ใบงานที่ 20 เรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ เฉลย

ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 254 เหมือนกันที่การเกิดโดยเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการที่ดวงอาทิตย์ โลกและ ดวงจันทร์เรียงตัวในแนวเส้นตรงเดียวกัน แตกต่างกันทีต่ ำแหน่งของดาว ซึ่งทำ ให้เห็นดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์มืดไปต่างกัน อีกทั้งเวลาในการเกิด ปรากฏการณ์ยังต่างกนั อกี ดว้ ย มองเหน็ สุริยุปราคาเตม็ ดวง เมื่อ มองเหน็ สรุ ิยุปราคาบางสว่ นได้ ผสู้ งั เกตอยูใ่ นบรเิ วณเงามืดของ ถ้าผ้สู ังเกตอย่ใู นบรเิ วณเงามัว ดวงจนั ทรท์ ่ปี รากฏบนโลก ของดวงจันทร์ทปี่ รากฏบนโลก เกิดจากการบังกนั ของดาว ท่เี รียงตวั ในแนวเส้นตรง เดยี วกัน ทำให้เงาของ ดวงจนั ทร์ตกลงบนโลก มองเหน็ สรุ ิยปุ ราคาแบบวงแหวนเม่ือผูส้ งั เกตอยู่ บรเิ วณเงามัวทเี่ กิดจากดวงจนั ทรแ์ ละโลก สังเกตอยูบ่ นเงามัวทอี่เปยน็ู่หจ่างุดกตนั ัดมขทาอำกใงกหผว้ไู้ ม่าข่เกณดิ ะเงเากสมิดังืดสเกบรุ ตยินปุอโลยรากู่บคนาเเงตาม็มดัววทงี่เปน็ จุดตัดของผู้ กรว กรว ยแหลมของเงามดื ซ่ึงเกดิ จาก ยแหลมของเงามดื ซึ่งเกดิ จาก ดวง ดวง จนั ทร์และโลกอยูห่ ่างกันเกินไป ทำให้ จนั ทรแ์ ละโลกอยู่หา่ งกันเกินไป ทำให้ สงั เกตอไมยู่บ่ นเงามเวั กทดิ ี่เเปงน็ามืดบนโลกผู้ ไม่ เกดิ เงามืดบนโลก จดุ ตัดของ ก ⎯รวยแหลมของเงามดื สซถง่ึ าบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี  เกิดจาก ผู้สงั เกตอยบู่ นเงามัวท่ีเป็น จดุ ตดั ของ ด

255 คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ คนบนโลกทต่ี ำแหน่ง A มองเหน็ ปรากฏการณส์ ุริยุปราคาเตม็ ดวง คนบนโลกทต่ี ำแหนง่ B มองเห็นปรากฏการณส์ รุ ยิ ุปราคาบางสว่ น คนบนโลกทีต่ ำแหนง่ C, D มองไมเ่ หน็ ปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคา คนบนโลกทต่ี ำแหน่ง C จะมองเห็นปรากฏการณส์ ุริยุปราคากอ่ น ตามดว้ ย ตำแหนง่ B, A และ D ตามลำดับ ผู้สังเกตอยบู่ นเงามวั ท่ีเปน็ จดุ ตดั ของ กรวยแหลมของเงามืด ซงึ่ เกิดจาก ดวงจันทร์และโลกอยูห่ ่างกนั เกนิ ไป ทำให้ ไมเ่ กดิ เงามืดบนโลก ผู้สังเกตอยู่บนเงามวั ท่เี ป็นจดุ ตัดของ ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนกโลรวยยี แหลมของเงามดื ซงึ่ เกิดจาก ดวงจันทร์และโลกอยู่ห่างกนั เกนิ ไป ทำให้ ไม่เกิดเงามดื บนโลก

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 256 คนบนโลกที่ตำแหนง่ A และ B ไม่สามารถสังเกตปรากฏการณจ์ นั ทรุปราคาได้ เพราะ บริเวณท่สี งั เกตปรากฏการณ์จนั ทรปุ ราคาได้จะอยใู่ นเวลากลางคนื ที่ ตำแหนง่ C และ D ส่วนตำแหนง่ A และ B อยใู่ นเวลากลางวัน ผสู้ ังเกตอย่บู นเงามัวทเ่ี ป็นจดุ ตัดของ กรวยแหลมของเงามืด ซึง่ เกดิ จาก ดวงจนั ทร์และโลกอยหู่ า่ งกันเกินไป ทำให้ ไมเ่ กิดเงามืดบนโลก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

257 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ บทที่ 2 เทคโนโลยีอวกาศ จุดประสงค์การเรยี นรปู้ ระจำบท บทน้ีมอี ะไร เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถ เรือ่ งท่ี 1 รูจ้ กั เทคโนโลยอี วกาศ 1. อธิบายความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศจาก กจิ กรรมท่ี 1.1 เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนา อดตี จนถงึ ปัจจุบนั 2. ยกตวั อย่างประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศท่ีมตี ่อ อย่างไร มนุษย์ กจิ กรรมท่ี 1.2 เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ เวลา 4.5 ชัว่ โมง อย่างไร แนวคดิ สำคัญ เทคโนโลยีอวกาศมีพัฒนาการมาจากการสังเกต ท้องฟ้าด้วยตาเปล่าของมนุษย์ ต่อมามีการใช้กล้อง โทรทรรศน์แบบต่าง ๆ ทั้งที่อยู่บนโลกและในอวกาศ จนกระทั่งการใช้ยานอวกาศแบบต่าง ๆ ในการสำรวจ อวกาศเพอ่ื ปฏบิ ัตภิ ารกจิ มากมาย ยงิ่ ไปกว่านน้ั เทคโนโลยี อวกาศยังเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีอยรู่ อบตวั เรา ท้ังน้ีเพือ่ ให้มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์เพ่ือการ ดำรงชวี ิตในปจั จบุ นั สอ่ื การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน ป. 6 เล่ม 2 หน้า 116–141 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.6 เล่ม 2 หน้า 92-107 ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 258 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 กิจกรรมท่ี 1.1 1.2 รหสั ทกั ษะ  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  S1 การสงั เกต S2 การวดั  S3 การใช้จำนวน S4 การจำแนกประเภท  S5 การหาความสมั พนั ธ์ระหว่าง    สเปซกบั สเปซ  สเปซกับเวลา S6 การจดั กระทำและสื่อความหมายขอ้ มลู S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S9 การตง้ั สมมติฐาน S10 การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร S11 การกำหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป S14 การสร้างแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การสือ่ สาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร หมายเหตุ : รหัสทักษะทปี่ รากฏน้ี ใชเ้ ฉพาะหนงั สอื คูม่ อื ครเู ลม่ น้ี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

259 คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคิดคลาดเคลื่อนที่อาจพบและแนวคิดท่ีถูกต้องในบทที่ 2 เทคโนโลยีอวกาศ มีดังตอ่ ไปน้ี แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคดิ ทถี่ ูกต้อง การใช้โทรศัพท์ติดต่อกันเป็นวิธีการสื่อสารผ่าน การใช้โทรศัพท์ติดต่อกันในชวี ิตประวันเป็นการส่ือสารผ่านเครือข่าย ดาวเทยี ม (Global Data Systems, Inc. 2020) สายเคเบิล หรือเสารับสัญญาณท่ีติดตั้งอยู่ในจุดต่าง ๆ ส่วนโทรศัพท์ ที่ต้องสื่อสารผ่านดาวเทียมนั้นมีราคาแพงส่วนใหญ่จะใช้ใน กิจการ ทหาร (Global Data Systems, Inc. 2020, Harrington, 2015) นกั บินอวกาศสามารถมองเห็นกำแพงเมืองจีนด้วยตา นักบินอวกาศไม่สามารถมองเห็นกำแพงเมืองจีนด้วยตาเปล่าจาก เปลา่ จากอวกาศ (NASA, 2005) อวกาศ แต่สามารถสังเกตเห็นกำแพงเมืองจีนจากอวกาศได้โดยใช้ กล้องสองตา และสามารถถ่ายภาพกำแพงเมืองจีนจากอวกาศโดยใช้ กล้องถ่ายภาพที่มีอยู่ในดาวเทียมหรือบนยานอวกาศท่ีโคจรอยู่ในวง โคจรรอบโลก (NASA, 2005) การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศต้องใช้งบประมาณมาก เทคโนโลยีอวกาศบางอยา่ งมีประโยชน์โดยตรงตอ่ การดำเนินชวี ติ ของ แต่มีประโยชน์สำหรับการศึกษาสิ่งต่าง ๆ ในอวกาศ มนุษย์บนโลก เชน่ ดาวเทียมท่ีใช้เพื่อการสื่อสาร การพยากรณ์อากาศ เทา่ นัน้ ไมม่ ีประโยชนต์ อ่ คนบนโลก (Lyons, 2013) หรอื การสำรวจทรพั ยากรธรรมชาติ (ภาคภมู ิ, 2016, ) นักบินอวกาศที่ออกไปปฏิบัติภารกิจในอวกาศต้อง ในขณะทนี่ ักบินอวกาศอยู่ในยานอวกาศสามารถสวมเส้ือผ้าตามปกติ สวมชดุ อวกาศตลอดเวลา* ได้ เนื่องจากในยานอวกาศมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมือนบน โลก แต่ถ้าออกไปปฏิบัติภารกิจนอกยานอวกาศต้องสวมชุดอวกาศ ตลอดเวลา เนื่องจากชุดอวกาศมีการปรับและควบคุมอุณหภูมิให้ เหมาะสม และช่วยป้องกันรังสีต่าง ๆ ได้ (ศูนย์การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและดาราศาสตร์, N.a.) นักบินอวกาศต้องดื่มปัสสาวะตนเอง เนื่องจากน้ำใน ในยานอวกาศมีเครื่องผลิตน้ำดื่ม โดยการนำน้ำจากร่างกาย ท้ัง ยานอวกาศไมเ่ พียงพอ (วมิ ตุ ,ิ 2562) ปัสสาวะ เหงอ่ื มาทำใหเ้ ปน็ นำ้ บรสิ ุทธ์แิ ละดม่ื ได้ (วมิ ตุ ิ, 2562) ถา้ ครูพบว่ามแี นวคิดคลาดเคล่อื นใดที่ยังไม่ไดแ้ ก้ไขจากการทำกิจกรรมการเรยี นรู้ ครูควรจดั การเรียนรเู้ พิ่มเติมเพอ่ื แก้ไข ตอ่ ไปได้ * ข้อมูลจากการสังเกตช้นั เรยี นจากการทดลองใชห้ นังสือเรียนของ สสวท. ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 260 บทนเ้ี ริ่มต้นอย่างไร (0.5 ชว่ั โมง) ในการทบทวนความรู้พื้นฐาน ครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวัตถุท้องฟ้า ที่นักเรียนได้เรียน เหมาะสม รอคอยอย่างอดทน มาแล้วในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับ นักเรียนต้องตอบคำถามเหล่านี้ได้ เทคโนโลยีอวกาศ โดยให้นักเรียนชมวีดิทัศน์ที่แสดงมุมมองของโลก ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครู จากพื้นผิวโลก จนออกสู่อวกาศ รวมทั้งแสดงวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ ใน ตอ้ งใหค้ วามรทู้ ี่ถูกต้องทนั ที อวกาศ เช่น วีดิทัศน์ เรื่อง Earth zoom out (Amazing) หรือ เรื่อง zooming out from Earth 4k จาก https://www.youtube.com ในการตรวจสอบความรู้เดิม (สอ่ื เรอ่ื ง Earth zoom out (Amazing) เป็นวดี ทิ ศั น์ทอ่ี ยใู่ นหมวดหมู่ ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่อนุญาตให้ใช้ได้แต่ต้องมีการระบุ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แหล่งที่มา และอนุญาตการนำมาใช้ซ้ำ ส่วนสื่อเรื่อง zooming out แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง from Earth 4k ไม่ระบุการอนุญาตให้ใช้ จึงควรระบุแหล่งที่มาและ จากกจิ กรรมต่าง ๆ ในบทเรียนนี้ ไมค่ วรใชใ้ นเชงิ พาณิชยใ์ ด ๆ) จากน้นั ครใู ชค้ ำถามดังนี้ 1.1 จากวีดิทัศน์ นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง (นักเรียนตอบสิ่งที่เห็นใน ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ วีดิทศั น์ เช่น พื้นโลก เมฆ โลกทั้งใบ อวกาศ ดาวต่าง ๆ) 1.2 จากวีดิทศั น์ สิ่งใดบา้ งท่เี ป็นวัตถทุ อ้ งฟ้า (ดาวต่าง ๆ ) ในกรณที ี่ไมส่ ามารถเปิดวดี ิทัศน์ 1.3 นักเรียนรจู้ ักวัตถทุ อ้ งฟ้าใดอีกบ้าง (อุกกาบาต) ครสู ามารถใช้ภาพวตั ถทุ ้องฟ้า ตา่ ง ๆ 1.4 วตั ถทุ ้องฟ้าอยู่บรเิ วณใด (อวกาศ) แทนได้ และใช้คำถามตรวจสอบ 1.5 อวกาศ คอื บริเวณใด มีลักษณะอย่างไร (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจ ความร้เู ดิมเรื่องวิธีการสำรวจวตั ถุ เชน่ อวกาศ คือ บรเิ วณทอี่ ยูเ่ หนอื พน้ื โลกขึน้ ไปมากกว่า 100 กโิ ลเมตร ทอ้ งฟ้า เปน็ บริเวณทีไ่ ม่มีอากาศอยูเ่ ลย ในอวกาศจะมีวัตถทุ อ้ งฟา้ ) 1.6 นักเรียนคิดว่า ภาพวัตถุทอ้ งฟา้ ท่ีอยู่ในอวกาศที่นักเรียนเห็นในวีดทิ ศั น์ นี้ ได้มาอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น ถ่ายจากกล้องโดย การถ่ายไปจากพ้นื โลก หรอื ถา่ ยโดยกล้องท่อี ย่ใู นอวกาศ) 1.7 ถ้าเราต้องการสำรวจลักษณะของวัตถุท้องฟ้า นักเรียนคิดว่าเราจะมี วิธีการสำรวจอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น ใช้กล้องส่อง ไปจากพื้นโลกเพื่อสำรวจอวกาศ หรือส่งยานอวกาศขึ้นไปสำรวจ อวกาศ) 1.8 นักเรียนคิดว่าการสำรวจอวกาศมีประโยชน์อย่างไร (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจ เช่น ช่วยให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการสำรวจ อวกาศ ศึกษาลักษณะของดาวต่าง ๆ และนำเทคโนโลยีอวกาศมา ประยุกตใ์ ช้บนโลก) สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

261 คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 2. ครูให้นักเรียนอ่าน ชื่อบท และจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำบท ใน ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ หนังสือเรียนหน้า 117 จากนั้นครูใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ดังน้ี คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 2.1 บทนี้จะไดเ้ รียนเร่อื งอะไร (เร่อื งเทคโนโลยีอวกาศ) คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 2.2 จากจุดประสงค์การเรียนรู้เมือ่ เรียนจบบทน้ีแล้วนักเรียนสามารถ อดทน และรับฟังแนวความคิด ทำอะไรได้บ้าง (สามารถอธิบายความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ของนกั เรียน อวกาศจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และยกตัวอย่างประโยชน์ของ เทคโนโลยอี วกาศท่มี ีต่อมนุษย์) 3. นักเรียนอ่านชื่อบทและแนวคิดสำคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 118 จากนนั้ ครูใช้คำถามดงั นี้ จากการอา่ นแนวคดิ สำคัญ นกั เรียนคิดว่าจะ ได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง (เรียนเกี่ยวกับการพัฒนาของ เทคโนโลยีอวกาศ และการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีต่อยอดมาจาก เทคโนโลยอี วกาศเพือ่ นำมาประยกุ ต์ใช้ในการดำรงชวี ิตของมนุษย์) 4. ครูชักชวนให้นกั เรียนสังเกตรปู และอ่านเน้ือเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 118 โดยครูฝึกทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนกั เรียน ครตู รวจสอบความเขา้ ใจจากการอา่ น โดย ใชค้ ำถามดงั น้ี 4.1 นักเรียนคิดว่าความอยากรู้อยากเห็นมีประโยชน์หรือไม่ เพราะ เหตุใด (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ ในบางครั้ง ความอยากรู้อยากเห็นมีประโยชน์ ทำให้เกิดแรงบันดาลใจ ในการศกึ ษาสิง่ ตา่ ง ๆ) 4.2 จากรูปและเนื้อเรื่อง มนุษย์มีความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องใด (มนษุ ยม์ คี วามอยากรูอ้ ยากเหน็ ในเรื่องอวกาศ) 4.3 เพราะเหตุใด มนุษย์จึงสร้างเทคโนโลยีอวกาศ (มนุษย์สร้าง เทคโนโลยีอวกาศ เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นเรื่อง อวกาศและการเดนิ ทางสู่อวกาศ) 4.4 ในบทนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับเรื่องอะไร (การพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และประโยชน์ของ เทคโนโลยีอวกาศตอ่ มนุษย์) 5. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศในสำรวจ ความรู้กอ่ นเรียน 6. นักเรียนทำสำรวจความรูก้ ่อนเรยี น ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 94 โดยนักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจของ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 262 นักเรียน จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้นักเรียน การเตรยี มตัวล่วงหนา้ สำหรับครู ตอบคำถาม คำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน และคำตอบอาจถูก เพือ่ จัดการเรียนร้ใู นครง้ั ถดั ไป หรอื ผิดก็ได้ 7. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมี ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียนเรื่อง แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศอย่างไรโดยอาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 ที่ 1 รู้จักเทคโนโลยีอวกาศ โดยครูอาจ คน นำเสนอคำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้ เตรียมภาพนักบินอวกาศ สำหรับ นกั เรยี นยอ้ นกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลงั จากเรยี นจบบทนี้แลว้ ท้ังน้ี ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน ครูควรบันทึกแนวคิดคลาดเคลือ่ นหรือแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียน เกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ โดยครู แล้วนำมาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขแนวคิ ด สามารถดาวน์โหลดภาพนักบินอวกาศที่ คลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และต่อยอดแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียน สามารถใช้ได้ฟรี โดยพิมพ์คำว่า “นักบิน ตอ่ ไป อวกาศ” ในช่องค้นหารูปภาพในเว็บไซต์ สำหรับค้นหา จากนั้นกดเลือกการตั้งค่า เลือกการค้นหาขั้นสูง จากนั้นให้เลือก ข้อความ “นำไปใช้หรือแชร์ได้ฟรี” ใน ช่องสิทธิ์การใช้งาน แล้วเลือกรูปท่ี อนุญาตให้ใช้ฟรีมาใช้ในการเรียนการ สอนได้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

263 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม การสำรวจความรกู้ ่อนเรยี น นกั เรียนอาจตอบคำถามถกู หรือผดิ ก็ได้ขึ้นอยู่กบั ความรูเ้ ดมิ ของนักเรียน แตเ่ ม่ือเรยี นจบบทเรยี นแล้ว ใหน้ กั เรียนกลบั มาตรวจสอบคำตอบอีกครั้งและแก้ไขให้ถกู ต้อง ดงั ตวั อย่าง           ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 264 เรื่องที่ 1 รจู้ กั เทคโนโลยอี วกาศ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยว กับ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ ประโยชน์ของ เทคโนโลยีอวกาศรวมทั้งการพัฒนาต่อยอดจาก เทคโนโลยอี วกาศมาเป็นเทคโนโลยที ่ีใช้บนโลก จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายความก้าวหน้าของ เทคโนโลยอี วกาศ 2. รวบรวมข้อมูล และอธิบายประโยชน์ของ เทคโนโลยีอวกาศทมี่ ีตอ่ มนษุ ย์ เวลา 3.5 ช่วั โมง วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม ส่อื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเมจิก เทปใส กระดาษ 1. หนังสือเรยี น ป.6 เล่ม 2 หนา้ 120-141 ขนาด 10x10 เซนติเมตร ชุดเกมกระดานสถานีอวกาศ 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.6 เล่ม 2หนา้ 94-106 (space station) ที่ประกอบด้วย กระดานอวกา ศ การ์ดสถานการณ์ การ์ดขยะอวกาศ ลูกเต๋าสีขาว ลกู เตา๋ สดี ำ การด์ เงิน การด์ สญั ญาเงนิ กู้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

265 ค่มู ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ แนวการจัดการเรียนรู้ (30 นาที) ขั้นตรวจสอบความรู้ (5 นาท)ี 1. ครูตรวจสอบความรูเ้ ดิมเก่ียวกบั เทคโนโลยอี วกาศ โดยนำภาพนกั บิน ในการตรวจสอบความรู้เดิม อวกาศที่สวมชุดอวกาศมาใหน้ ักเรียนสังเกต จากนน้ั นำอภิปรายตาม ครูเพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน แนวคำถาม ดังน้ี และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ 1.1 ภาพนี้คือภาพอะไร เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น (นักเรียนตอบ ชักชวนให้นกั เรยี นไปหาคำตอบด้วย ตามความเขา้ ใจ เชน่ ภาพนักบินอวกาศ เพราะสวมชดุ อวกาศ) ตนเองจากการอา่ นเนื้อเรอื่ ง 1.2 นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดนักบินอวกาศจึงต้องสวมชุดอวกาศ (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น เพราะในอวกาศ มีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของมนษุ ย์ เม่ือ นกั บนิ อวกาศต้องออกไปปฏิบตั หิ น้าท่นี อกยานอวกาศ ต้องสวม ชุดอวกาศที่มีการควบคุมอุณหภูมิ และปรับปริมาณแก๊สต่าง ๆ ให้เหมาะต่อการดำรงชีวิต รวมทั้งป้องกันรังสีต่าง ๆ ที่เป็น อันตรายต่อร่างกาย) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องรู้จักเทคโนโลยี อวกาศ โดยใช้คำถามดังนี้ นักเรียนอยากรู้หรือไม่ว่าเพราะเหตุใด นักบนิ อวกาศจงึ ต้องสวมชุดอวกาศ และนกั บนิ อวกาศตอ้ งทำอย่างไร บา้ งจงึ จะสามารถออกไปสู่อวกาศได้ ขัน้ ฝึกทกั ษะจากการอา่ น (15 นาท)ี 3. นกั เรียนอา่ นช่ือเรื่องและคำถามในคิดก่อนอา่ น ในหนงั สือเรียนหน้า 120 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหาแนวคำตอบและนำเสนอ ครูบันทึก คำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคำตอบหลังจาก อ่านเน้อื เรือ่ ง 4. นกั เรยี นอา่ นคำสำคัญ ท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน อธิบายความหมายของคำสำคญั ตามความเขา้ ใจของตนเอง 5. นกั เรียนอา่ นเนื้อเรื่องในหนงั สือเรียนหน้า 120-121 โดยครูฝึกทักษะ การอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอา่ น โดยใชค้ ำถามดังนี้ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 266 5.1 มนุษย์ใช้เทคโนโลยีอวกาศเพื่อประโยชน์ในด้านใด (เพื่อสำรวจ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ อวกาศ) คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 5.2 การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศเกี่ยวข้องกับความรู้ในด้านใดบ้าง อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน (ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละวศิ วกรรมศาสตร์) และรับฟังแนวความคิดของ นกั เรียน 5.3 นกั เรียนคิดวา่ มอี าชีพใดบา้ งที่เกี่ยวข้องกบั การพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศ และเกี่ยวข้องอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง เช่น นักวิทยาศาสตร์ เนื่องจากการสำรวจอวกาศ จำเป็นต้องใช้ข้อมูลเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ด้านต่าง ๆ เช่น เรื่อง การดำรงชีวิตในอวกาศที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่างจากบนโลก วศิ วกรทเี่ ปน็ ผู้ออกแบบและสร้างยานอวกาศ) 5.4 นกั บนิ อวกาศเดินทางสอู่ วกาศไดอ้ ย่างไร (นักบนิ อวกาศเดินทาง สู่อวกาศโดยยานอวกาศ) 5.5 นักบินอวกาศต้องทำหน้าที่อะไรบ้าง (นักบินอวกาศมีทั้งผู้ที่ ทำหน้าที่ควบคุมยานอวกาศ ผู้เชี่ยวชาญที่ทำหน้าที่ด้านต่าง ๆ และผคู้ วบคุมอุปกรณต์ ่าง ๆ ท่จี ะนำไปใช้ในอวกาศ) 5.6 นักเรียนคิดว่า นักบินอวกาศแตกต่างจากนักบินทั่วไปอย่างไร (นักบินอวกาศแตกต่างจากนักบินทั่วไป เพราะนักบินอวกาศ ต้องได้รับการฝึกฝนเพื่อออกไปปฏิบัติภารกิจในอวกาศ ต้องมี ชุดและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ช่วยให้ดำรงชีวิตในอวกาศได้ ส่วน นักบินทั่วไปปฎิบัติงานอยู่ภายในเครื่องบินมีหน้าที่ควบคุม เครื่องบิน ซึ่งมีการปรับสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการ ดำรงชีวิตและไม่ได้ออกไปปฏิบัติงานนอกเคร่ืองบิน จึงไม่ต้อง สวมชดุ อวกาศ) 5.7 เพราะเหตุใดนักบินอวกาศจึงต้องเข้ารับการฝึกฝนและทดสอบ ต่าง ๆ ก่อนออกเดินทางไปอวกาศ (เพื่อให้นักบินอวกาศเกิด ความมั่นใจ เกิดความชำนาญในการปฏิบัติงานและคุ้นเคยกับ สภาพไร้น้ำหนัก รวมทั้งเพื่อให้ร่างกายและจิตใจมีความอดทน สามารถรับมือกับสภาพแวดล้อมที่แตกต่างจากบนโลกได)้ 5.8 นักบินอวกาศต้องได้รับการฝึกฝนในเรื่องอะไรบ้างเพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนออกสู่อวกาศ และการฝึกแต่ละอย่างมี จุดประสงค์อย่างไร (นักบินอวกาศต้องได้รับการฝึกฝนและ ทดสอบทั้งสภาพร่างกายและจิตใจ เช่น ฝึกปฏิบัติงานใต้น้ำ เพื่อให้คุ้นชินกับการทำงานในสภาพไร้น้ำหนักที่จะเกิดขึ้นขณะ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

267 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ อยู่ในอวกาศ ฝึกใช้ชีวิตอยู่ในทะเลทรายเพื่อทดสอบร่างกายใน สภาพขาดน้ำ ฝกึ ตีลงั กาดว้ ยเครื่องป่ันหมุน 30 รอบตอ่ วินาทีเพ่ือ ทดสอบวัดระยะเวลาฟ้ืนคนื สติและการบังคับตนเอง) 5.9 นักเรียนคดิ วา่ ผู้ที่จะเป็นนักบนิ อวกาศต้องมลี ักษณะเด่นอย่างไร (ต้องเป็นคนที่มีความอดทน มีสุขภาพแข็งแรง รวมทั้งมีจิตใจท่ี เขม้ แขง็ และทำงานรว่ มกบั ผูอ้ น่ื ได้ดี) 5.10เมื่ออยู่ในยานอวกาศ มีวิธีการรับประทานอาหารเหมือนกับ ตอนอยู่บนโลกหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่เหมือนกัน เพราะ ภายในยานอวกาศ มีสภาพไรน้ ำ้ หนัก ทำใหไ้ มส่ ามารถใสอ่ าหาร ในจานไดเ้ หมอื นกบั ตอนอยบู่ นโลก) 5.11เทคโนโลยีดา้ นอาหารสำหรบั นักบนิ อวกาศมกี ารพัฒนาอยา่ งไร (เทคโนโลยีด้านอาหารสำหรับนักบินอวกาศมีการพัฒนา จาก อาหารแห้งบรรจุถุงที่ต้องผสมน้ำแล้วดูด มาเป็นอาหารที่บรรจุ ในกระป๋องหรือถุงพลาสติกพร้อมทานที่บรรจุในระบบ สุญญากาศ และฆ่าเชื้อแล้ว และพัฒนาการดื่มนำ้ ด้วยหลอดมา เปน็ การดมื่ โดยการบบี จากท่อน้ำโดยตรง) 5.12นักเรียนคิดว่าอาหารในรูปที่ 28 อยู่ที่ใด และเพราะเหตุใดจึง ลอยได้ (อาหารอยใู่ นยานอวกาศ ที่มสี ภาพไร้นำ้ หนักจึงลอยได้) 5.13 นักเรียนคิดว่าถ้านักบินอวกาศอยู่ในยานอวกาศจะล อย ได้ เหมือนกับอาหารเหล่านี้หรือไม่ เพราะเหตุใด (นักบินอวกาศที่ อยู่ในยานอวกาศก็ลอยได้เหมือนกัน เพราะอยู่ในสภาพ ไรน้ ำ้ หนกั เชน่ เดยี วกับอาหาร) 5.14จากการอา่ นเรอื่ งรู้จักเทคโนโลยีอวกาศ นกั เรยี นคิดว่าส่ิงใดเป็น เทคโนโลยีอวกาศบ้าง (เทคโนโลยีอวกาศ เช่น ยานอวกาศ อาหารสำหรบั นักบินอวกาศ) ขัน้ สรุปจากการอา่ น (10 นาท)ี 6. นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องที่อ่านซึ่งควรสรุปได้ว่า เทคโนโลยีอวกาศ เปน็ การนำความร้ดู า้ นต่าง ๆ มาประยกุ ต์เพ่ือใช้ในการสำรวจอวกาศ โดยการสำรวจอวกาศจะต้องอาศัยนักบินอวกาศที่ผ่านการฝึกฝนใน ด้านต่าง ๆ และเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในยานอวกาศได้ จึงต้อง มีการพฒั นาเทคโนโลยีดา้ นอาหารสำหรบั นักบินอวกาศด้วย ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 268 7. นกั เรยี นตอบคำถามในรู้หรือยัง ในแบบบนั ทึกกิจกรรม หน้า 95 การเตรียมตัวลว่ งหน้าสำหรบั ครู 8. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของนักเรียน เพ่ือจัดการเรียนรูใ้ นครง้ั ถัดไป ในรู้หรือยัง กับคำตอบทีเ่ คยตอบและบนั ทึกไว้ในคิดก่อนอา่ น ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ 9. ครูให้นักเรียนอ่านคำถามในย่อหน้าสุดท้ายของเรื่องที่อ่าน และ กิจกรรมที่ 1.1 เทคโนโลยีอวกาศมีการ พัฒนาอย่างไร ครูอาจจัดเตรียมภาพ ร่วมกันอภปิ รายเพ่อื ตอบคำถาม ดังน้ี ภารกิจของยานอพอลโล 11 เช่น ภาพ 9.1 นอกจากเทคโนโลยีด้านอาหารแล้ว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยี Apollo 11 และภาพนักบินอวกาศของ Apollo 11 ท่ีเหยียบผวิ ดวงจันทร์ สำหรับ ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอวกาศอีกหรือไม่ (นักเรียน ใช้สำรวจความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ ตอบตามความเข้าใจของตนเอง) เทคโนโลยอี วกาศ 9.2 เทคโนโลยีอวกาศท่ีใช้ในอวกาศมีประโยชน์ต่อมนุษย์บนโลก อย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ กิจกรรม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

269 คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ แนวคำตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ในการสำรวจอวกาศ นักบินอวกาศมีหนา้ ที่ตา่ ง ๆ ดงั นี้ บางคนมหี น้าที่ควบคุมยานอวกาศ บางคน มหี น้าทีอ่ อกไปปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ นอกยานอวกาศ และบางคนมีหน้าที่ ควบคมุ อุปกรณท์ น่ี ำไปใชใ้ นอวกาศ นักบินอวกาศต้องฝึกฝนและทดสอบทง้ั สภาพรา่ งกายและจิตใจหลายด้าน เช่น ฝกึ ปฏบิ ัตงิ านใต้น้ำเพ่ือใหค้ ุ้นกบั สภาพไร้น้ำหนกั ใชช้ วี ติ อยู่ใน ทะเลทรายเพื่อทดสอบรา่ งกายในสภาพขาดนำ้ ทดสอบเพอ่ื วดั ระยะเวลาฟนื้ คืนสติ และการบงั คบั ตนเองโดยฝกึ ตีลังกาด้วยเครื่องปั่นหมนุ 30 รอบต่อ วนิ าที ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 270 กิจกรรมที่ 1.1 เทคโนโลยีอวกาศมี การพัฒนาอย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้สืบค้นข้อมูลการพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศต่าง ๆ เพอ่ื นำมาอธบิ ายความกา้ วหน้าของ เทคโนโลยอี วกาศจากอดตี จนถึงปัจจุบัน เวลา 1.5 ช่วั โมง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล และอธิบายความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีอวกาศ วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม ส่งิ ที่ครูตอ้ งเตรยี ม/กลุ่ม 1. กระดาษปรฟู๊ 1 แผ่น 2. ปากกาเมจิก 1 กลอ่ ง 3. เทปใส 1 มว้ น 4. กระดาษขาวขนาด 20 แผน่ 10x10 เซนตเิ มตร ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ S6 การจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมลู C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู สอ่ื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป 1. หนังสอื เรียน ป.6 เล่ม 2 หน้า 122 - 127 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.6 เล่ม 2 หน้า 96-99 3. E-poster เรื่อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ http://ipst.me/10929 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

271 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ แนวการจดั การเรียนรู้ ในการทบทวนความรู้พื้นฐาน ครูควรให้เวลานักเรียนคิดอย่าง 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดวงจันทร์ และตรวจสอบความรู้เดิม เหมาะสม รอคอยอย่างอดทน เกยี่ วกับความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้คำถาม ดงั น้ี นักเรียนต้องตอบคำถามเหล่านี้ได้ 1.1 นักเรียนเคยสังเกตดวงจันทร์ หรือไม่ ดวงจันทร์มีลักษณะอย่างไร ถูกต้อง หากตอบไม่ได้หรือลืมครู (นกั เรยี นตอบตามประสบการณ์ของตนเองและความรู้ทเี่ คยเรียนมา ต้องใหค้ วามรู้ที่ถูกต้องทนั ที เช่น เคยสังเกตดวงจันทร์ ดวงจันทร์มีรูปร่างไม่เหมือนกันในแต่ละ คืน บางคืนดวงจันทร์มีรูปร่างกลม บางคืนมีรูปร่างเป็นเสี้ยว และ ในการตรวจสอบความรู้เดิม มองเห็นลายบนดวงจนั ทร์) ครูเพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน 1.2 นักเรียนสังเกตดวงจันทร์อย่างไร (นักเรียนตอบตามประสบการณ์ และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ ของตนเอง เช่น สังเกตโดยใช้ตาเปล่า หรือสังเกตโดยใช้กล้อง ชักชวนให้นักเรียนไปหาคำตอบด้วย ประเภทตา่ ง ๆ ส่องไปจากพ้นื โลก) ตนเองจากการทำกิจกรรม 1.3 นักเรียนคิดว่าเราสามารถออกไปสู่อวกาศเพื่อสำรวจดวงจันทร์ได้ หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ได้ โดยสร้างยานอวกาศเพ่อื เดนิ ทางไปสำรวจดวงจนั ทร)์ 2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้ คำถาม ดังนี้ รู้หรือไม่ว่า เมื่อประมาณ 50 ปีที่แล้วมนุษย์ได้ไปสำรวจ ดวงจันทร์เป็นครั้งแรก จากนั้นครูเล่าข่าว “ครบรอบ 50 ปี อพอลโล 11 พามนุษยเ์ หยยี บดวงจนั ทร์” ดงั น้ี วันที่ 20 กรกฎาคม พ. ศ. 2562 นับเป็นวันครบรอบ 50 ปี ท่ี ยานอพอลโล 11 พามนษุ ย์ข้ึนไปบนดวงจันทร์ได้สำเรจ็ เป็นครั้งแรก สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ให้กับการสำรวจอวกาศ ซึ่งยาน อพอลโล 11 ทะยานขึ้นจากศูนย์อวกาศเคนเนดีใ้ นรฐั ฟลอริด้า เมื่อ วันที่ 16 กรกฎาคม ปี 2512 พร้อมกับนักบินอวกาศ 3 คน ได้แก่ นลี อาร์มสตรอง ผู้บังคับการ, เอดวิน อัลดรนิ และไมเคลิ คอลลินส์ โดยคอลลินส์ อยู่ในยานบริการบังคับการซึ่งโคจรรอบดวงจันทร์ รอการกลับขน้ึ จากพืน้ ผิวดวงจนั ทรข์ อง 2 คนแรก ยานอพอลโล 11 ใช้เวลาเดินทางจากโลก 4 วัน จึงถึงดวงจันทร์ เมื่อแยกจากยานโคจรรอบดวงจันทร์แล้วอาร์มสตรองและอัลดริน บังคับยานชื่ออีเกิ้ลลงไปบนพื้นผิวของดวงจันทร์ ขณะที่อาร์ม สตรองเป็นคนแรกทก่ี ้าวลงเหยียบบนผิวดวงจันทร์ องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งสหรัฐฯ หรือนาซ่า ประเมินว่า น่าจะมีผู้คนทั่วโลกราว 650 ล้านคน เฝ้าชมเหตุการณ์ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 272 คร้ังประวัติศาสตรท์ างโทรทศั น์ และฟงั คำประกาศจากอาร์มสตรอง ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม ที่ ว ่ า “ one small step for man, one giant leap for mankind” แปลวา่ “ก้าวเล็ก ๆ กา้ วหน่งึ สำหรับมนุษย์ แตเ่ ป็นกา้ ว แหล่งข้อมูลที่ครูสามารถแนะนำ ทีย่ งิ่ ใหญ่สำหรบั มนษุ ยชาต”ิ ให้นักเรียนไปสืบค้น เช่น เอกสาร เผยแพร่หรือเวบ็ ไซต์ของหน่วยงานที่ อย่างไรก็ตาม “นีล อาร์มสตรอง” ผู้เหยยี บบนดวงจนั ทร์เป็นคน เกี่ยวข้องกับการศึกษาเทคโนโลยี แรก ได้เสยี ชีวิตเม่ือปี 2555” อวกาศ เช่น NASA, สำนักงานพฒั นา ดดั แปลงจาก https://news.mthai.com/world- เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ news/746196.html (องค์การมหาชน) GISTDA, ศูนย์การ สืบคน้ เมื่อ วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ 2563 เรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดารา หลังจากเลา่ ขา่ วจบ ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายโดยใชค้ ำถามดงั นี้ ศาสตร์ หรือสามารถใช้คำค้นต่าง ๆ 2.1 นักเรียนคิดว่าลักษณะของดวงจันทร์ที่นักบินอวกาศเห็นขณะท่ี เพื่อค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์สำหรับ ยานอพอลโล 11 อยู่ในอวกาศก่อนถึงดวงจันทร์กับที่เราเห็นจาก ค้นหาข้อมูล เช่น เทคโนโลยีอวกาศ พื้นโลกเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร (นักเรียนตอบตามความ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ เข้าใจของตนเอง เช่น ลักษณะของดวงจันทร์ที่นักบินอวกาศเห็น การพัฒนาของเทคโนโลยีอวกาศ กับที่เราเหน็ จากพื้นโลกแตกต่างกัน ดวงจันทร์ที่นักบินอวกาศเห็น ความก้าวหน้าของการสำรวจอวกาศ เป็นรูปทรงกลม และนักบินอวกาศเห็นลักษณะพื้นผิวของดวง เส้นเวลาของการสำรวจอวกาศ จันทรไ์ ดล้ ะเอียด ชดั เจนกวา่ การมองจากบนพ้นื โลก) space technology timeline 2.2 นักเรียนคิดว่าการออกไปสำรวจดวงจันทร์ ต้องใช้เทคโนโลยี อวกาศอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ใชย้ านอวกาศ ชุดนกั บนิ อวกาศ อาหารสำหรับนกั บินอวกาศ) 3. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.1 โดยใช้คำถาม ดังน้ี นักเรียนรู้หรือไม่ว่าก่อนท่ีมีการส่งยานอพอลโล 11 ไปสำรวจ ดวงจันทร์ได้ นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการสำรวจสิ่งต่าง ๆ ในอวกาศอย่างไร และตั้งแตอ่ ดีตมาจนถงึ ปจั จุบัน เทคโนโลยีอวกาศมกี ารพัฒนาอยา่ งไร 4. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดงั น้ี 4.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีอวกาศ) 4.2 นกั เรียนจะได้เรยี นรูเ้ ร่ืองนี้ดว้ ยวธิ ใี ด (การสบื คน้ ข้อมูล) 4.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายความก้าวหน้าของ เทคโนโลยอี วกาศ) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

273 คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 5. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 96 และอ่าน ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม สิง่ ท่ตี ้องใช้ในการทำกิจกรรม ในการทำกิจกรรมนี้ ครูอาจให้ 6. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านท่ี นักเรียนทำกิจกรรมตามทำอย่างไร เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจ ในข้อ 1และ 2 ก่อน จากนั้นจึง เกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดย มอบหมายใหน้ ักเรียนไปสบื ค้นข้อมูล ใชค้ ำถามดงั น้ี นอกเวลาเรียนเพิ่มเติม เพื่อนำมา 6.1 นักเรียนระดมความคิดเกี่ยวกับเรื่องอะไร และมีวิธีการอย่างไร อภิปรายและสรปุ ในครงั้ ถัดไป (ระดมความคิดเกีย่ วกับเรื่องเทคโนโลยีอวกาศ โดยต้องช่วยกนั ออก ความคิดเห็นเก่ียวกบั เทคโนโลยีอวกาศทต่ี นเองรู้จัก โดยรับฟังความ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คิดเห็นของผู้อื่น และช่วยกันพิจารณาเลือกชื่อเทคโนโลยีอวกาศให้ และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 มากทีส่ ุด) ทน่ี กั เรียนจะได้ฝกึ จากการทำกจิ กรรม 6.2 เมื่อได้ชื่อเทคโนโลยีอวกาศ นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (เขียนชื่อ เทคโนโลยีอวกาศลงในกระดาษ) S8 ลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับ 6.3 นักเรียนต้องทำอย่างไรกับกระดาษที่เขียนชื่อเทคโนโลยีอวกาศ ลำดับการพัฒนาของเทคโนโลยี (ตอ้ งเรียงลำดับเทคโนโลยอี วกาศทเ่ี กดิ ข้นึ จากอดตี จนถึงปจั จุบนั ) อวกาศตงั้ แต่อดตี ถงึ ปัจจบุ นั 6.4 นักเรียนต้องอ่านใบความรู้เรือ่ งอะไร (ใบความรู้เรื่องความก้าวหน้า ของเทคโนโลยอี วกาศ) C4 การอภิปรายและนำเสนอข้อมูล 6.5 นักเรียนต้องสืบค้นข้อมูลเรื่องอะไร (เรื่องความก้าวหน้าของ ลำดับของการพัฒนาเทคโนโลยี เทคโนโลยีอวกาศ) อวกาศ 6.6 นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล เรื่องความก้าวหน้าของเทคโนโลยี อวกาศได้จากแหล่งข้อมูลใดบ้าง (สืบค้นจากหนังสือ เอกสาร หรือ C5 ร่วมกันระดมความคิดและ เว็บไซต์ท่ีนา่ เชื่อถอื ) สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี 6.7 หลังจากไดข้ ้อมลู ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีอวกาศแลว้ นักเรียน อวกาศ ต้องทำอะไรต่อไป (อภิปรายและเรียงลำดับเทคโนโลยีอวกาศที่ได้ จากการระดมความคิด จากใบความรู้ และจากการสืบค้นข้อมูล C6 สืบค้นข้อมูลความก้าวหน้าของ รวมทั้งต้องระบชุ ว่ งเวลาที่เร่ิมใช้งานเทคโนโลยีอวกาศนน้ั ) เทคโนโลยีอวกาศ 6.8 หลังจากเรียงลำดับเทคโนโลยีอวกาศตามช่วงเวลาที่เริ่มใช้งาน นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป (นำข้อมูลมาจัดกระทำและนำเสนอใน รปู แบบท่ีน่าสนใจ และจดั แสดงผลงานในชนั้ เรียน) 7. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร แล้ว ให้นักเรียนเร่ิม ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนการทำกิจกรรม ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 274 8. หลังจากทำกิจกรรมแลว้ นักเรียนรว่ มกันอภิปรายผลการทำกจิ กรรม โดย ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ ใช้แนวคำถามดังนี้ คำถามหรืออภิปรายไดต้ ามแนว 8.1 เทคโนโลยีอวกาศจากความคิดของกลุ่มมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบ คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน ตามผลการระดมความคิดของกลมุ่ ) คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 8.2 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศจากแหล่งใด ข้อมูล อดทน และรับฟังแนวความคิด ดังกล่าวมีความน่าเชือ่ ถือหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามท่ี ของนักเรียน ได้สบื ค้นมา) 8.3 เทคโนโลยีอวกาศจากความคิดของกลุ่มกับเทคโนโลยีอวกาศที่ได้ จากใบความรู้ และการสืบค้นข้อมูลเหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไร (นักเรียนตอบตามผลการทำกิจกรรมของกลุ่ม เช่น แตกต่างกัน เพราะชื่อเทคโนโลยีอวกาศที่ได้จากการระดมความคิด เมื่อสืบค้น ขอ้ มลู เพม่ิ เติมพบว่าบางอย่างไมใ่ ช่เทคโนโลยีอวกาศ หรือการระดม ความคิดได้ชื่อเทคโนโลยีอวกาศน้อยกว่าจากใบความรู้ และการ สืบค้น หรอื ลำดบั ของเทคโนโลยอี วกาศแตกต่างกัน) 8.4 เทคโนโลยอี วกาศท่ีได้จากการทำกิจกรรมมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบ ตามผลที่ได้จากการระดมความคิด ผลการอ่านใบความรู้ และผล การสืบคน้ ขอ้ มูล เช่น กล้องโทรทรรศน์ กลอ้ งโทรทรรศน์วทิ ยุ จรวด ดาวเทียม ยานอวกาศ ยานขนส่งอวกาศ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ฮับเบิล หุ่นยนต์สำรวจอวกาศ สถานีอวกาศ ยานสำรวจแบบบิน ผ่าน) 8.5 เหตุการณ์ใดทีท่ ำให้ความเช่อื ที่ว่าโลกเปน็ ศูนย์กลางของระบบสุริยะ เปล่ยี นไป (เหตุการณท์ ี่กาลิเลโอ กาลิเลอี ประดษิ ฐก์ ล้องโทรทรรศน์ ไดส้ ำเร็จและคน้ พบดวงจันทร์ 4 ดวงโคจรรอบดาวพฤหสั บด)ี 8.6 ภาพที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศแตกต่างภาพที่ได้จากกล้อง โทรทรรศน์ที่ติดตั้งอยู่บนโลกอย่างไร เพราะเหตุใด (ภาพที่ได้จาก กล้องโทรทรรศน์อวกาศจะชัดเจนกว่า เนื่องจากโคจรอยู่เหนือชั้น บรรยากาศของโลกจึงไม่มีชั้นบรรยากาศมาบดบังเหมือนกับกล้อง โทรทรรศน์ทใี่ ช้บนโลก) 8.7 เทคโนโลยีอวกาศใดที่เป็นจุดเปลี่ยนทำให้การสำรวจอวกาศไม่ได้ สำรวจจากพื้นโลกแต่ขยายไปสู่การสำรวจจากนอกโลก รู้ได้อย่างไร (จรวด เป็นเทคโนโลยีอวกาศที่เป็นจุดเปลี่ยนทำให้สามารถสำรวจ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

275 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ อวกาศจากนอกโลกได้ รู้ได้จากในปี พ.ศ. 2500 สหภาพโซเวียตได้ ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ สร้างจรวดและส่งดาวเทียมออกไปนอกโลกได้สำเร็จเป็นครั้งแรก คำถามหรืออภิปรายไดต้ ามแนว และหลังจากนั้นการสำรวจอวกาศก็มุ่งเน้นการสำรวจนอกโลกเป็น คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน หลกั ) คิดอยา่ งเหมาะสม รอคอยอย่าง 8.8 จรวดนำดาวเทียมหรือยานอวกาศออกไปสำรวจนอกโลกได้อย่างไร อดทน และรับฟังแนวความคิด (จรวดมีเคร่ืองยนต์ท่ีมีแรงขับดันสูงมากจึงสามารถใช้เป็นพาหนะใน ของนกั เรียน การนำส่งิ ต่าง ๆ เชน่ ดาวเทยี ม หรือยานอวกาศออกสู่นอกโลกได้) 8.9 ยานอวกาศกับยานขนส่งอวกาศเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี (ยานอวกาศกับยานขนส่งอวกาศแตกต่างกัน โดยยานอวกาศเป็น แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ยานที่มีนักบินอวกาศ และอุปกรณ์ต่าง ๆ สำหรับสำรวจอวกาศ ซึ่ง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ยานอวกาศจะเดินทางแบบไปและกลับเที่ยวเดียว แต่ยานขนส่ง อวกาศ ให้ร่วมกันอภิปรายจน อวกาศเป็นยานที่ทำหน้าท่ีเป็นยานโดยสารสำหรับขนส่งสิ่งต่าง ๆ นกั เรยี นมีแนวคิดที่ถกู ต้อง ทั้งนักบินอวกาศ อุปกรณ์ต่าง ๆ ไปปฏิบัติหน้าที่ในสถานีอวกาศ จากนั้นยานจะกลับสู่พื้นโลก และอาจเดินทางไปส่งสิ่งของได้อีก หลายครั้ง) 8.10จากใบความรู้มียานอวกาศไปสำรวจดาวดวงใดแล้วบา้ ง (ดวงจันทร์ ดาวอังคาร ดาวพลูโต ดวงอาทติ ย์) 8.11กล้องสปิตเซอร์และกล้องจันทรา เป็นกล้องประเภทใด และมี ประโยชน์อย่างไร (กล้องสปิตเซอร์ และกล้องจันทราเป็นกล้อง โทรทรรศนอ์ วกาศทส่ี ามารถสำรวจอวกาศได้ระยะไกลมากข้ึน) 8.12 การดำเนินการใดท่ีทำให้การศึกษาอวกาศมีขอบเขตกว้างออกไป มากกวา่ ระบบสรุ ิยะ (การที่อเมรกิ าส่งยานวอยเอเจอร์ออกไปสำรวจ นอกระบบสรุ ิยะ) 8.13 สถานีอวกาศนอกโลกมีความสำคัญอยา่ งไร (สถานีอวกาศนอกโลก มีความสำคัญเพราะเป็นสถานที่ที่ใช้ทดลองทางวิทยาศาสตร์ มี สภาพแวดล้อมแตกต่างไปจากการทดลองบนโลก ซึ่งอาจทำให้ได้ ความรู้ใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อมนษุ ย)์ 8.14 นักเรียนคิดว่าการส่งยานอวกาศไปสำรวจดาวต่าง ๆ มีประโยชน์ อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) 9. ครูอาจถามคำถามอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศท่ี เกิดขนึ้ ในชว่ งเวลาไม่กป่ี ีทผี่ า่ นมา เช่น ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 276 9.1 จรวดที่พานักบินอวกาศไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ เมื่อวันที่ 30 การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ สำหรบั ครู เพ่ือจัดการเรยี นรูใ้ นครง้ั ถัดไป พฤษภาคม 2563 มชี ื่อว่าอะไร (Falcon-9) ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ 9.2 เทคโนโลยีอวกาศใดที่ทำให้ค้นพบฟอสฟีนในชั้นบรรยากาศของ กิจกรรมที่ 1.2 เทคโนโลยีอวกาศมี ประโยชนอ์ ย่างไร ครูอาจจดั เตรยี มส่ือหรือ ดาวศุกร์ (กล้องโทรทรรศน์ James Clerk Maxwell Telescope เตรยี มการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี 1. เตรียมชุดเกมกระดานสถานีอวกาศ หรอื JCMT) สำหรับใช้ในการทำกิจกรรม โดยการ 9.3 การคน้ พบฟอสฟีน อาจเป็นข้อบ่งชี้วา่ มีส่ิงใดบนดาวศุกร์ (ฟอสฟีน สแกน QR code หรือพิมพ์ short url ในหนังสือเรียนหน้า 128 นำมาพิมพ์สี เปน็ ขอ้ บง่ ชวี้ ่าอาจมสี ่ิงมชี วี ติ บนดาวศุกร)์ และเตรียมทำการ์ดต่าง ๆ ที่ใช้ในเกม ตามคำแนะนำในชุดเกม จัดเตรียม 10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ลูกเตา๋ สีขาวจำนวน 30 ลูก ลูกเต๋าสีดำ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลง จำนวน 100 ลูก เพื่อให้นักเรียนแต่ละ ข้อสรุปว่า เทคโนโลยีอวกาศมีความก้าวหน้ามากขึ้นนับจากการสำรวจ กล่มุ ใช้สำหรับทำกจิ กรรม อวกาศด้วยตาเปล่า มาเป็นใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ โดยเริ่มจากการสำรวจ 2. ครูศึกษาคู่มือการเล่นเกมสถานีอวกาศ อวกาศจากบนพืน้ โลก และพฒั นาไปส่กู ารสำรวจอวกาศจากนอกโลกโดย และควรมอบหมายให้นักเรียนศึกษา การสง่ ยานอวกาศออกสู่นอกโลก และสร้างสถานีอวกาศนอกโลก และใน คู่มือเล่นเกมสถานีอวกาศมาล่วงหน้า อนาคตจะมีการส่งมนุษย์เดินทางไปสำรวจดาวตา่ ง ๆ มากขน้ึ (S13) โดยสามารถดาวน์โหลดวิธีการเล่นเกม จากการสแกน QR code ในหนังสือ 11. นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้แนว เรยี นหน้า 128 หวั ขอ้ ทำอย่างไร ข้อ 2 คำตอบทีถ่ กู ตอ้ ง 12. นักเรียนอ่าน สิง่ ที่ไดเ้ รียนรู้ และเปรียบเทียบกบั ขอ้ สรปุ ของตนเอง 13. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกบั คำถามทน่ี ำเสนอ 14. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 อะไรบา้ ง ในขัน้ ตอนใด สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

277 คูม่ ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม สืบค้นข้อมูลและอธิบายความกา้ วหน้าของเทคโนโลยอี วกาศ นักเรียนบันทกึ ผลจากการระดมความคิดของกลุ่ม ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 278 ยานวอยเอเจอร์ พ.ศ. 2555 ยานสำรวจแบบบินผา่ น พ.ศ. 2549 สถานีอวกาศ พ.ศ. 2541 ห่นุ ยนตอ์ วกาศ พ.ศ. 2540 กลอ้ งโทรทรรศน์อวกาศ พ.ศ. 2533 ยานอวกาศ (ไวกง้ิ ) พ.ศ. 2518 ยานขนส่งอวกาศ พ.ศ. 2515 ยานอวกาศ (อะพอลโล 11) พ.ศ. 2512 ดาวเทียมสปตุ นิก พ.ศ. 2500 จรวด พ.ศ. 2500 กลอ้ งโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ พ.ศ. 2476 กล้องโทรทรรศน์ พ.ศ. 2182 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

279 คูม่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ ส่งิ ทีท่ ำให้เทคโนโลยีอวกาศมกี ารพฒั นามาอยา่ งต่อเนอื่ ง คอื ความอยากรู้ อยากเหน็ เร่อื งอวกาศของมุนษย์ กลอ้ งโทรทรรศน์ทใ่ี ชบ้ นโลกและกลอ้ งโทรทรรศนท์ ใ่ี ช้ในอวกาศเหมือนกันตรงทสี่ ามารถใชส้ ำรวจ สิ่งตา่ ง ๆ ในอวกาศได้ แตแ่ ตกต่างกนั ท่ีกลอ้ งโทรทรรศน์อวกาศสามารถเกบ็ ภาพไดอ้ ย่างชดั เจนกวา่ เน่ืองจากโคจรอยู่เหนือชน้ั บรรยากาศของโลก โดยที่ไมม่ ชี ั้นบรรยากาศมาบดบังเหมอื นกับกล้อง โทรทรรศนท์ ี่ใช้บนโลก จรวด เพราะการสง่ ส่ิงต่าง ๆ ออกไปนอกโลกเพอื่ สำรวจอวกาศท้งั ดาวเทียม ยานอวกาศ ยานขนส่งอวกาศ และสิง่ อน่ื ๆ ต้องใช้จรวดนำขน้ึ ไป เทคโนโลยีอวกาศมหี ลายอย่าง ซ่ึงมกี ารพฒั นามาอย่างต่อเนื่องจากอดตี ถงึ ปัจจบุ นั ต้ังแต่ การสร้างกลอ้ งโทรทรรศน์ การสร้างจรวด เพอื่ ส่งดาวเทียม ยานอวกาศ ยานขนสง่ อวกาศ และอื่นๆ ออกส่นู อกโลก เพ่ือสำรวจดาวตา่ ง ๆ ในระบบสุรยิ ะ และนอกระบบสรุ ยิ ะ เทคโนโลยอี วกาศมีความกา้ วหน้ามาโดยลำดบั จากการสำรวจอวกาศด้วยตาเปล่า มาเปน็ การใช้อปุ กรณต์ า่ ง ๆ โดยเรม่ิ จากการสำรวจจากบนพ้นื โลก และพัฒนาไปสกู่ ารสำรวจ จากนอกโลก โดยใช้จรวดสง่ ยานอวกาศและสิ่งอน่ื ๆ ออกสู่นอกโลก นอกจากนยี้ ังมีการ สรา้ งสถานอี วกาศนอกโลกอกี ด้วย และในอนาคตจะมีการส่งมนษุ ยเ์ ดนิ ทางไปสำรวจดาว ต่าง ๆ ทงั้ ในและนอกระบบสุรยิ ะมากขน้ึ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 280 คำถามของนกั เรยี นทตี่ ้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง     สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

281 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรขู้ องนกั เรียนทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมินความรูเ้ ดิมจากการอภิปรายในชัน้ เรยี น 2. ประเมนิ การเรียนรูจ้ ากคำตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจดั การเรียนรแู้ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรยี น การประเมินจากการทำกจิ กรรมท่ี 1.1 เทคโนโลยีอวกาศมกี ารพัฒนาอย่างไร รหัส ส่งิ ท่ีประเมิน คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S13 การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมอื C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมคะแนน ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 282 ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S8 การลงความเห็น การลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น จากขอ้ มลู ขอ้ มลู วา่ เทคโนโลยี จากข้อมลู ได้ถูกต้อง จากข้อมลู ได้ถกู ต้อง จากข้อมลู เกี่ยวกับ อวกาศมีส่งิ ใดบ้าง และ และชดั เจนดว้ ยตนเอง โดยอาศัยการชีแ้ นะ ความกา้ วหน้าของ มกี ารพฒั นามาเปน็ วา่ เทคโนโลยีอวกาศมี ของครูหรือผ้อู ่นื วา่ เทคโนโลยอี วกาศได้ ลำดบั ตั้งแตก่ ารสรา้ ง สิ่งใดบ้าง และมีการ เทคโนโลยีอวกาศมีสง่ิ ถกู ต้องแต่ไม่ครบถว้ น กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ พฒั นามาเปน็ ลำดับ ใดบา้ ง และมกี าร แม้วา่ จะได้รบั คำ สำรวจอวกาศจากบน ตัง้ แต่การสร้างกล้อง พฒั นามาเป็นลำดบั ช้แี นะจากครหู รือ โลกไปสกู่ ารส่งส่งิ ต่าง ๆ โทรทรรศนท์ ใี่ ช้สำรวจ ตั้งแตก่ ารสร้างกล้อง ผ้อู นื่ ออกไปสำรวจอวกาศ อวกาศจากบนโลกไปสู่ โทรทรรศนท์ ีใ่ ชส้ ำรวจ นอกโลก การส่งส่ิงตา่ ง ๆ อวกาศจากบนโลกไปสู่ ออกไปสำรวจอวกาศ การสง่ สิง่ ต่าง ๆ นอกโลก ออกไปสำรวจอวกาศ นอกโลก S13 การ การตีความหมายข้อมูล สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย ตคี วามหมายข้อมูล และลงข้อสรุปจากการ ข้อมลู และลงข้อสรุป ขอ้ มลู และลงข้อสรุป ข้อมูลและลงข้อสรปุ และลงข้อสรุป รวบรวมข้อมลู ได้วา่ จากการรวบรวมข้อมลู จากการรวบรวมข้อมลู จากการรวบรวม ความอยากรอู้ ยากเหน็ ไดถ้ ูกตอ้ งด้วยตนเอง ไดถ้ ูกต้องโดยอาศยั ข้อมูลไดเ้ พยี ง ของมนษุ ยท์ ำใหม้ ีการ ว่า ความอยากรู้อยาก การชี้แนะของครหู รอื บางสว่ น แม้วา่ จะได้ พฒั นาเทคโนโลยี เหน็ ของมนุษยท์ ำใหม้ ี ผอู้ ่ืนวา่ ความอยากรู้ รบั คำชแ้ี นะจากครู อวกาศอยา่ งต่อเนื่อง การพฒั นาเทคโนโลยี อยากเหน็ ของมนษุ ย์ทำ หรอื ผอู้ ่นื โดยเรมิ่ จากการสำรวจ อวกาศอยา่ งต่อเน่ือง ใหม้ กี ารพัฒนา อวกาศจากบนพ้ืนโลก โดยเร่ิมจากการสำรวจ เทคโนโลยอี วกาศอย่าง พฒั นาไปสู่การสำรวจ อวกาศจากบนพ้ืนโลก ต่อเนือ่ งโดยเรม่ิ จาก อวกาศจากนอกโลก ทงั้ พฒั นาไปสู่การสำรวจ การสำรวจอวกาศจาก ในและนอกระบบสุรยิ ะ อวกาศจากนอกโลก บนพ้นื โลก พฒั นาไปสู่ ทงั้ ในและนอกระบบ การสำรวจอวกาศจาก สรุ ยิ ะ นอกโลก ทั้งในและ นอกระบบสรุ ิยะ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

283 คูม่ ือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทักษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) เกณฑ์การประเมิน ควรปรบั ปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 สามารถนำเสนอขอ้ มูล พอใช้ (2) C4 การสอ่ื สาร การนำเสนอขอ้ มลู ลำดับของการพัฒนา สามารถนำเสนอข้อมูล ลำดับของการพฒั นา เทคโนโลยีอวกาศให้ สามารถนำเสนอข้อมูล ลำดบั ของการพัฒนา C5 ความรว่ มมอื เทคโนโลยีอวกาศให้ ผอู้ นื่ เข้าใจได้ถูกต้อง ลำดับของการพัฒนา เทคโนโลยอี วกาศให้ ผูอ้ ่นื เขา้ ใจ ครบถว้ น ดว้ ยตนเอง เทคโนโลยอี วกาศให้ ผู้อ่นื เข้าใจได้เพยี ง C6 การใช้ ผอู้ นื่ เขา้ ใจไดถ้ ูกต้อง บางส่วน แม้ว่าจะได้ เทคโนโลยี การทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ สามารถทำงานร่วมกบั ครบถ้วน โดยอาศัย รบั คำชแี้ นะจากครูหรอื สารสนเทศและ ในการสืบค้นข้อมูล ผอู้ น่ื ในการสบื ค้น การชแี้ นะของครหู รอื ผู้อื่น การสอื่ สาร และการแสดงความ ข้อมลู และการแสดง ผู้อืน่ คิดเห็นในการระดม ความคดิ เห็นในการ สามารถทำงานร่วมกบั สามารถทำงานร่วมกับ ความคดิ เกยี่ วกับ ระดมความคิดเก่ียวกับ ผ้อู ื่นในการสบื ค้น ผู้อืน่ ในการสืบค้น ความกา้ วหน้าของ ความกา้ วหน้าของ ขอ้ มูล และการแสดง ขอ้ มูล และการแสดง เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยอี วกาศ ความคดิ เหน็ ในการ ความคดิ เหน็ ในการ รวมทัง้ ยอมรับความ รวมท้งั ยอมรบั ความ ระดมความคิดเกย่ี วกับ ระดมความคดิ เกีย่ วกบั คิดเห็นของผ้อู ่นื คดิ เห็นของผู้อ่ืนต้ังแต่ ความก้าวหน้าของ ความกา้ วหนา้ ของ เริ่มตน้ จนสำเรจ็ เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยีอวกาศ เป็น การใช้เทคโนโลยสี ืบคน้ รวมทงั้ ยอมรับความ บางช่วงเวลาของการ ข้อมูลจากแหล่งข้อมลู ท่ี สามารถใชเ้ ทคโนโลยี คิดเห็นของผอู้ นื่ ในบาง ทำกจิ กรรม ท้งั นี้ต้อง น่าเชื่อถือ เก่ียวกบั สืบค้นขอ้ มูลจาก ช่วงเวลาท่ที ำกจิ กรรม อาศยั การกระตุน้ จาก ความกา้ วหนา้ ของ แหล่งขอ้ มูลที่ ครูหรอื ผู้อ่ืน เทคโนโลยอี วกาศ นา่ เชือ่ ถอื เก่ียวกับ สามารถใชเ้ ทคโนโลยี ความก้าวหนา้ ของ สืบคน้ ข้อมลู จาก สามารถใชเ้ ทคโนโลยี เทคโนโลยอี วกาศ ได้ แหล่งขอ้ มูลท่นี า่ เชื่อถือ สบื ค้นข้อมลู จาก ถูกต้อง ครบถ้วนด้วย เกี่ยวกับความกา้ วหนา้ แหลง่ ขอ้ มูลท่นี า่ เช่ือถือ ตนเอง ของเทคโนโลยอี วกาศ เกีย่ วกับความก้าวหนา้ ได้ครบถว้ น แตต่ ้อง ของเทคโนโลยอี วกาศ อาศยั การช้ีแนะจากครู ไดไ้ ม่ครบถว้ น สมบรู ณ์ หรือผอู้ นื่ แม้วา่ จะไดร้ ับคำชีแ้ นะ จากครูหรือผู้อน่ื ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 284 กิจกรรมท่ี 1.2 เทคโนโลยอี วกาศมีประโยชน์อยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ รวบรวมข้อมูล เทคโนโลยีอวกาศต่าง ๆ ที่มีการพัฒนาขึ้น และอธิบาย ประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศทมี่ ีตอ่ มนษุ ย์ เวลา 2 ช่วั โมง ส่ือการเรยี นรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี น ป.6 เลม่ 2 หนา้ 128-136 รวบรวมข้อมูลและอธิบายประโยชน์ของเทคโนโลยี 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.6 เล่ม 2 หนา้ 100-103 อวกาศที่มีตอ่ มนุษย์ 3. ชดุ เกมกระดานสถานีอวกาศ http://ipst.me/10934 วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรับทำกจิ กรรม 4. คมู่ อื วิธกี ารเลน่ เกมกระดานสถานีอวกาศ สง่ิ ทค่ี รูต้องเตรียม/กลมุ่ http://ipst.me/10935 ชุดเกมกระดานสถานีอวกาศ 1 ชดุ ประกอบด้วย 1. กระดานอวกาศ 1 แผน่ 2. การ์ดสถานการณ์ 3. การด์ ขยะอวกาศ 4. ลูกเตา๋ สขี าว 30 ลกู (สามารถสั่งซอ้ื ผา่ น ทางร้านคา้ ออนไลนไ์ ด้) 5. ลกู เต๋าสีดำ 100 ลูก (สามารถสั่งซ้ือผ่าน ทางรา้ นค้าออนไลนไ์ ด้) 6. การ์ดเงนิ 7. การ์ดสญั ญาเงินกู้ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำและส่อื ความหมายขอ้ มูล S8 การลงความเหน็ จากข้อมลู S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมอื C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

285 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ แนวการจดั การเรยี นรู้ ใ น ก า ร ท บ ท ว น ค ว า ม รู้ พื้นฐาน ครูควรให้เวลานักเรียน 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ และตรวจสอบ คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง ความรูเ้ ดมิ เกีย่ วกบั ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้คำถาม ดงั น้ี อดทน นักเรียนต้องตอบคำถาม 1.1 เพราะเหตใุ ดจงึ มีการพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศ (เพอื่ ตอบสนองความ เหล่านี้ได้ถูกต้อง หากตอบไม่ได้ อยากรู้อยากเหน็ เร่อื งอวกาศของมนษุ ย์) หรือลืมครูต้องให้ความรู้ที่ 1.2 เทคโนโลยีอวกาศที่เรียนมาแล้วมีอะไรบ้าง (สิ่งที่เป็นเทคโนโลยี ถกู ตอ้ งทันที อวกาศที่เรียนมาแล้วมีหลายอย่าง เช่น อาหารของนักบินอวกาศ กลอ้ งโทรทรรศน์ จรวด ยานอวกาศ ยานขนส่งอวกาศ) ในการตรวจสอบความรู้เดิม 1.3 เทคโนโลยีอวกาศแตล่ ะอยา่ งมปี ระโยชน์อย่างไร (นกั เรียนตอบตาม ครูเพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน ข้อมูลที่ได้เรียนมาและจากความเข้าใจของตนเอง เช่น กล้อง และยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ โทรทรรศน์ใชส้ ำหรบั ถา่ ยภาพวัตถุทอ้ งฟ้าต่าง ๆ จรวดใช้สำหรับสง่ ชกั ชวนให้นกั เรียนไปหาคำตอบด้วย สิง่ ต่าง ๆ ออกสอู่ วกาศ อาหารของนักบนิ อวกาศเปน็ อาหารท่ีจัดทำ ตนเองจากการทำกิจกรรม ขึ้นสำหรับให้นักบินอวกาศสามารถรับประทานได้สะดวกและมี ประโยชน์ครบถว้ น) 1.4 นักเรียนคิดว่า เราสามารถนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์บน โลกได้หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น เราสามารถประยกุ ตเ์ ทคโนโลยอี วกาศมาใชป้ ระโยชน์บนโลกได้ เช่น อาจผลิตอาหารคล้ายๆ กับอาหารของนักบินอวกาศสำหรับใช้ ในยามขาดแคลน หรือนักเรียนอาจตอบว่าไม่สามารถนำเทคโนโลยี อวกาศมาใช้บนโลกได้ เพราะเทคโนโลยีอวกาศเป็นการใชป้ ระโยชน์ สำหรับการสำรวจอวกาศเทา่ นัน้ ) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้พื้นฐานและความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 โดยใช้คำถามดังนี้ นักเรียนรู้หรือไม่วา่ เทคโนโลยีอวกาศแต่ละอยา่ ง มีประโยชน์ตอ่ การดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์บนโลกหรือไม่ อย่างไร 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดังน้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ประโยชน์ของเทคโนโลยี อวกาศ) 3.2 นกั เรยี นจะได้เรียนรู้เร่ืองน้ีด้วยวิธีใด (การรวบรวมขอ้ มลู ) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายประโยชน์ของ เทคโนโลยอี วกาศทม่ี ตี อ่ มนษุ ย์) ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 286 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 100 และอ่าน ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ส่งิ ที่ต้องใช้ในการทำกจิ กรรม การเลน่ เกมสถานีอวกาศ (space station) 5. นักเรียนอ่าน ทำอยา่ งไร แลว้ รว่ มกันอภปิ รายเพื่อสรปุ ลำดับขั้นตอนการ 1. ครคู วรมอบหมายใหน้ ักเรียนศกึ ษาวธิ ี ทำกิจกรรมตามความเข้าใจของนักเรียน ครูตรวจสอบความเข้าใจของ นกั เรยี นโดยใช้คำถาม ดงั น้ี เลน่ เกมมาลว่ งหนา้ โดยสามารถดาวน์ 5.1 กิจกรรมนี้นักเรียนต้องทำอะไรบ้าง (นักเรียนตอบขั้นตอนการทำ โหลดวิธกี ารเลน่ เกมได้จากการสแกน กิจกรรมโดยย่อ เช่น อภิปรายประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศตาม QR code ในหนงั สือเรียนหน้า 128 ความเข้าใจ แล้วเขียนแผนผังความคิด จากนั้นเล่นเกม space 2. ครูอาจใหน้ ักเรยี นเล่นเกมนอกเวลา station แล้วอภิปรายเพื่อจับคู่เทคโนโลยีอวกาศกับเทคโนโลยีบน เรียน โดยให้เล่นก่อนถงึ ช่วั โมงเรยี น โลกที่พัฒนามาจากเทคโนโลยีอวกาศ จากนั้นอ่านใบความรู้และ และใชเ้ วลาในช่ัวโมงเรียนสำหรบั สืบค้นข้อมูลเรื่องประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศเพื่อนำมาเขียน ร่วมกนั อภปิ รายสงิ่ ทไี่ ด้เรยี นร้จู ากการ เพ่ิมเติมในแผนผงั ความคดิ ) เลน่ เกม 5.2 จากการอ่านวิธีการเล่นเกมนักเรียนไม่เข้าใจจุดใดบ้าง (ครูและ 3. แหลง่ ข้อมูลทค่ี รูสามารถแนะนำให้ นักเรียนร่วมกันอภิปรายวิธีการเล่นเกมในส่วนท่ีนักเรียนยังไม่เข้าใจ นกั เรียนไปสืบค้น เช่น เอกสารเผยแพร่ เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถเล่นเกมได้ตามข้อกำหนด) หรอื เว็บไซต์ของหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง 5.3 นักเรียนต้องบันทึกสิ่งใดลงในแบบบันทึกกิจกรรมบ้าง (บันทึก กับการศึกษาเทคโนโลยีอวกาศ เชน่ แผนผังความคิด* และผลการจับคู่เทคโนโลยีอวกาศกับเทคโนโลยี GISTDA หรือ NASA บนโลกที่พัฒนามาจากเทคโนโลยีอวกาศที่นักเรียนชอบมากที่สุด 3 (https://www.jpl.nasa.gov/infogra อนั ดับแรก พร้อมบอกเหตผุ ล) phics/infographic.view.php?id=11 *ครูสามารถให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดในกระดาษปรู๊ฟ 358, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือใช้แอปพลิเคชัน เช่น ThinkSpace, https://spinoff.nasa.gov/Spinoff20 XMind:Mind Map แทนแบบบันทกึ กจิ กรรมได้ 08/tech_benefits.html) หรอื สามารถใช้คำค้นต่าง ๆ เพอ่ื คน้ หา 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร แล้ว ให้นักเรียนเริ่ม ข้อมลู ในเว็บไซต์ เช่น ส่งิ ประดษิ ฐ์ซง่ึ ปฏิบตั ิตามขั้นตอน เป็นผลจากการสำรวจอวกาศ 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม ตามแนวคำถามดังน้ี 7.1 หลังจากเล่นเกม อ่านใบความรู้และสืบค้นข้อมูลนักเรียนมีการ ปรับแก้ไขแผนผังความคิดที่ได้จากการอภิปรายตามความเข้าใจของ กลุ่มหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามผลการทำกิจกรรมของกลุ่ม เชน่ มกี ารปรับ เนือ่ งจากข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการอภปิ รายมีน้อยและบาง ข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ แต่หลังจากการเล่นเกมพบข้อมูลเพิ่มมากข้ึน และมีข้อมูลบางอย่างท่ีไม่เคยรู้มาก่อน จึงได้แก้ไขและเพิ่มเติม ข้อมูลลงในแผนผังความคิด หรือนักเรียนบางกลุ่มอาจตอบว่า ไม่มี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

287 ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ การปรับแก้ไขแผนผังความคิด ซึ่งครูควรรับฟังเหตุผล จากนั้น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชักชวนให้นักเรียนอภิปรายเพิ่มเติมหากเห็นว่านักเรียนยังบันทึก และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ขอ้ มลู ในแผนผังความคิดไมค่ รบถว้ น) ทนี่ กั เรยี นจะได้ฝึกจากการทำกจิ กรรม 7.2 เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์เฉพาะการสำรวจอวกาศใช่หรือไม่ S6 เขียนแผนผงั ความคิดเรอื่ ง เพราะเหตใุ ด (ไม่ใช่ เพราะเทคโนโลยีอวกาศนอกจากมีประโยชน์ใน ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ การศึกษาอวกาศแล้ว ยังมีประโยชน์ในการนำข้อมูลที่ได้จาก S8 ลงความเห็นเกี่ยวกับเทคโนโลยี ดาวเทียมมาใช้บนโลก นอกจากนี้ยังมีการต่อยอดพัฒนาเทคโนโลยี บนโลกที่พัฒนามาจากเทคโนโลยี อวกาศต่าง ๆ มาเป็นเทคโนโลยีที่ใชบ้ นโลกอกี ด้วย) อวกาศ และประโยชน์ของเทคโนโลยี 7.3 จากการเล่นเกมนักเรียนได้ข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของเทคโนโลยี อวกาศ อวกาศหรือไม่ อย่างไร (จากการเล่นเกมได้ข้อมูลประโยชน์ของ C4 อภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีบน เทคโนโลยีอวกาศหลายอย่าง เนื่องจากในการ์ดเทคโนโลยีบนโลก โลกที่พัฒนามาจากเทคโนโลยีอวกาศ ระบุข้อมูลของส่ิงต่าง ๆ ที่เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาจากเทคโนโลยี และประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ อวกาศ เช่น อวนจับทูน่าที่ประยุกต์มาจากตาข่ายนิรภัยสำหรับ C5 ร่วมมือในการเขียนผังความคิด นักบินอวกาศ) และการเล่นเกม 7.4 นักเรียนคิดว่าการเล่มเกมสถานีอวกาศมีประโยชน์หรือไม่ เพราะ C6 ใ ช ้ เท ค โ น โ ล ยี ส ื บค ้ นข ้อมูล เหตุใด (นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง เช่น มีประโยชน์ ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ เพราะสนุก ได้ฝึกคิดวิเคราะห์เพื่อเลือกห้องสำหรับเก็บเทคโนโลยี อวกาศ และได้เลอื กสะสมเทคโนโลยีบนโลก รวมทงั้ เทคนคิ ของเกม ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบ ที่มีการแข่งขันทำให้ไดค้ ิดวางแผน ได้อ่านข้อมูลเกีย่ วกับเทคโนโลยี คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ท่พี ฒั นามาจากเทคโนโลยีอวกาศบนการ์ดเกม) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 7.5 จากการเล่นเกมนักเรียนชอบเทคโนโลยีอวกาศใดมากที่สุด เพราะ คิดอยา่ งเหมาะสม รอคอยอย่าง เหตุใด (นักเรียนตอบชื่อเทคโนโลยีอวกาศที่ตนเองชอบมากที่สุด อดทน และรับฟังแนวความคิด และบอกเหตุผล ซ่ึงครูควรรับฟงั เหตผุ ลของนกั เรียน) ของนักเรียน 7.6 ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรเหมือนหรือแตกต่างจากดาวเทียม อุตุนิยมวิทยา อย่างไร (ดาวเทียมทั้ง 2 แบบ โคจรรอบโลก เหมือนกัน แตม่ ีภารกจิ แตกตา่ งกนั โดยดาวเทียมสำรวจทรพั ยากรมี ภารกิจสำรวจทรัพยากรเพื่อวางแผนการพัฒนาและอนุรักษ์ ส่วน ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยามีภารกิจส่งข้อมูลสำหรับการพยากรณ์ อากาศ) 7.7 ถ้ามีรายงานข่าวว่า “ดาวเคราะห์น้อยกลุ่มหนึ่งมีการเคลื่อนที่มา ใกล้วงโคจรของโลก” ข่าวนี้เป็นการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี อวกาศใด (ดาวเทยี มดาราศาสตร)์ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 288 7.8 นักเรียนคิดว่าดาวเทียมมีประโยชน์กับตัวนักเรียนหรือไม่ เพราะ ถ้าครูพบว่านักเรียนยังมี เหตุใด (นักเรียนตอบจากประสบการณ์ของตนเอง และให้เหตุผล แนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ เช่น มีประโยชน์ เพราะหากต้องการเดินทางไปสถานที่ที่ไม่เคยไป ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ จำเป็นต้องใช้โปรแกรมนำทางโดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม หรือมี ให้รว่ มกันอภิปรายจนนักเรียนมี ประโยชนท์ ำให้เราได้ชมรายการโทรทัศน์ตา่ ง ๆ ได้) แนวคดิ ท่ถี กู ตอ้ ง 7.9 เพราะเหตุใดบนยานอวกาศจึงต้องมีระบบกรองน้ำ และจากระบบ กรองน้ำในยานอวกาศได้พัฒนาไปเป็นเทคโนโลยีอะไรที่ใช้บนโลก (ยานอวกาศต้องมีระบบกรองน้ำ เนื่องจากในยานอวกาศมีน้ำอยู่ จำกัด ทำให้ต้องกรองน้ำที่ใช้แล้วให้สะอาด บริสุทธิ์เพื่อหมุนเวียน กลับมาใช้อีก และจากระบบกรองน้ำในยานอวกาศทำให้เกิดการ พฒั นาเครอ่ื งกรองน้ำของสระวา่ ยน้ำ) 7.10 เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่ อย่างไร (เทคโนโลยีอวกาศบางอย่างมีประโยชน์ทางการแพทย์ เช่น การ ประยุกต์ระบบจ่ายเชื้อเพลิงของยานอวกาศมาใช้เป็นแนวคิดใน การสรา้ งเครอื่ งป๊มั หวั ใจเทยี มสำหรบั คนท่เี ปน็ โรคหวั ใจ) 7.11 บุคคลอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบใดที่จำเป็นต้องใช้ผ้าห่มอวกาศ (บุคคลท่ีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่อุณหภูมิไม่เหมาะสำหรับการ ดำรงชวี ติ เชน่ อณุ หภุมิสูงหรอื ต่ำมาก) 7.12 จากการสืบค้นข้อมูล นักเรียนได้ข้อมูลเทคโนโลยีใดอีกบ้างที่ พัฒนามาจากเทคโนโลยีอวกาศ และสิ่งนั้นมีประโยชน์อย่างไร (นักเรียนตอบตามข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น เช่น การพัฒนา อุปกรณ์ที่ชื่อว่า WARP-10 ซึ่งเป็นอุปกรณที่ใช้รักษาอาการ บาดเจ็บของกล้ามเนื้อ การพัฒนาหลอด LED แสงสีต่าง ๆ เพ่ือใช้ เป็นส่วนหนึง่ ของหน้าจอโทรศพั ท์เคลื่อนท่ีและโทรทัศน์ ซึ่งพัฒนา มาจากหลอด LED แสงสีแดงที่ใช้ในการวิจัยการปลูกพืชในสถานี อวกาศและกระสวยอวกาศ) 7.13 นักเรยี นเคยใช้เทคโนโลยใี ดบา้ ง ท่ีพฒั นามาจากเทคโนโลยีอวกาศ และเทคโนโลยีพัฒนามาจากเทคโนโลยีอวกาศใด (นักเรียนตอบ ตามประสบการณ์ตนเอง เช่น เคยใช้ กล้องถ่ายรูปใน โทรศพั ทเ์ คลอื่ นทท่ี พี่ ฒั นามาจากกล้องถา่ ยรปู ในอวกาศ) 7.14 นักเรียนรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ จากแหล่งข้อมูลใดบ้าง (จากการเล่นเกมกระดานสถานีอวกาศ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

289 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ การอา่ นใบความรู้ และการสืบค้นข้อมูลเพม่ิ เติมจากแหล่งข้อมูลที่ น่าเชอื่ ถือ) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกีย่ วกบั ประโยชน์ ของเทคโนโลยีอวกาศ จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ทั้งในการศึกษาอวกาศ และมีประโยชน์ต่อ มนุษย์ที่อยู่บนโลก ทั้งที่เป็นประโยชน์โดยตรงจากการใช้ข้อมูลที่ได้จาก เทคโนโลยีอวกาศที่ส่งไปนอกโลก เช่น ข้อมูลจากดาวเทียม กล้องโทรทัศน์ รวมทั้งประโยชน์ทางอ้อมจากการพัฒนาต่อยอด เทคโนโลยีอวกาศมาเป็นเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีสามารถนำมาใช้ใน ชีวิตประจำวัน เช่น อาหารของทารกที่มีสารอาหารสูงซึ่งพัฒนามาจาก อาหารของนกั บนิ อวกาศ (S13) 9. ครูให้นักเรียนตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพือ่ ให้ ไดแ้ นวคำตอบท่ถี กู ตอ้ ง 10. นกั เรียนอา่ น สิง่ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้ และเปรยี บเทียบกับขอ้ สรุปของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เกย่ี วกับคำถามท่นี ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 อะไรบา้ งในข้ันตอนใด 13. นกั เรยี นร่วมกนั อา่ นรู้อะไรในเรอ่ื งนี้ ในหนงั สอื เรียน หน้า 137-138 ครู นำอภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากน้ัน ครกู ระตุ้นให้นกั เรยี นตอบคำถามในชว่ งทา้ ยของเน้ือเรื่องว่า รหู้ รอื ไม่ว่า ประจุไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีอวกาศ ประจุ ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าเป็นอย่างไร ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อหา แนวทางการตอบคำถาม ซึ่งครูควรเน้นให้นักเรียนตอบคำถามพร้อม อธบิ ายเหตผุ ลประกอบ และนักเรียนจะได้ไปรว่ มกนั หาคำตอบจากการ เรียนหนว่ ยที่ 6 แรงไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้า ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 290 แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม รวบรวมขอ้ มลู และอธบิ ายประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศทมี่ ตี อ่ มนษุ ย์ นกั เรยี นเขยี นแผนผังความคดิ จากผลการอภปิ รายตามความเข้าใจ และเพมิ่ เตมิ ข้อมูลจากผลการเล่นเกม การอ่านใบความรู้ และการสืบค้นข้อมูล เชน่ ตวั อย่าง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ัตวอ ่ยางแผน ัผงความคิดเ ่กียว ักบประโยช ์นของเทคโนโล ียอวกาศ ่ที ีมต่อมนุษ ์ย291 คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 292 นักเรียนบันทกึ ผลตามอนั ดบั ความชอบและเหตุผลของตนเอง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

293 คูม่ ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ ดาวเทียมเป็นสิ่งที่มนุษย์ส่งขึ้นไปโคจรรอบโลก มีประโยชน์ทั้งด้านการ สื่อสาร การกำหนดตำแหน่งทิศทางบนโลก การสำรวจทรัพยากรบนโลก การศกึ ษาดาราศาสตร์ รวมทั้งงานอตุ นุ ิยมวิทยา เทคโนโลยีที่พัฒนามาจากเทคโนโลยีอวกาศมีหลายอย่าง เช่น ผ้าห่มอวกาศ เป็นการนำจุดเด่นของฉนวนหุ้มยานอวกาศที่เบาและเป็นฉนวนความร้อนมา ประยกุ ตใ์ ช้ (นกั เรยี นสามารถยกตวั อย่างเทคโนโลยีอวกาศอื่นได้) นักเรียนตอบตามผลการจัดกลุ่มตามเกณฑ์ที่ตนเองกำหนด เช่น จัดโดยใช้ ประเภทการใช้งานเป็นเกณฑ์ จะจัดได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเทคโนโลยีด้าน สขุ ภาพ กลุม่ เทคโนโลยดี ้านการก้ภู ยั และกล่มุ เทคโนโลยดี ้านการสำรวจ เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ต่อมนุษย์มากมาย ทั้งประโยชน์โดยตรงจากการใช้ข้อมูล จากดาวเทียมต่าง ๆ เช่น การสำรวจทรัพยากร และประโยชน์จากการพัฒนาต่อยอด เทคโนโลยีอวกาศมาเปน็ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ทใ่ี ชบ้ นโลก เช่น อาหารของทารกที่พัฒนามา จากอาหารของนกั บนิ อวกาศ เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์ต่อมนุษย์หลายด้าน ทั้งการศึกษาอวกาศ การใช้ข้อมูลจากดาวเทียมประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาต่อยอดจาก เทคโนโลยีอวกาศมาเป็นเทคโนโลยตี ่าง ๆ ท่ีใชบ้ นโลก ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 294 คำถามของนักเรยี นทีต่ ้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง      สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

295 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรูข้ องนกั เรยี นทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมนิ ความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรยี น 2. ประเมนิ การเรียนร้จู ากคำตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรียนรูแ้ ละจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกิจกรรมท่ี 1.2 เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์อยา่ งไร รหสั สิ่งท่ีประเมิน คะแนน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S6 การจดั กระทำและส่อื ความหมายขอ้ มลู S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มูล S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การส่ือสาร C5 ความรว่ มมือ C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร รวมคะแนน ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยที่ 5 เงา อปุ ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 296 ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S6 การจัดก ร ะ ท ำ การนำข้อมลู สามารถนำข้อมลู สามารถนำข้อมูล สามารถนำข้อมลู และสื่อความหมาย ประโยชน์ของ ประโยชน์ของเทคโนโลยี ประโยชนข์ องเทคโนโลยี ประโยชนข์ อง ข้อมลู เทคโนโลยอี วกาศมา อวกาศมาเขยี นแผนผงั อวกาศมาเขยี นแผนผัง เทคโนโลยีอวกาศ ความคดิ รวมทัง้ ส่ือให้ ความคิด รวมท้ังสื่อให้ มาเขยี นแผนผงั เขยี นแผนผงั ความคิด ผอู้ ่นื เข้าใจไดค้ รบถว้ น ผู้อนื่ เข้าใจได้ครบถ้วน ความคิดและ ดว้ ยตนเอง จากการช้ีแนะของครู สื่อสารข้อมูลไดแ้ ต่ รวมทั้งสอื่ ใหผ้ อู้ ่ืน หรือผู้อนื่ ไมค่ รบถว้ น แม้วา่ จะไดร้ ับคำชี้แนะ เขา้ ใจได้อย่าง ครบถ้วน จากครหู รือผู้อื่น S8 การลงความเห็น การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลง จากขอ้ มูล ขอ้ มลู ว่าเทคโนโลยี จากข้อมลู ได้ถูกต้องและ ขอ้ มูลไดถ้ ูกตอ้ งและ ความเห็นจาก อวกาศมีประโยชนต์ ่อ ชัดเจนดว้ ยตนเองว่า ชดั เจน โดยอาศยั การ ข้อมูลเกี่ยวกับ มนุษยห์ ลายดา้ น เทคโนโลยีอวกาศมี ชีแ้ นะของครูหรือผ้อู ื่นว่า ประโยชน์ของ รวมทั้งยกตวั อย่าง ประโยชนต์ อ่ มนษุ ย์ เทคโนโลยีอวกาศมี เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยีอวกาศและ หลายดา้ น รวมท้ัง ประโยชน์ต่อมนษุ ยห์ ลาย ไดเ้ พียงบางสว่ น บอกประโยชน์ของ ยกตัวอย่างเทคโนโลยี ดา้ น รวมทัง้ ยกตัวอย่าง แมว้ ่าจะไดร้ ับคำ เทคโนโลยอี วกาศ อวกาศและบอก เทคโนโลยอี วกาศและ ชีแ้ นะจากครูหรือ น้ันๆ ได้ ประโยชน์ของเทคโนโลยี บอกประโยชน์ของ ผอู้ น่ื อวกาศน้ันๆ ได้ เทคโนโลยอี วกาศนนั้ ๆ ได้ S13 การ การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถ ตคี วามหมายข้อมลู ข้อมูลและลงข้อสรุป ขอ้ มลู และลงข้อสรุปจาก ขอ้ มูลและลงข้อสรปุ จาก ตคี วามหมายข้อมูล และลงข้อสรุป จากการรวบรวม การรวบรวมข้อมูล ได้ การรวบรวมขอ้ มลู ได้ และลงข้อสรปุ จาก ข้อมลู ได้ว่าเทคโนโลยี ถกู ต้องด้วยตนเองวา่ ถกู ต้องโดยอาศยั การ การรวบรวมขอ้ มูล อวกาศมีประโยชนต์ อ่ เทคโนโลยอี วกาศมี ชแี้ นะของครูหรือผอู้ น่ื ว่า เกยี่ วกบั ประโยชน์ มนษุ ยห์ ลายด้าน ท้งั ประโยชนต์ ่อมนุษย์ เทคโนโลยีอวกาศมี ของเทคโนโลยี การศกึ ษาอวกาศ การ หลายด้าน ทงั้ การศึกษา ประโยชน์ตอ่ มนุษย์หลาย อวกาศ ไดไ้ มค่ รบ ใช้ข้อมลู จาก อวกาศ การใชข้ ้อมลู จาก ด้าน ท้ังการศกึ ษาอวกาศ ทุกประเดน็ แมว้ ่า ดาวเทียมประเภท ดาวเทยี มประเภทต่างๆ การใช้ขอ้ มูลจาก จะได้รบั คำช้แี นะ ตา่ งๆ และการพฒั นา และการพฒั นาต่อ ดาวเทียมประเภทตา่ งๆ จากครหู รือผู้อ่ืน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

297 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ทางวิทยาศาสตร์ ตอ่ ยอดจาก ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) เทคโนโลยีอวกาศมา เป็นเทคโนโลยที ่ใี ช้ ยอดจากเทคโนโลยี และการพฒั นาต่อ บนโลก อวกาศมาเปน็ เทคโนโลยี ยอดจากเทคโนโลยี ทใ่ี ชบ้ นโลก อวกาศมาเปน็ เทคโนโลยี ท่ีใช้บนโลก ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ศตวรรษที่ 21 C4 การสอื่ สาร ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) C5 ความรว่ มมือ การนำเสนอขอ้ มูล สามารถนำเสนอข้อมลู สามารถนำเสนอขอ้ มลู สามารถนำเสนอข้อมลู C6 การใช้ ประโยชน์ของ ประโยชนข์ อง ประโยชนข์ อง ประโยชนข์ องเทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศและ เทคโนโลยีอวกาศให้ เทคโนโลยอี วกาศให้ เทคโนโลยีอวกาศให้ อวกาศใหผ้ ู้อนื่ เขา้ ใจได้ การสอื่ สาร ผู้อ่นื เขา้ ใจ ผู้อืน่ เขา้ ใจได้ถูกต้อง ผู้อืน่ เขา้ ใจไดถ้ ูกต้อง เพียงบางส่วน แม้วา่ จะ ครบถว้ น ด้วยตนเอง ครบถว้ น โดยอาศยั ได้รับคำช้แี นะจากครู การช้ีแนะของครูหรอื หรือผู้อื่น ผูอ้ นื่ การทำงานรว่ มกับผ้อู ื่น สามารถทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานรว่ มกบั ในการเลน่ เกมเกยี่ วกบั ผ้อู ืน่ ในการเลน่ เกม ผอู้ ่นื ในการรว่ มเล่นเกม ผู้อืน่ เป็นบางช่วงเวลา ประโยชน์ของ เกี่ยวกบั ประโยชน์ของ เก่ยี วกับประโยชน์ของ ของการทำกจิ กรรม แต่ เทคโนโลยอี วกาศ เทคโนโลยอี วกาศ เทคโนโลยีอวกาศ ไมแ่ สดงความสนใจต่อ รวมทั้งยอมรบั ความ รวมทัง้ ยอมรบั ความ รวมทั้งยอมรับความ ความคิดเห็นของผู้อ่นื คิดเหน็ ของผ้อู ื่น คิดเห็นของผู้อนื่ ต้ังแต่ คิดเหน็ ของผอู้ ืน่ ในบาง ทั้งนี้ตอ้ งอาศยั การ เริม่ ต้นจนสำเร็จ ชว่ งเวลาทีท่ ำกจิ กรรม กระต้นุ จากครูหรือผูอ้ ืน่ การใชเ้ ทคโนโลยีสืบค้น สามารถใช้เทคโนโลยี สามารถใช้เทคโนโลยี สามารถใชเ้ ทคโนโลยี ข้อมลู จากแหล่งข้อมูล สืบคน้ ข้อมูลจาก สบื ค้นข้อมูลจาก สบื คน้ ข้อมลู จาก ท่ีน่าเชอื่ ถือ เกย่ี วกับ แหลง่ ข้อมูลทีน่ า่ เชอื่ ถือ แหล่งข้อมลู ท่นี า่ เชอื่ ถอื แหล่งข้อมูลทนี่ ่าเช่ือถอื ประโยชน์ของ เกยี่ วกับประโยชน์ของ เกี่ยวกบั ประโยชน์ของ เกยี่ วกับประโยชน์ของ เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยีอวกาศได้ เทคโนโลยอี วกาศ ได้ เทคโนโลยอี วกาศไดไ้ ม่ ถกู ต้องดว้ ยตนเอง ถูกต้อง แต่ต้องอาศยั สมบูรณ์แมว้ ่าจะได้รับคำ การชีแ้ นะจากครูหรือ ช้ีแนะจากครูหรือผ้อู นื่ ผู้อื่น ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 298 กิจกรรมทา้ ยบทที่ 2 เทคโนโลยอี วกาศ (0.5 ชัว่ โมง) 1. ครูให้นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากบทนี้ ในแบบบันทึก กิจกรรม หนา้ 104 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบกับ แผนภาพในหัวขอ้ รู้อะไรในบทน้ี ในหนังสอื เรยี น หน้า 139 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคำตอบของตนเองในสำรวจความรู้กอ่ นเรียน ใน แบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 94 อกี คร้ัง ถ้าคำตอบของนักเรยี นไม่ถูกต้องให้ขีด เส้นทบั ขอ้ ความเหล่าน้ัน แลว้ แกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง นอกจากนีค้ รอู าจนำคำถามใน รปู นำบทในหนังสือเรยี น หน้า 118 มารว่ มกนั อภปิ รายคำตอบอกี ครั้ง ดังนี้ 1. มีเทคโนโลยีอวกาศอะไรบ้างที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากอดีต จนถึงปัจจุบัน (เทคโนโลยีอวกาศที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจาก อดีตจนถงึ ปจั จุบันมีหลายอย่าง เชน่ กล้องโทรทรรศนท์ ี่ในอดีตเป็น กล้องที่ใช้สำรวจท้องฟ้าจากบนโลก ซึ่งมีความละเอียดน้อย และ อาจมีชั้นบรรยากาศของโลกบดบังทำให้ถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้าไม่ ชัดเจน จากนั้นได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันสามารถใช้กล้อง โทรทรรศน์อวกาศที่ส่งออกไปถ่ายภาพจากนอกโลกได้ ภาพที่ได้ ชัดเจนเพราะไมม่ ีชั้นบรรยากาศโลกบดบัง) 2. นอกจากมนุษย์จะใช้เทคโนโลยีอวกาศเพื่อสำรวจอวกาศแล้ว เ ท ค โ น โ ล ย ี อ ว ก า ศ ย ั ง ม ี ป ร ะ โ ย ช น ์ ต่ อ ม น ุ ษ ย ์ ใ น ด ้ า น ใ ด อ ี ก บ ้ า ง (เทคโนโลยีอวกาศนอกจากจะมีประโยชน์ในการสำรวจอวกาศแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อมนษุ ยอ์ ีกหลายดา้ น เช่น การส่งดาวเทยี มไปโคจร รอบโลกทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในด้านต่าง ๆ หรือการ พัฒนาประยุกต์เทคโนโลยีอวกาศต่าง ๆ มาเป็นเทคโนโลยีที่ใช้บน โลก ซึ่งทำให้มนุษย์มีความสะดวกสบายจากการใช้เทคโนโลยี เหลา่ นน้ั ) 4. นักเรียนทำ แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 เทคโนโลยีอวกาศ ในแบบบันทึก กิจกรรมหนา้ 105-106 จากนน้ั นำเสนอคำตอบหนา้ ช้นั เรียน ถ้าคำตอบยังมี ความคลาดเคลื่อนไม่ถูกต้องครูควรนำอภิปรายหรือให้สถานการณ์เพิ่มเติม เพ่อื แกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคล่อื นให้ถูกต้อง 5. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ร่วมคิด ร่วมทำ โดยให้นักเรียนออกแบบ เทคโนโลยีบนโลกที่พัฒนามาจากเทคโนโลยีอวกาศในอนาคต พร้อมบอก เหตุผลในการพัฒนาเทคโนโลยดี ังกล่าว สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

299 คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยอี วกาศ 6. นักเรียนอ่าน วิทย์กับอาชีพ เกี่ยวกับอาชีพเภสัชกรอวกาศในหนังสือเรียน หนา้ 141 และอาจใหน้ ักเรยี นอภปิ รายหัวข้อนใี้ นช่ัวโมงเรยี นหรอื มอบหมาย ให้อภิปรายนอกเวลาเรียน เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของอาชีพ เภสัชกรอวกาศ และเป็นแนวทางการประกอบอาชพี ตอ่ ไป 7. นักเรียนอ่านและอภิปรายเนื้อเรื่องในหัวข้อวิทย์ใกล้ตัว ในหนังสือเรียน หน้า 141 โดยครูกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของความรู้จากสิ่งที่ได้ เรียนรู้ในหนว่ ยนี้ วา่ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวันได้อยา่ งไร 8. นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคำถามสำคญั ประจำหนว่ ยอีกครงั้ ดงั นี้ - เงาเกิดขึ้นได้อย่างไร (เงาเกิดจากการมีวัตถุทึบแสงไปกั้นทางเดินของ แสง ทำใหเ้ กดิ เงาของวตั ถุนั้นบนฉาก) - สุริยุปราคาและจันทรุปราคาเกิดขึ้นได้อย่างไร (สุริยุปราคาเกิดจาก ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ในแนวเส้นตรง เดียวกัน ถ้าระยะทางระหวา่ งดาวแต่ละดวงเหมาะสม จะทำให้เงาของ ดวงจันทร์ทอดมายังโลก ทำให้คนบนโลกที่อยู่บริเวณเงามืด เงามัว หรือเงามัวส่วนใน มองเห็นปรากฏการณ์นี้ ส่วนจันทรุปราคาเกิดจาก ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับโลกและดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ระหว่างดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ทำให้โลกบังแสงจาก ดวงอาทิตย์และเงาของโลกทอดไปยงั ดวงจันทร์) - เทคโนโลยีอวกาศมีประโยชน์กับชีวิตอย่างไร (เทคโนโลยีอวกาศมี ประโยชน์ทั้งในด้านการสำรวจอวกาศ ที่ทำให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเป็น ประโยชน์กับมนุษย์ และมนุษย์ยังใช้ประโยชน์หลายอย่างจาก ดาวเทียมที่เป็นเทคโนโลยีอวกาศประเภทหนึ่ง นอกจากน้ีมนุษย์ยังมี การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศมาเป็นเทคโนโลยีทีใ่ ชบ้ นโลกอีกดว้ ย) ถ้าคำตอบยังไม่ถูกต้อง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้คำตอบที่ ถกู ตอ้ ง ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 300 สรปุ ผลการเรยี นรขู้ องตนเอง รปู หรือข้อความสรปุ ส่ิงที่ไดเ้ รยี นรู้จากบทน้ตี ามความเขา้ ใจของนกั เรยี น สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

301 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ แนวคำตอบในแบบฝึกหดั ทา้ ยบท จรวด ยานอวกาศ และยานขนสง่ อวกาศมีลกั ษณะและภารกจิ แตกต่างกัน โดย จรวดเป็นยานทเี่ คล่ือนท่ีดว้ ยความเร็วสงู ในแนวดิ่งเพื่อส่งสิง่ ตา่ ง ๆ ออกนอกโลก ยานอวกาศเป็นยานที่ถกู ส่งออกนอกโลกเพ่ือไปปฏบิ ัตภิ ารกจิ ต่าง ๆ เชน่ สำรวจ ดาว ส่วนยานขนสง่ อวกาศมภี ารกิจในการขนสง่ ส่งิ ตา่ ง ๆ ออกสู่อวกาศ ท้ัง อปุ กรณ์และนักบินอวกาศ ซงึ่ สามารถเดินทางไปกลบั ไดห้ ลายรอบ การบอกตำแหนง่ ของสงิ่ ต่าง ๆ บนโลกสามารถบอกได้โดยใช้ดาวเทยี ม 3 ดวง ขึน้ ไป กำหนดตำแหนง่ หรอื ทศิ ทาง เพราะการใช้สัญญาณจากตำแหน่งของ ดาวเทียมในช่วงเวลาหนงึ่ ๆ สามารถนำมาระบุพิกัดของส่ิงต่าง ๆ บนโลกได้ อย่างแม่นยำ ส่วนการบอกลกั ษณะภูมปิ ระเทศและสภาพแวดลอ้ มทำได้โดยการ ใช้ข้อมลู จากดาวเทยี มสำรวจทรัพยากร เพราะเปน็ ดาวเทยี มทอี่ อกแบบมาให้ สามารถถ่ายภาพสง่ิ ตา่ ง ๆ ไดค้ รอบคลุมพื้นทีบ่ นโลก จึงสามารถบันทึกภาพ ลกั ษณะของพน้ื ท่ีบรเิ วณต่าง ๆ ของโลกได้ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 5 เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 302 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

หนว่ ยท่ี 6 แรงไฟฟา้ และพลังงานไฟฟา้303 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 6 แรงไฟฟ้าและพลังงานไฟฟา้ ภาพรวมการจดั การเรยี นรูป้ ระจำหน่วยที่ 6 แรงไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟา้ บท เรือ่ ง กจิ กรรม ลำดับแนวคดิ ต่อเนอ่ื ง ตัวชว้ี ดั บทท่ี 1 แรง เรอ่ื งท่ี 1 การเกิดและ กจิ กรรมท่ี 1.1 ว 2.2 ป.6/1 ไฟฟ้า ผลของ แรง แรงไฟฟา้ เกิดขน้ึ ได้ • แรงไฟฟ้าเปน็ แรงไมส่ มั ผสั เกิดจาก อธบิ ายการเกดิ และผล ไฟฟ้า อย่างไร การถวู ัตถุบางชนดิ ทำให้สามารถ ของ แรงไฟฟา้ ซึ่งเกดิ บทที่ 2 ดึงดดู วตั ถุอน่ื ๆ ได้ จากวตั ถทุ ผี่ า่ นการขัดถู วงจรไฟฟ้า กิจกรรมท่ี 1.2 ผล โดยใช้หลกั ฐานเชงิ อย่างงา่ ย ของแรงไฟฟา้ เปน็ • การถวู ัตถุบางชนิดทำให้เกดิ การ ประจักษ์ อย่างไร ถา่ ยโอนประจุไฟฟา้ ระหวา่ งวตั ถทุ ี่ถู กัน ทำใหว้ ตั ถุไมเ่ ปน็ กลาง ทางไฟฟ้า หรอื มปี ระจุไฟฟ้ารวม เปน็ บวกหรือลบ • แรงไฟฟ้ามีทงั้ แรงดงึ ดูดและแรง ผลกั ซึง่ เกิดจากแรงระหว่างประจุ ไฟฟา้ • แรงดงึ ดดู ของประจุไฟฟา้ เกิดจาก ประจไุ ฟฟา้ บนวัตถุเปน็ ประจไุ ฟฟ้า ต่างชนิดกัน • แรงผลกั ของประจุไฟฟา้ เกดิ จาก ประจุไฟฟา้ บนวตั ถเุ ปน็ ประจไุ ฟฟา้ ชนดิ เดยี วกนั รว่ มคดิ ร่วมทำ เรื่องที่ 1 วงจรไฟฟ้า กจิ กรรมท่ี 1 ต่อ • เสน้ ทางทีก่ ระแสไฟฟ้าผ่านได้ ว 2.3 ป.6/1 ระบุสว่ นประกอบและ ใกลต้ ัว วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ครบรอบ เรียกว่า วงจรไฟฟ้า บรรยายหนา้ ทีข่ องแต่ ละส่วนประกอบของ ไดอ้ ยา่ งไร • วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ยประกอบ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย จากหลกั ฐานเชิง ดว้ ยแหลง่ กำเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ ประจักษ์ ไฟฟา้ และสายไฟฟา้ ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี