสนับสนนุ วา่ ทฤษฎีเคยอยตู่ ดิ กัน 24
บตั รกจิ กรรมที่ 3.2 ผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลอื่ นฯ 25
บตั รกจิ กรรมท่ี 3.3 ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคดิ ของทฤษฎีทวปี เลอ่ื นฯ 26
แบบฝกึ หัด เรื่อง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนับสนนุ 27
แบบทดสอบหลงั เรียน 30
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 31
บรรณำนกุ รม 32
ภำคผนวก 33
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3.1 เรอื่ ง การสารวจหลกั ฐานสนับสนนุ วา่ ทฤษฎเี คยอยตู่ ิดกนั 40
เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 3.2 ผังมโนทศั น์ เร่อื ง แนวคดิ ของทฤษฎที วีปเลอ่ื นฯ 41
เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 3.3 ถอดบทเรยี น เร่ือง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลือ่ นฯ 42
เฉลยแบบฝกึ หัด เรือ่ ง แนวคิดของทฤษฎีทวปี เล่ือนและหลักฐานสนับสนุน 43
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น
44
ประวัตยิ อ่ ผจู้ ดั ทำ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ ข

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

คำชีแ้ จงเกย่ี วกับชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง โลกและการ
เปล่ยี นแปลงของเปลอื กโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพ่ือใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ รายวิชาธรณีวิทยา รหัสวิชา ว30261 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โดยให้สอดคล้องตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกท่ีเหมาะสมกับระดับและวัย
เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรอื ร้น มีความสขุ ในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริมเจต
คติท่ีดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และ
สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจหลักการ
ทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีสารวจตรวจสอบข้อมูล การคิด
แก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน
9 ชุด ดังนี้

ชุดท่ี 1 เรอ่ื ง ขอ้ มลู ในการศึกษาและแบ่งช้นั โครงสร้างโลก
ชุดท่ี 2 เรอ่ื ง การแบ่งช้นั โครงสร้างโลก
ชุดที่ 3 เรอื่ ง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน
ชดุ ที่ 4 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพ้นื สมุทรและหลักฐานสนบั สนุน
ชุดที่ 5 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ชุดที่ 6 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่น
ธรณี
ชุดท่ี 7 เรอ่ื ง ภูเขาไฟระเบิด
ชดุ ท่ี 8 เรื่อง แผน่ ดนิ ไหว
ชดุ ที่ 9 เร่ือง สนึ ามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้เป็น ชุดที่ 3 เร่ือง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อน
และหลักฐำนสนับสนนุ ใชเ้ วลำ 2 ชั่วโมง
3. ผู้ใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้คี วรศึกษาข้ันตอนการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้
อยา่ งละเอยี ดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรียนและผู้สนใจท่ีจะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตรใ์ หม้ ีคณุ ภาพมากย่ิงขน้ึ ตอ่ ไป

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ ค

ชดุ ที่ 3 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเล่อื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

แผนภมู ลิ ำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

อา่ นคาช้แี จงและคาแนะนาในการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ศกึ ษาตัวช้วี ัดและจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เสริมพ้นื ฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผู้มพี น้ื ฐำนต่ำ

ศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามข้ันตอน

ประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้จากชดุ กิจกรรม

ไม่ผ่ำน ทดสอบหลงั เรยี น
กำรทดสอบ

ผำ่ นกำรทดสอบ

ศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์เร่ืองต่อไป

แผนภูมิลำดบั ข้ันตอนกำรเรยี นโดยใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรยี นร้วู ทิ ยำศำสตร์
ชุดที่ 3 เรอ่ื ง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลักฐำนสนบั สนนุ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ ง

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

คำชี้แจงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรับครู

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดท่ี 3 เร่ือง แนวคิด
ของทฤษฎีทวปี เลือ่ นและหลกั ฐำนสนับสนุน ใชเ้ วลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซึ่งนักเรียนจะ
ได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการ
สืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้บรรลุจดุ ประสงค์และมปี ระสิทธภิ าพ ครผู ้สู อนควรดาเนนิ การดังนี้

1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเก่ียวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพอื่ ท่ีครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จดั กิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

2. ครูผูส้ อนเตรียมสอื่ การเรียนการสอนให้พรอ้ ม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นสื่อการสอนท่ีตอ้ งใช้ร่วมกนั
4. ครูต้องช้ีแจงให้นักเรียนรู้เก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดงั น้ี

4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้

4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับข้ันตอน อ่านคาช้ีแจงจากใบกิจกรรม เพ่ือจะได้ทราบ
ว่าจะปฏบิ ตั ิกิจกรรมอะไร อยา่ งไร

4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกัน ไม่รบกวนผอู้ ื่น และไม่ชักชวนเพื่อนใหอ้ อกนอกลู่นอกทาง

4.4 หลงั จากปฏบิ ัตกิ ิจกรรมแล้ว นกั เรียนจะต้องจัดเกบ็ อปุ กรณ์ทกุ ช้นิ ใหเ้ รียบร้อย
4.5 เม่อื มีการประเมินผลนักเรียนต้องปฏิบัตติ นอย่างตงั้ ใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขน้ั ตอน ดังน้ี
5.1 ขน้ั ท่ี 1 ข้ันตรวจสอบความร้เู ดมิ
5.2 ขั้นที่ 2 ข้ันสร้างความสนใจ
5.3 ขั้นที่ 3 ขน้ั สารวจและคน้ หา

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ จ

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ
5.4 ขั้นท่ี 4 ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป
5.5 ขั้นที่ 5 ข้นั ขยายความรู้
5.6 ขัน้ ท่ี 6 ขั้นประเมนิ
5.7 ข้ันท่ี 7 ขั้นนาความร้ไู ปใช้
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกลุม่ หรอื รายบุคคล ต้องไม่รบกวนกจิ กรรมของนักเรียนกลุ่มอน่ื
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรือกลมุ่ ใดมปี ญั หาควรเขา้ ไปให้ความช่วยเหลือจนปญั หาน้นั คลีค่ ลายลง
8. การสรุปผลท่ีไดจ้ ากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเปน็ กิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตวั แทนของกลุ่มร่วมกัน ครคู วรเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนแสดงออกให้มากทีส่ ดุ
9. ประเมินผลการเรียนรขู้ องนกั เรยี น เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ ฉ

ชดุ ที่ 3 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

คำชแ้ี จงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรส์ ำหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิด
ของทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลักฐำนสนับสนุน ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูล
มาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทาง
กระบวนการกล่มุ เพ่อื ให้เกิดประโยชน์สูงสุด นกั เรยี นควรปฏิบตั ติ ามคาชแ้ี จง ดังต่อไปนี้

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 3 เร่ือง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเล่ือน
และหลกั ฐำนสนับสนนุ ใชเ้ วลำในกำรทำกิจกรรม 2 ช่วั โมง

2. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน 10 ขอ้
3. นักเรยี นทากจิ กรรมเป็นรายกลุ่มและศึกษาวธิ ดี าเนินกิจกรรมให้เขา้ ใจ
4. นักเรียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5. นกั เรยี นทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรยี นร้ใู หค้ รบ
6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 10 ข้อ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ ช

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ / สาระสาคญั

ชดุ ที่ 3
แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนับสนนุ

สาระ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
1. เข้าใจกระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อส่ิงมีชีวิต
และสง่ิ แวดล้อม การศึกษาลาดบั ชัน้ หิน ทรพั ยากรธรณี แผนที่ และการนาไปใช้
ประโยชน์

ผลการเรียนรู้
2. อธบิ ายหลักฐานทางธรณีวทิ ยาทสี่ นับสนนุ การเคลือ่ นทขี่ องแผน่ ธรณี

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายแนวคิด ทฤษฎเี กยี่ วกับการเคล่อื นทีข่ องแผน่ ธรณี (K)
2. อธิบายหลักฐานทางธรณีท่ีสนับสนนุ การเคลอื่ นท่ขี องแผ่นธรณี (K)
3. บอกสาเหตุท่ีทาให้เปลือกโลกเกดิ การเปลย่ี นแปลงและผลกระทบที่เกดิ จากการเคลื่อนท่ี
ของแผน่ เปลือกโลก (K)
4. อธิบายหลักฐานและข้อมูลที่ทาให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อเกี่ยวกับการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี
(K)
5. สรา้ งแบบจาลองและอธิบายเกยี่ วกับลักษณะของรอยต่อของแผน่ ธรณีภาคของโลก (P)
6. ทดลองและอธบิ ายสาเหตุท่ีทาให้แผ่นเปลอื กโลกเคล่ือนท่ี (P)
7. ประยุกตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกยี่ วกบั แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลักฐาน
สนบั สนนุ ในการรว่ มกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน (A)
8. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ
ความคดิ เห็นของผ้อู น่ื ได้ (A)

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 1

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

สาระสาคญั

เกิดจากการนาทฤษฎีทวีปเล่ือนและทวีปแยกมารวมกันตั้งเป็นทฤษฎีใหม่ข้ึนมาโดย
กลา่ วไว้ว่าเปลือกโลกท้ังหมดแบ่งออกเป็นแผ่นทสี่ าคัญ จานวน 13 แผ่น โดยแตล่ ะแผน่ จะมขี อบเขต
เฉพาะได้แก่ แผ่นอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ยูเรเซีย แอฟริกา อินเดีย แปซิฟิก แอนตาร์กติก
ฟิลิปปนิ ส์ อาหรับ สกอเทยี โกโก้ แคริเบียน และนาซก้า แผ่นเปลือกโลกทั้งหมดไมห่ ยดุ นง่ิ อยกู่ ับที่จะ
มีการเคลื่อนทีต่ ลอดเวลา นักวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษาเกี่ยวกับกาเนิดของทวปี และมหาสมุทร โดย
ต้ังสมมติฐานวา่ ผืนแผ่นดนิ ท้งั หมดเดิมเป็นผืนแผ่นดนิ เดียวกัน เรียกวา่ พันเจีย (Pangea) และ
เน่ืองจากอุณหภูมิ และความดันท่ีอยู่ภายใต้โลกสูงมาก ทาให้แมกมาในช้ันฐานธรณีภาคเคลื่อนท่ี
และส่งผลให้ส่วนที่เป็นเปลือกโลกและเน้ือโลกตอนบนซ่งึ เป็นของแข็งเกิดการแตกร้าว และเคล่ือนท่ี
ตามไปด้วย ธรณีภาคจึงแตกออกเป็นแผ่น ๆ มีท้ังแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร และแผ่นธรณีภาค
ภาคพื้นทวปี ผนื แผน่ ดนิ ท่ีเป็นทวีปตา่ ง ๆ ในปัจจุบนั อยู่บนแผน่ ธรณภี าค ภาคพื้นทวปี

แผน่ เปลอื กโลกแต่ละแผน่ มีการเคลื่อนท่ใี นทิศทางท่ีต่างกัน ผลจากการเคลอ่ื นท่ที าให้เกิดสิ่ง
ตา่ ง ๆ บนพ้ืนผวิ โลก ทั้งบนพน้ื ดินและใตม้ หาสมุทร เช่น เทือกเขา ภเู ขา เนินเขา ทรี่ าบสูง หุบเขา
แอ่ง ภูเขาไฟ นักธรณีวิทยาได้พยายามอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรณีวิทยาท่ีเกิดขึ้นบนโลก
โดยใช้หลักฐานข้อมูลทางธรณีภาค ได้แก่ รอยต่อของแผ่นธรณีภาค ตัวอย่างท่ีสังเกตได้ชัดคือ
ขอบของทวีปอเมริกาใต้กับทวีปแอฟริกาท่ีน่าจะต่อกันได้พอดี นักธรณีวิทยาจึงทาการศึกษาต่อที่ใต้
มหาสมุทรแอตแลนติก พบรอยแยกของแผ่นธรณีภาค และเทือกเขากลางมหาสมุทร นอกจากน้ียังมี
การค้นพบซากดึกดาบรรพ์ชนิดเดียวกันแต่อยู่กันคนละทวีป จากข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ทาให้นัก
ธรณีวิทยาสันนิษฐานว่า โลกมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา แผ่นธรณีภาคแต่ละแผ่นเคลื่อนท่ีอยู่
ตลอดนับต้ังแต่โลกเริ่มเกิด การเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีภาคมีท้ังแบบแยกจากกัน หรือมุดซ้อนกัน
สง่ ผลให้เกิดเปน็ ปรากฏการณแ์ ผ่นดนิ ไหว และภเู ขาไฟระเบดิ เปน็ ต้น

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 2

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่อื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

แบบทดสอบก่อนเรยี น

เรื่อง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลักฐานสนับสนุน

รายวชิ าธรณวี ทิ ยา รหัสวชิ า ว30261 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4

คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาทใ่ี ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบทีถ่ กู ต้องทส่ี ุด แล้วเขียนเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. ในการศกึ ษาเร่ืองใด ๆ อาจมีแนวคิดหรอื ทฤษฎใี นเร่อื งนน้ั ๆได้มากกวา่ หน่ึง ทั้งนข้ี ึ้นอยกู่ บั
อะไร

ก. เวลาที่คน้ พบ
ข. ผู้ทาการคน้ คว้า
ค. ขอ้ มูลที่ถกู คน้ พบ
ง. เคร่อื งมือท่ีใช้ในการศึกษา

2. บุคคลใดที่เป็นผู้เสนอทฤษฎี ทวีปเล่ือน
ก. กาลิเล โอ
ข. รอเบิร์ต ฮุก
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อัลเฟรด เวเกเนอร์

3. โครงสรา้ งของโลกตามลักษณะมวลสารแบ่งเป็น 3 ชั้นใหญ่ๆประกอบไปด้วยชั้นใดบ้าง
ตามลาดับ

ก. ช้ันเปลือกโลก, ช้ันผิวโลก, ชั้นเน้ือโลก
ข. ชั้นเปลือกโลก, ช้ันเนื้อโลก, ชั้นแก่นโลก
ค. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกช้ันใน, ช้ันแก่นโลก
ง. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกช้ันนอก, แก่นโลกชั้นใน

4. กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีเกดิ จากอะไร
ก. การถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
ข. การนาความร้อนของแผ่นธรณี
ค. ความหนาแน่นของแผ่นธรณี
ง. การหลอมระลายของช้ินหิน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 3

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่อื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

5. ธรณีภาคแผ่นอินเดียเคล่ือนเข้ามุดชนกับแผ่นธรณีภาคแผ่นยูเรเซียทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นดินไหว
ข. เทือกเขาแอลป์
ค. เทือกเขาหิมาลัย
ง. การนาความร้อนของแผ่นธรณี

6. อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนและมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปทาให้เกิดเหวลึก
ข. ธรณีภาคแผ่นหนึ่งมุดซ้อนลงใต้อีกแผ่นหน่ึงทาให้เกิดเทือกเขาสาคัญ
ค. เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวทาให้เกิดหุบเขาทรุด
ง. ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งใด

7. แผ่นธรณีภาค 2 ชนิดได้แก่แผ่นทวีปและแผ่นมหาสมุทรข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เป็นแผ่นธรณีภาคที่เคล่ือนท่ีตลอดเวลา
ข. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่มีการเปล่ียนแปลง
ค. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่สามารถเคล่ือนที่ได้
ง. เป็นแผ่นธรณีภาคที่อยู่ใต้มหาสมุทรเท่านั้น

8. ข้อใดถูกต้องที่สุดเก่ียวกับทวีปเลื่อน
ก. เกิดจากทวีป 2 ทวีปเลื่อนตัวเข้าหากัน
ข. ทวีปที่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเริ่มค่อยๆ มีการแยกตัวออกจากกัน
ค. ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาเล่ือนเข้าหากันกลายเป็นทวีปขนาดใหญ่
ง. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดทาให้ทวีปที่อยู่ติดกันเลื่อนออกจากกัน

9. แผ่นธรณีภาคแผ่นใดแผ่นหนึ่งจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนึ่งเกิดล่องลึกก้นสมุทรและแนวภูเขา
ไฟใต้ทะเลเกิดจากอะไร

ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคล่ือนท่ีมุดชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพ้ืนทวีป
ง. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ค. แผ่นธรณีภาคภาคพ้ืนทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ง. ขอบแผ่นธรณีภาคเคล่ือนที่ผ่านกัน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 4

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ
10. ธรณีภาค เกิดจากอะไร

ก. เปลือกโลกส่วนท่ีเป็นแผ่นดิน
ข. การหลอมละลายของช้ันหิน
ค. เนื้อโลกส่วนบนกับช้ันเปลือกโลกรวมกัน
ง. การรวมตัวของโลหะเหล็กและนิเกิลด้วยความร้อนสูง

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 5

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

บัตรเนื้อหา
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
ชุดที่ 3 แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนับสนนุ

ในต้นศตวรรษท่ี 19 มีนักวิทยาศาสตร์ได้เสนอแนวคิดว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวีป
ต่าง ๆ ของโลกไม่ได้มีตาแหน่งเหมือนเช่นปัจจุบัน แต่เคยเชื่อมต่อเป็นผืนแผ่นดินเดียวกันมาก่อน
นักวิทยาศาสตร์คนหน่ึงท่ีเสนอแนวคิดขา้ งตน้ คือ อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener) โดยเริ่ม
จากการสังเกตรูปร่างทวีปต่าง ๆ บนโลกและพบว่าบางทวีปมีขอบที่ต่อกันได้ ดังรูปที่ 3.1 จึงนาไปสู่
การศึกษาหาหลักฐานและข้อมูลเพอื่ สนบั สนนุ แนวคดิ ดังกล่าว

รปู ที่ 3.1 แสดงรอยตอ่ ของทวีปในอดีต
ทีม่ า http://508 star.blogspot.com
รูปที่ 3.1 แสดงให้เห็นว่าเมื่อ 200 ล้านปีก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา
อินเดีย ออสเตรเลีย เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณข้ัวใต้ ซึ่งเป็นเขตหนาวเย็น โดยมี
หลกั ฐานเป็นรอ่ งรอยของธารนา้ แข็งในอดีต ในขณะท่ตี อนใตข้ องทวีปอเมรกิ าเหนอื ยุโรป และเอเชีย
มหี ลกั ฐานบ่งช้วี ่า เคยเปน็ เขตร้อนแถบศูนย์สูตรมากอ่ น เน่ืองจากอดุ มสมบรู ณ์ด้วยถ่านหนิ และน้ามัน
ซง่ึ เกิดจากการทับถมของพชื ในอดีต และหลกั ฐานจากฟอสซิล

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 6

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ
นักธรณีวิทยาเชื่อว่าเปลือกโลกมีการเคลื่อนท่ี ในปี 1908 Frank B. Taylor ได้อธิบาย
ปรากฏการณ์ของการท่ีมหาทวีป 2 แห่ง ซึ่งเคยวางตัวอยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือและใต้แตกแยกออกเป็น
ทวีปขนาดเล็กกว่าและเคลื่อนที่มาทางเส้นศูนย์สูตร นั่นคือมหาทวีปลอเรเซีย (Laurasia) ซ่ึงอยู่ทาง
เหนือและมหาทวีปกอนด์วานา (Gondwanaland) ซ่ึงอยู่ทางใต้ โดยเป็นการเคล่ือนท่ีเฉพาะของ
เปลือกโลกไซอัล และผลักดันตะกอนทาให้เกิดแนวเทือกเขาทางด้านหน้าที่ทวีปเคล่ือนท่ีไปประกอบ
กับร่องรอยการแตกแยกของทวีปทางด้านหลัง สาหรับแรงที่ทาให้เกิดการเคล่ือนท่ีของทวีปนั้น
อธบิ ายวา่ มาจากแรงดึงดดู ของดวงจันทร์ซงึ่ เข้ามาอยู่ใกลช้ ดิ โลกมาก ในยุคครีเทเชยี ส
ต่อมาในปี 1910 Alfred Wegener ได้สร้างแผนที่มหาทวีปใหม่เพียงแห่งเดียว โดยอาศัย
รูปร่างแผนที่ของ Snider และตั้งช่ือว่ามหาทวีปพันเจีย ล้อมรอบอยู่ด้วยมหาสมุทรแพนธาลาสซา
(Panthalassa) แลว้ จึงแตกออกและเคล่ือนทไ่ี ปอยู่ ณ ตาแหน่งทเี่ หน็ อยูใ่ นปัจจบุ ัน
ขณะเคลื่อนท่ีก็เกิดเทือกเขาด้านหน้า การแตกแยกด้านหลังเหมือนคาอธิบายของ Taylor
นอกจากนี้ยังอธิบายว่ารอยช้ินทวีปท่ีขาดหล่นปรากฏเป็นเกาะแก่ง หรือรอยฉีกที่พบเป็นร่องลึกยัง
ปรากฏอยู่บนพนื้ มหาสมุทร ขณะเดียวกบั ที่มีการแทรกดันข้ึนมาของเปลอื กโลก ทม่ี ีมวลตัง้ ตน้ มาจาก
ช้ันเน้อื โลก

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 7

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

รปู ท่ี 3.2 ภาพแสดงแผ่นทวปี ตา่ ง ๆ
ทีม่ า : http://www.baanjomyut.com
ทกุ ทวีปในโลกเคยเปน็ แผน่ ดนิ เดยี วกัน
นักธรณีวิทยาพบว่าเปลือกโลกมิได้รวมติดกันเป็นแผ่นเดียวโดยตลอด มีรอยแยกอยู่ท่ัวไป
ซ่ึงรอยแยกเหล่าน้ีอยู่ลึกลงไปจากผิวโลก เปลือกโลกแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ 6 แผ่น
และแผน่ เปลือกโลกขนาดเล็กอกี หลายแผ่น

รูปที่ 3.3 แผ่นเปลอื กโลกแสดงรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก
ที่มา http://www.baanjomyut.com
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 8

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

จากรูปที่ 3.3 แผ่นเปลือกโลก จะเห็นว่าเปลือกโลกประกอบด้วยแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่
6 แผน่ ดงั น้ี

1. แผ่นยูเรเซยี เปน็ แผ่นโลกที่รองรับทวีปเอเซียและทวีปยุโรป และพน้ื น้าบรเิ วณใกลเ้ คียง
2. แผน่ อเมริกา แผน่ เปลือกโลกท่ีรองรบั ทวปี อเมริกาเหนือ และทวีปอเมรกิ าใต้และพื้นน้า
คร่งึ ซกี ตะวันตกของมหาสมทุ รแอนแลนตกิ
3. แผน่ แปซฟิ ิก เป็นแผน่ เปลือกโลกท่ีรองรบั มหาสมทุ รแปซิฟิก
4. แผน่ ออสเตรเลยี เป็นแผ่นเปลือกโลกทีร่ องรบั ทวปี ออสเตรเลยี ประเทศอินเดีย และพ้ืน
น้าระหว่างประเทศออสเตรเลียกับประเทศอินเดีย
5. แผน่ แอนตาร์กติกา เปน็ แผ่นเปลอื กโลกท่รี องรับทวปี แอนตารก์ ติกา และพ้ืนนา้ โดยรอบ
6. แผ่นแอฟรกิ า เป็นแผน่ เปลือกโลกท่ีรองรับทวปี แอฟริกา และพ้นื นา้ รอบๆ ทวปี
นอกจากนี้ยังมีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กอีกด้วย เช่น แผ่นฟิลิปปินส์ ซ่ึงรองรับประเทศ
ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เป็นตน้
ซ่ึงมที ฤษฎีและหลักฐานต่างๆ มากมาย เพ่ือพิสูจนว์ ่าโลกเคยเปน็ แผ่นดนิ เดยี วกนั แล้วแยก
ออกจากกนั จนเป็นรปู รา่ งท่ีเห็นในปัจจบุ ัน
ทฤษฎีการเล่ือนไหลของทวีป เป็นทฤษฎีที่เสนอโดย อัลเฟรด เวเกเนอร์ ชาวเยอรมัน
ซง่ึ มใี จความว่า เมื่อ 180 ล้านปี ผิวโลกส่วนท่ีเปน็ แผ่นดนิ ซึ่งโผล่พน้ ผิวนา้ ทตี่ ิดกันเปน็ ทวีปเดยี ว เรียก
ทวีปใหญ่น้ีว่า แพงเจีย (pangea) ซ่ึงแปลว่า all land หรือ แผ่นดินท้ังหมด เมื่อเลาผ่านไปแพงเจีย
เริ่มแยกเป็นหลายส่วน แต่ละส่วนขยับเขยื้อนเคล่ือนที่แยกจากกันไปเป็นทวีปต่างๆ ดังปรากฏใน
ปจั จบุ นั

ภาพท่ี 3.4 ทวีปเดียวตามแนวคดิ ของ อลั เฟรด เวเกเนอร์
ท่ีมา http://www.baanjomyut.com

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 9

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ
หลักฐานทส่ี นับสนนุ ทฤษฎีการเลอ่ื นไหลของทวีปของอัลเฟรด เวเกเนอร์

1. หลกั ฐานสภาพรปู ร่างของทวีป
สาหรับเวเกเนอร์หลักฐานแรกที่นามาใช้อธิบายแนวคิดเร่ือง“ ในอดีตทวีปท้ังหมดเคย

เป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน” คือรูปร่างของขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกบางทวีปมีขอบท่ีต่อกันได้เช่น
ทวีปอเมริกาแอฟริกาและยุโรปซ่ึงคาดว่าทวีปเคยอยู่ติดกันทั้งนี้จากกิจกรรมจะเห็นว่าการต่อรูปร่าง
ของทวีปโดยพิจารณาจากแนวชายฝั่งในปัจจุบันอาจต่อกันได้ไม่สมบูรณ์เน่ืองจากการกร่อนและการ
สะสมตัวของตะกอนเป็นเวลาหลายร้อยล้านปี แต่หากต่อรูปร่างของทวีปโดยใช้ขอบของลาดทวีป
จะพบว่าทวีปต่าง ๆ สามารถเชอ่ื มตอ่ กันได้สมบูรณม์ ากขึ้นดงั รปู 3.5

รปู ที่ 3.5 การเช่ือมต่อขอบทวีปต่าง ๆ บนโลก โดยพจิ ารณาจากขอบของลาดทวปี เปน็ เกณฑ์
ทมี่ า : หนังสือเรยี นรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 37)

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 10

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ
รูปร่างของทวีปต่างๆ สวมกันได้อย่างพอเหมาะโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทวีปแอฟริกากับทวีป
อเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใต้

รูปท่ี 3.6 ทวีปเดยี วตามแนวคิดของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
ท่ีมา http://www.baanjomyut.com

ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมชาวเยอรมัน ชื่อ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ ได้ตั้งสมมติฐานว่า
แผ่นดินทัง้ หมดบนโลกแต่เดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกันเรียกว่าพันเจียซงึ่ เปน็ ภาษากรีกแปลวา่ แผน่ ดิน
ท้ังหมด

พันเจยี เปน็ มหาทวปี ท่คี ลมุ พ้ืนที่จากขั้วโลกเหนือ-ขว้ั โลกใต้ ลอ้ มรอบดว้ ยมหาสมุทรพนั
ทาลสั ซึง่ แบง่ ออกเป็น 2 ส่วน คือ สว่ นเหนอื เสน้ ศูนย์สูตร คือลอเรเซีย และส่วนใต้เสน้ ศูนยส์ ูตร
คือกอนด์วานา เวเกเนอรแ์ ละคณะไดอ้ ธิบายสมมติฐานโดยใช้หลักฐาน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 11

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

รูปที่ 3.7 แสดงข้นั ตอนการเลือ่ นของแผ่นธรณภี าคจากอดตี ถงึ ปจั จุบัน
ท่ีมา http://khanaporn.exteen.com

1. หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
2. หลกั ฐานจากความคล้ายคลึงกันของกลมุ่ หินและแนวภเู ขา
3. หลักฐานจากหนิ ทเี่ กดิ จากการสะสมตวั ของตะกอนจากธารนา้ แข็ง
4. หลกั ฐานจากซากดึกดาบรรพ์

และหลกั ฐานขอ้ มลู ทางธรณวี ิทยาอนื่ ๆทส่ี นบั สนุนการเคล่อื นตวั ของทวีป
2. หลักฐานสิ่งมชี วี ติ ท้งั พืชและสตั ว์

มีการอ้างหลักฐานการพบซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตท้ังพืชและสัตว์และช้ันของหิน
ชนิดเดียวกันในสองทวีปแถบที่อยูด่ ้านเดยี วกันหรอื ใกล้เคียง

เวเกเนอร์ได้เสนอแนะให้ลองพิจารณารูปร่างของทวีปต่างๆ บนแผนท่ีโลก เวเกเนอร์ยัง
ได้ศึกษาซากฟอสซิลของพืชและสัตว์ท่ีมีอยู่ตามแนวชายฝั่ง (Coastline) ท้ังทวีปอเมริกาใต้และ
ทวีปแอฟริกา ซึ่งพบว่าบริเวณที่แนวชายฝั่งทวีปทั้งสองต่อตรงกันน้ัน ซากฟอสซิลที่พบก็เหมือนกัน
ทุกอย่างด้วยซ่ึง หมายความว่าพืชและสัตวท์ ่ีกลายเป็นฟอสซิลน้ันเป็นชนิดเดียวกัน หากทวีปท้ังสอง

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 12

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลกั ฐานสนบั สนนุ
อยู่แยกกันมาอย่างในปัจจุบัน โดยมีมหาสมุทรคั่นระหว่างทวีปเช่นน้ี แล้วพวกพืชและสัตว์ในอดีต
เหล่าน้ีจะเดินทางจากทวีปหนึ่งข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปสู่อีกทวีปหน่ึงได้อย่างไร ข้อสังเกตน้ี
สนับสนุนสมมตฐิ านของเวเกเนอร์ที่วา่ ทวปี อเมรกิ าใตแ้ ละทวปี แอฟรกิ าเดิมเปน็ ผืนดินเดยี วกัน

รูปที่ 3.8 แสดงหลกั ฐานรอยตอ่ ของทวีปและหลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
ท่มี า : http://khanaporn.exteen.com

ทฤษฎีน้เี กดิ ในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 จากการศึกษาแผนที่โลกของ ฟรานซสิ เบคอน
(Francis Bacon) โดยคาดเดาว่า ทวีปอเมรกิ าใต้ และทวีปแอฟริกา หากดนั เขา้ มาประกอบกัน
สามารถเช่อื มตอ่ กันได้พอดี

ต่อมาในปี ค.ศ.1915 อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener) ได้นาเสนอเกี่ยวกับทฤษฎี
ทวีปเล่ือนว่า เมื่อประมาณ 200 - 300 ล้านปีท่ีผ่านมา แผ่นดินท้ังหมดในโลกรวมเป็นผืนเดียวกัน
เรียกว่า “แพงเจีย” (Pangea : แปลว่า ผืนแผ่นดินท้ังหมด) ซึ่งประกอบด้วยทวีปอเมริกาเหนือ
อเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย อินเดีย และหมู่เกาะมาดากัสการ์ มากล่าวไว้ โดยกล่าวว่า ในยุค
ไตรแอสสิก ทวีปท่ีเดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเร่ิมค่อย ๆ มีการแยกตัวออกจากกัน โดยทวีปอเมริกา

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 13

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

เหนือและอเมริกาใต้จะค่อย ๆ แยกจากทวีปแอฟริกา และทวีป ยุโรป จึงทาให้ขนาดของมหาสมุทร
แอตแลนตกิ กวา้ งยิง่ ขึน้ เราเรียกการเคลื่อนไหวดงั กล่าวว่า “ทวปี เล่ือน” (Continental Drift)

ทฤษฎีเลื่อนน้ีเป็นท่ียอมรับกันทั่วไปในปี ค.ศ.1960 จากทฤษฎีดังกล่าว กล่าวถึงการที่ทวีป
อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้รวมเป็นแผ่นเดียวกันเรียกว่า “แผ่นอเมริกา” และมักพบว่าส่วน
บริเวณท่ีเปน็ ขอบของแผ่นทวีป เชน่ แผน่ ทวปี แปซฟิ ิก จะพบแนวการเกิดภเู ขาไฟและแผ่นดินไหวอยู่
เสมอ เนื่องจากการเคลื่อนทข่ี อง แผน่ ทวีป (plate) อยตู่ ลอดเวลา สันนิษฐานว่าการเคลื่อนทีข่ องหิน
หลอมละลายและกระบวนการพาความร้อนภายในโลก เน่ืองมาจากความแตกต่างของอุณหภูมิและ
ความหนาแนน่ ทาให้เกิดการหมุนเวยี น

โดยเม่ือ 200 ล้านปีก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย
เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณข้ัวใต้ ซ่ึงเป็นเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเป็นร่องรอย
ของธารน้าแข็งในอดตี

ในขณะที่ตอนใตข้ องทวีปอเมริกาเหนอื ยโุ รป และเอเชยี มหี ลักฐานบ่งชว้ี ่า เคยเป็นเขตรอ้ น
แถบศูนย์สูตรมาก่อน เน่ืองจากอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่านหินและน้ามัน ซึ่งเกิดจากการทับถมของพืช
ในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิล แสดงให้เห็นว่า เม่ือคร้ังก่อนแผ่นดินเหล่านี้เคยอยู่ชิด
ตดิ กนั พืชและสตั ว์บางชนดิ จึงแพรข่ ยายพันธบุ์ นดินแดนเหล่านใ้ี นอดตี

แผ่นเทคโทนิกยูเรเชีย และแผ่นเทคโทนกิ ออสเตรเลียมีรอยเชื่อมกันอยู่ท่ีบริเวณอินโดนีเซีย
ไปจนถึงทะเลอันดามัน (เส้นสีเทา ) ซ่ึงเกิดการเล่ือนเบียดกัน ณ บริเวณเส้นวงกลม ใต้ท้องทะเล
จึงเกดิ เหตุคล่ืนยกั ษ์

แผ่นดินไหวเริ่มท่ีเกาะสุมาตรา เนื่องแผ่นเทคโทนิก 2 แผ่น คือ แผ่นออสเตรเลีย
และยูเรเซียเคลื่อนท่จี นทาให้เกิดการเบียดกันและมุดเข้าหากับอีกแผ่นท่ีบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของ
เกาะสมุ าตรา ทาให้เกดิ คลื่นใต้น้าขนาดใหญ่เขา้ สชู่ ายฝ่ัง

แนวความคิดที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน ได้แก่ ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นทะเล (Sea
Floor Spreading Theory) และยังมีหลักฐานสนับสนุนอ่ืนๆ อีก เช่น หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
ท่ีพบบริเวณสองฝ่ังมหาสมุทรแอตแลนติก ได้แก่ ฝั่งทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอฟริกาใต้ มีลักษณะ
คล้ายกนั

นอกจากหลักฐานเรอ่ื งขอบทวปี แล้วเวเกเนอร์ได้พยายามหาคาอธิบายแนวคิดโดยการศึกษา
และหาหลักฐานด้วยตนเองรว่ มกับขอ้ มลู จากงานวิจยั ของนกั วทิ ยาศาสตรอ์ น่ื ๆ ดงั น้ี

(1) หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์จากการพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและสัตว์ เช่น
กลอสโซพเทรีส (Glossopteris) มีโซซอรัส (Mesosaurus) ไซโนเนทัส (Cynognathus) ลีสโทร
ซอรัส (Lystrosaurus) บนทวีปอเมริกาใต้ทวีปแอฟริกาทวีปแอนตาร์กติกาทวีปออสเตรเลียและ
ประเทศอนิ เดียซึง่ ในปัจจุบันพ้ืนทีต่ ่าง ๆ ดังกล่าวอยู่หา่ งกนั มากและมมี หาสมทุ รค่ันอยู่ดงั นนั้ โอกาสที่

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 14

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ
พืชและสัตว์ดังกล่าวข้ามถ่ินฐานระหว่างทวีปนั้นเป็นไปได้ยากนักวิทยาศาสตร์จึงนามาใช้เป็น
หลักฐานประกอบว่าในอดีตทวีปดังกล่าวเคยอยตู่ ดิ กันมาก่อนดังรปู 3.9

รปู ท่ี 3.9 การกระจายตวั ของซากดกึ ดาบรรพ์พืชและสตั ว์ชนิดต่าง ๆ
ที่ค้นพบในแตล่ ะทวีป แสดงถึงการเชื่อมต่อของแผ่นดนิ ในอดตี

ทม่ี า : หนังสอื เรียนรายวชิ าเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หน้า 38)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

(2) หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา เมอ่ื พจิ ารณาหลักฐานทางด้านธรณีวิทยาและ
ธ ร ณี กา ล นั กวิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ได้ ศึ กษ า ช นิ ด หิ น แ ล ะ กลุ่ ม หิ น ต า ม แ น ว เ ทื อ ก เ ข า แ อป พ า เ ล เ ชี ย น
( Appalachian mountains) ในท วีปอ เมริ กาเ หนือแ ละ แ น ว เ ทื อ ก เ ข า ค า เ ล โ ด เ นี ย น
(Caledonian mountains) ในประเทศนอร์เวย์กรีนแลนด์ไอร์แลนด์และอังกฤษซ่ึงอยู่บนสองฝั่ง
ของมหาสมุทรแอตแลนติกดังรูป 3.10 (ก) พบว่าแนวเทือกเขาท้ังสองมีกลุ่มหินเดียวกันและมีช่วง
อายุเดียวกันประมาณ 200 ล้านปีและเม่ือนขอบของลาดทวีปมาเช่ือมต่อกันพบว่าในอดีตเทือกเขา
ทั้งสองวางตัวอยู่เป็นแนวเทือกเขาเดียวกันดังรูป 3.10 (ข) จึงเป็นอีกหลักฐานหนึ่งที่นามาใช้
สนับสนนุ แนวความคิดทว่ี ่าในอดตี ทวปี ดงั กล่าวเคยอยูต่ ดิ กันมาก่อน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 15

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

รูปท่ี 3.10 หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา
(ก) แนวเทอื กเขาในทวีปอเมริกาเหนือ และทวปี ยโุ รป ในปจั จบุ ัน
(ข) แนวเทือกเขาในทวีปอเมรกิ าเหนือ และทวปี ยุโรป ท่เี คยเชื่อมต่อกนั ในอดตี
ที่มา : หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หน้า 39)
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 16

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

นอกจากน้ีนักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษากลุ่มหินบริเวณทวีปอเมริกาใต้ทวีปแอฟริกาทวีป
ออสเตรเลียทวีปแอนตาร์กติกาและประเทศอินเดียพบว่าต่างก็มีกลุ่มหินท่ีมีช่วงอายุระหว่าง 359-
146 ล้านปี และมีสภาพแวดลอ้ มการเกิดของหนิ คลา้ ยคลงึ กัน

(3) หลักฐานจากการเคล่ือนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล จากการท่ีนักวิทยาศาสตร์ได้
ศกึ ษาสภาพภูมิอากาศบรรพกาลในทวีปออสเตรเลยี ทวีปแอฟริกาทวีปอเมริกาใต้และประเทศอินเดีย
ซ่ึงในปัจจุบันอยู่ในเขตร้อนช้ืนหรือเขตอบอุ่นพบว่าในบางบริเวณของทวีปเหล่านั้นมีหลักฐานรอย
ครดู แสดงการเคล่ือนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลในชว่ งอายุ 280 ลา้ นปี ดงั รูป 3.11 (ก) และเมอ่ื น้า
ขอบทวีปมาต่อกันพร้อมกับพจิ ารณาทิศทางการเคลื่อนท่ีของธารน้าแข็งบรรพกาลจากรอยครูดถูบน
หินฐานท่ีธารน้าแข็งเคลื่อนที่ผ่านพบว่าธารน้าแข็งบรรพกาลมีการเคล่ือนที่กระจายออกจากทวีป
แอฟริกาไปสู่บริเวณอ่ืนซ่ึงคล้ายคลึงกับลักษณะการเคล่ือนท่ีของธารน้าแข็งในทวีปแอนตาร์กติกา
ในปัจจุบันจึงเป็นสมมตุ ฐิ านว่าทวีปดังกล่าวเคยอยตู่ ิดกนั ใกลบ้ รเิ วณขว้ั โลกใตแ้ ละมีพืดน้าแขง็ ปกคลุม
ดังรปู 3.11 (ข)

รูปที่ 3.11 หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแขง็ บรรพกาล
(ก) บรเิ วณทพี่ บหลกั ฐานจากการเคลื่อนทีข่ องธารนา้ แขง็ บรรพกาล
ทมี่ า : หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หน้า 40)
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 17

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

รปู ท่ี 3.11 หลักฐานจากการเคลือ่ นท่ีของธารน้าแข็งบรรพกาล
(ข) ทวีปต่าง ๆ เคยต่อกนั บรเิ วณขัว้ โลกใต้

ท่มี า : หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หนา้ 41)
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 18

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

บตั รกจิ กรรมที่ 3.1
เรอื่ ง การสารวจหลักฐานสนบั สนนุ วา่ ทฤษฎเี คยอยู่ตดิ กันมาก่อน

จุดประสงคก์ จิ กรรม
อธบิ ายและสรา้ งแบบจาลองหลกั ฐานทีส่ นับสนนุ แนวคดิ ว่าทวปี เคยอยตู่ ดิ กนั มาก่อน

วัสดุ-อปุ กรณ์
1. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ (รูป 1)
2. หลกั ฐานจากกลมุ่ หินและแนวเทือกเขา (รปู 2)
3. หลักฐานจากการเคลือ่ นท่ขี องธารน้าแขง็ บรรพกาล (รูป 3)
4. โครงร่างแผนท่โี ลกปัจจุบัน (ภาคผนวก ก)
5. รปู แผน่ ทวีปตา่ ง ๆ (ภาคผนวก ข)
6. กรรไกร 1 อนั
7. ปากกาส/ี ดนิ สอสี 1 ชุด

รูป 1 หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 19

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

รูป 2 หลกั ฐานจากกลุ่มหนิ และแนวเทือกเขา

รปู 3 หลักฐานจากการเคลื่อนทีข่ องธารนา้ แข็งบรรพกาล
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 20

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

สถานการณ์
"ถ้านักเรียนตอ้ งการนาเสนอแนวคิดเร่อื ง "ในอดตี ทวีปท้งั หมดเคยเป็นแผน่ ดินเดียวกันมา

กอ่ น" โดยใช้หลักฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์ กลุ่มหนิ และแนวเทอื กเขา และการเคลอื่ นท่ีของธารนา้
แข็งบรรพกาล ที่พบจากในทวีปตา่ ง ๆ ทวั่ โลก" นักเรยี นจะมีวิธีการวเิ คราะห์ข้อมลู และ นาเสนอให้
คนท่ัวไปยอมรับแนวคิดดังกล่าวได้อย่างไร

วธิ ีการทากจิ กรรม
1. นกั เรยี นรว่ มกันวเิ คราะห์ เก่ียวกับสถานการณแ์ ละหลักฐานท่กี าหนดให้ดังต่อไปน้ี
- หลกั ฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์
- หลักฐานความคลา้ ยกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา
- หลักฐานจากการเคลอื่ นทขี่ องธารนา้ แข็งบรรพกาล
2. สืบค้น และรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ นาผลท่ีได้มาบันทึกลงในตารางที่

กาหนดให้
3. วเิ คราะหข์ ้อมลู จากตารางมาจดั ทาแผนท่ีแสดงการเช่อื มต่อกันของแผ่นทวปี โดยใช้ โครง

รา่ งแผนทท่ี ่ีกาหนดให้
4. นาเสนอแผนทท่ี ีแ่ สดงการเช่ือมต่อกันของแผ่นทวปี
5. รวบรวมความคิดเห็นที่ได้จากการนาเสนอและอภิปรายร่วมกันมาปรับปรุงผลงานให้

สมบูรณ์ย่ิงขนึ้

ตารางบนั ทกึ ขอ้ มูล ทวีปประเทศ
หลกั ฐานทใี่ ช้สนับสนนุ
ุยโรป
เอเ ีชย
ิอนเดีย
อเมริกาเหนือ
อเม ิรกาใต้
ออสเตรเลีย
แอฟ ิรกา
แอนตา ์รก ิตกา

ซากดกึ ดาบรรพ์ มีโซซอรสั
แนวเทือกเขา ไซโนเนทสั
ลสิ โทซอรสั
กลอสโซพเทรสิ
แอปพาเลเชียน
คาเลโดเนียน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 21

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

ทวีปประเทศ

หลักฐานท่ีใช้สนับสนุน ยุโรป
เอเ ีชย
ิอนเดีย
อเมริกาเหนือ
อเมริกาใ ้ต
ออสเตรเ ีลย
แอฟริกา
แอนตาร์ก ิตกา

ธารนา้ แข็ง พบ/ไมพ่ บ
บรรพกาล

สรปุ ผลการทากจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

คาถามท้ายกิจกรรม
1. จากกิจกรรมมที วปี ใดบา้ งท่เี คยอยู่ติดกนั มาก่อน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. มหี ลกั ฐานใดบา้ งที่นามาใช้สนับสนนุ ว่าทวีปเคยอยตู่ ดิ กันมาก่อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 22

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ
3. หลักฐานใดบ้างที่สามารถนามาใช้ระบุช่วงเวลาท่ีทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดกันมาก่อน
และหลกั ฐานดังกลา่ วนามาใช้อธิบายไดว้ ่าอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 23

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

บัตรกิจกรรมที่ 3.2
แผนผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นสรุปความรู้ทเี่ กยี่ วกบั “แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน”
เปน็ แผนผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping) ในกระดาษทแ่ี จกใหแ้ ลว้ นาเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรียน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 24

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

บตั รกจิ กรรมที่ 3.3
ถอดบทเรียน เรอ่ื ง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนับสนนุ

คาช้ีแจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนท่ีเก่ียวกับ “แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐาน
สนับสนุน” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอ
ผลงาน โดยนาไปติดปา้ ยนเิ ทศหน้าชั้นเรยี น

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 25

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

แบบฝึกหดั
เร่อื ง แนวคดิ ของทฤษฎที วปี เลื่อนและหลักฐานสนับสนุน

1. เพราะเหตใุ ด อัลเฟรด เวเกเนอร์ จงึ เชื่อวา่ ทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบันเคยตดิ กนั เปน็ แผน่ เดียวกันมา
ก่อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ลกั ษณะของทวีปในปัจจบุ ันเหมือนหรอื แตกต่างกับทวปี เม่อื ประมาณ 200 ลา้ นปกี ่อนอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. ลักษณะของทวีปในปัจจุบันเหมือนหรือแตกต่างกับทวปี เมอื่ ประมาณ 200 ลา้ นปีกอ่ นอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 26

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

แบบทดสอบหลังเรยี น

เรอ่ื ง แนวคิดของทฤษฎที วีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนุน

รายวชิ าธรณวี ทิ ยา รหัสวิชา ว30261 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

คาชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบบั นี้ จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบทถ่ี ูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครอื่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. บุคคลใดท่ีเป็นผู้เสนอทฤษฎี ทวีปเล่ือน
ก. กาลิเล โอ
ข. รอเบิร์ต ฮุก
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อัลเฟรด เวเกเนอร์

2. โครงสร้างของโลกตามลักษณะมวลสารแบ่งเป็น 3 ช้ันใหญ่ๆประกอบไปด้วยชั้นใดบ้าง
ตามลาดับ

ก. ชั้นเปลือกโลก, ชั้นผิวโลก, ช้ันเน้ือโลก
ข. ช้ันเปลือกโลก, ช้ันเน้ือโลก, ชั้นแก่นโลก
ค. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกช้ันใน, ชั้นแก่นโลก
ง. ชั้นเปลือกโลก, แก่นโลกชั้นนอก, แก่นโลกชั้นใน

3. กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณเี กดิ จากอะไร
ก. การถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
ข. การนาความร้อนของแผ่นธรณี
ค. ความหนาแน่นของแผ่นธรณี
ง. การหลอมระลายของช้ินหิน

4. ธรณีภาคแผ่นอินเดียเคลือ่ นเข้ามุดชนกับแผ่นธรณีภาคแผ่นยูเรเซียทาให้เกิดส่ิงใด
ก. แผ่นดินไหว
ข. เทือกเขาแอลป์
ค. เทือกเขาหิมาลัย
ง. การนาความร้อนของแผ่นธรณี

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 27

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

5. ธรณีภาค เกิดจากอะไร
ก. การหลอมละลายของชั้นหิน
ข. เปลือกโลกส่วนท่ีเป็นแผ่นดิน
ค. เนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกัน
ง. การรวมตัวของโลหะเหล็กและนิเกิลด้วยความร้อนสูง

6. ในการศกึ ษาเรื่องใด ๆ อาจมีแนวคิดหรือทฤษฎใี นเร่อื งนั้น ๆได้มากกวา่ หนง่ึ ท้ังนี้ข้ึนอยกู่ บั
อะไร

ก. เวลาทค่ี ้นพบ
ข. ผูท้ าการค้นควา้
ค. ขอ้ มูลที่ถูกคน้ พบ
ง. เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการศึกษา

7. อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลทาให้เกิดส่ิงใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนและมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปทาให้เกิดเหวลึก
ข. ธรณีภาคแผ่นหนึ่งมุดซ้อนลงใต้อีกแผ่นหนึ่งทาให้เกิดเทือกเขาสาคัญ
ค. เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวทาให้เกิดหุบเขาทรุด
ง. ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งใด

8. ข้อใดถูกต้องท่ีสุดเก่ียวกับทวีปเลื่อน
ก. เกิดจากทวีป 2 ทวีปเล่ือนตัวเข้าหากัน
ข. ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาเลื่อนเข้าหากันกลายเป็นทวีปขนาดใหญ่
ค. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดทาให้ทวีปที่อยู่ติดกันเล่ือนออกจากกัน
ง. ทวีปที่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเร่ิมค่อยๆ มีการแยกตัวออกจากกัน

9. แผ่นธรณีภาค 2 ชนิดได้แก่แผ่นทวีปและแผ่นมหาสมุทรข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เป็นแผ่นธรณีภาคที่เคล่ือนท่ีตลอดเวลา
ข. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่มีการเปล่ียนแปลง
ค. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่สามารถเคล่ือนที่ได้
ง. เป็นแผ่นธรณีภาคท่ีอยู่ใต้มหาสมุทรเท่านั้น

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 28

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ
10. แผ่นธรณีภาคแผ่นใดแผ่นหน่ึงจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนง่ึ เกิดล่องลึกก้นสมุทรและแนวภูเขา
ไฟใต้ทะเลเกดิ จากอะไร

ก. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนท่ีผ่านกัน
ข. แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ง. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนที่มุดชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพ้ืนทวีป

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 29

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน
ชดุ ท่ี 3 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนับสนุน

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง
ข้อ ก ข ค ข้อ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 30

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่อื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

บรรณานกุ รม

กรมทรพั ยากรธรณ.ี (2544), ธรณีวิทยาประเทศไทยเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
เน่ืองในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธนั วาคม
2542. (พิมพค์ รง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรพั ยากรธรณี.

กรมทรัพยากรธรณ.ี (2550), ธรณีวทิ ยาประเทศไทย. (พิมพ์ครง้ั ที่ 2). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพด์ อกเบย้ี .
ราชบัณฑติ ยสถาน. (2558) พจนานกุ รมศัพท์ธรณีวิทยา A-M. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ :

สานักพิมพค์ ณะรฐั มนตรีและราชกิจจานเุ บกษา.
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2558), พจนานุกรมศัพท์ธรณวี ิทยา N-Z. (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ :

สานักพมิ พค์ ณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2551). หนงั สอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐาน

วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พมิ พ์คร้ังท่ี 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พมิ พ์ครง้ั ที่ 8). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพม่ิ เติม

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ ร้งั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2561). หนงั สอื เรียนรายวชิ าเพิ่มเตมิ

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พมิ พค์ ร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์
แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
http://508 star.blogspot.com
http://www.baanjomyut.com
http://khanaporn.exteen.com
https://sites.google.com/site/worldandchange56/

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 31

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 32

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 3.1
เรอื่ ง การสารวจหลักฐานสนบั สนุนว่าทฤษฎีเคยอยตู่ ดิ กนั มาก่อน

จดุ ประสงค์กิจกรรม
อธิบายและสร้างแบบจาลองหลักฐานที่สนบั สนนุ แนวคิดวา่ ทวปี เคยอยู่ติดกนั มาก่อน

วสั ดุ-อปุ กรณ์
1. หลกั ฐานจากซากดึกดาบรรพ์ (รปู 1)
2. หลักฐานจากกลมุ่ หินและแนวเทอื กเขา (รปู 2)
3. หลกั ฐานจากการเคล่อื นทีข่ องธารนา้ แข็งบรรพกาล (รูป 3)
4. โครงรา่ งแผนท่ีโลกปัจจุบัน (ภาคผนวก ก)
5. รูปแผ่นทวปี ตา่ ง ๆ (ภาคผนวก ข)
6. กรรไกร 1 อัน
7. ปากกาสี/ดินสอสี 1 ชดุ

รูป 1 หลกั ฐานจากซากดึกดาบรรพ์

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 33

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

รูป 2 หลกั ฐานจากกลุ่มหนิ และแนวเทือกเขา

รปู 3 หลักฐานจากการเคลื่อนทีข่ องธารนา้ แข็งบรรพกาล
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 34

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

สถานการณ์
"ถ้านกั เรียนตอ้ งการนาเสนอแนวคิดเรือ่ ง "ในอดีตทวีปทง้ั หมดเคยเปน็ แผน่ ดนิ เดียวกันมา

ก่อน" โดยใชห้ ลักฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์ กลุม่ หนิ และแนวเทอื กเขา และการเคลอ่ื นที่ของธารนา้
แข็งบรรพกาล ที่พบจากในทวีปตา่ ง ๆ ท่ัวโลก" นักเรยี นจะมีวิธีการวเิ คราะห์ข้อมูลและ นาเสนอให้
คนทว่ั ไปยอมรับแนวคิดดงั กล่าวไดอ้ ย่างไร

วธิ ีการทากิจกรรม
1. นักเรยี นรว่ มกันวเิ คราะห์ เกย่ี วกับสถานการณ์และหลกั ฐานทกี่ าหนดให้ดงั ต่อไปนี้
- หลักฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์
- หลักฐานความคลา้ ยกันของกลมุ่ หนิ และแนวเทือกเขา
- หลักฐานจากการเคลือ่ นท่ีของธารน้าแขง็ บรรพกาล
2. สืบค้น และรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ นาผลที่ได้มาบันทึกลงในตารางที่

กาหนดให้
3. วเิ คราะหข์ อ้ มูลจากตารางมาจดั ทาแผนที่แสดงการเชื่อมตอ่ กันของแผ่นทวีป โดยใช้ โครง

ร่างแผนทที่ ี่กาหนดให้
4. นาเสนอแผนทีท่ ีแ่ สดงการเชือ่ มตอ่ กนั ของแผ่นทวปี
5. รวบรวมความคิดเห็นท่ีได้จากการนาเสนอและอภิปรายร่วมกันมาปรับปรุงผลงานให้

สมบรู ณ์ย่งิ ขึ้น

ตารางบนั ทกึ ขอ้ มลู ทวีปประเทศ
หลกั ฐานทใ่ี ช้สนับสนนุ
ุยโรป
เอเ ีชย
ิอนเดีย
อเมริกาเหนือ
อเม ิรกาใต้
ออสเตรเลีย
แอฟ ิรกา
แอนตา ์รก ิตกา

ซากดึกดาบรรพ์ มีโซซอรัส 
แนวเทอื กเขา ไซโนเนทัส 
ลสิ โทซอรัส
กลอสโซพเทรสิ 
แอปพาเลเชียน  
คาเลโดเนียน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 35

ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเล่อื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

ทวีปประเทศ

หลักฐานท่ีใช้สนับสนุน ยุโรป
เอเ ีชย
ิอนเดีย
อเมริกาเหนือ
อเมริกาใ ้ต
ออสเตรเ ีลย
แอฟริกา
แอนตาร์ก ิตกา

ธารน้าแขง็ พบ/ไมพ่ บ 
บรรพกาล

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 36

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลกั ฐานสนบั สนนุ
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 37

ชดุ ท่ี 3 แนวคดิ ทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

สรปุ ผลการทากิจกรรม
จากหลกั ฐานรปู ร่างของขอบทวีปทาให้ทราบวา่ ทวีปต่าง ๆ เคยอยตู่ ิดกนั มาก่อนในอดตี

หลักฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์ของพชื และสัตว์ ทาให้ทราบว่า ทวีปอเมรกิ าใต้ แอฟริกา
แอนตาร์กตกิ า ออสเตรเลียและอนิ เดยี ซ่ึงในปจั จบุ ันพน้ื ที่ตา่ ง ๆ ดังกล่าว อยู่ห่างกนั มาก
และมีมหาสมทุ รคั่นอยนู่ นั้ เคยอยตู่ ิดกนั มาก่อน เนอ่ื งจากโอกาสทพี่ ชื และสตั ว์ดังกล่าวจะอพยพ
ขา้ มถ่ินฐานระหวา่ งทวีปนั้นเปน็ ไปได้ยาก

นอกจากนี้ หลักฐานจากการเคล่อื นที่ของธารน้าแขง็ ทาให้ทราบวา่ ทวีปขา้ งต้นเคย
อยู่ติดกนั ใกล้บริเวณขั้วโลกใต้ และมีพืดน้าแข็งปกคลุม หลักฐานจากกลมุ่ หินและแนวเทือกเขา
ทาใหท้ ราบวา่ บางทวปี เชน่ อเมรกิ า ยุโรป มีแนวเทอื กเขาวางตัวในแนวเดียวกัน
และมีกลุ่มหินเดยี วกันท่ีมชี ว่ งอายุเดียวกัน จึงเป็นหลกั ฐาน ว่าทวีปน้ัน ๆ เคยอยตู่ ิดกนั มาก่อน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 38

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

คาถามท้ายกิจกรรม
1. จากกจิ กรรมมีทวปี ใดบา้ งทีเ่ คยอยู่ติดกันมาก่อน

แนวคาตอบ
ทวปี อเมรกิ าใต้ แอฟริกา แอนตารก์ ตกิ า ออสเตรเลียและอนิ เดยี เคยอย่ตู ิดกัน

ใกล้บรเิ วณข้ัวโลกใต้ทวีปอเมริกาเหนือ ทวปี ยุโรป-เอเชีย และเกาะกรีนแลนด์ เคยอยู่ตดิ กนั
มาก่อน

2. มีหลกั ฐานใดบา้ งท่ีนามาใช้สนับสนุนว่าทวปี เคยอย่ตู ิดกันมาก่อน
แนวคาตอบ

รอยตอ่ ของขอบทวปี หลกั ฐานจากซากดึกดาบรรพ์ ความคล้ายกนั ของกลมุ่ หิน
และแนวเทือกเขา หลักฐานจากหินทส่ี ะสมตวั จากตะกอนธารน้าแข็ง

3. หลกั ฐานใดบา้ งท่สี ามารถนามาใช้ระบุชว่ งเวลาท่ที วปี ตา่ ง ๆ เคยอยูต่ ิดกนั มากอ่ น และ
หลักฐานดังกล่าวนามาใช้อธิบายไดว้ า่ อยา่ งไร

แนวคาตอบ
กลมุ่ หินในแนวเทือกเขาแอปพาเลเชียน ในทวีปอเมริกาเหนอื และแนวเทือกเขา

คาเลโดเนยี นในประเทศนอร์เวย์ กรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ และอังกฤษ มชี ่วง อายเุ ดยี วกนั ประมาณ
200 ล้านปี หลกั ฐานน้ีอธบิ ายไดว้ ่าประเทศและทวีปขา้ งต้นเคยอยตู่ ิดกนั มาก่อนในชว่ งเวลา
ดงั กลา่ วและกลุ่มหนิ บรเิ วณทวปี อเมริกาใต้ ทวีปแอฟรกิ า ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปแอนตาร์กตกิ า
และประเทศอินเดีย พบว่ามกี ลุ่มหนิ ทมี่ ีชว่ งอายรุ ะหว่าง 359-146 ลา้ นปี หลักฐานนอ้ี ธบิ าย
ได้ว่าประเทศและทวีปขา้ งต้น เคยอยตู่ ดิ กนั มาก่อนในชว่ งเวลาดงั กล่าว

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 39

ชดุ ท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลกั ฐานสนบั สนนุ

เฉลยบตั รกจิ กรรมที่ 3.2
แผนผงั มโนทศั น์ เร่ือง แนวคิดของทฤษฎที วีปเลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ

คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนสรปุ ความรู้ที่เก่ยี วกบั “แนวคิดของทฤษฎีทวปี เลื่อนและหลักฐานสนบั สนุน”
เป็นแผนผังมโนทศั น์ (Concept Mapping) ในกระดาษท่ีแจกให้แลว้ นาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน

ขน้ึ อยูก่ บั ดลุ พินิจของครผู สู้ อน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 40

ชดุ ที่ 3 แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่อื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 3.3
ถอดบทเรียน เร่ือง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลอ่ื นและหลกั ฐานสนับสนนุ

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เกี่ยวกับ “แนวคิดของทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลักฐาน
สนับสนุน” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอ
ผลงาน โดยนาไปตดิ ปา้ ยนเิ ทศหน้าชัน้ เรียน

ขนึ้ อยกู่ บั ดุลพินิจของครผู ูส้ อน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 41