การฝึกเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายมีอะไรบ้าง

นางสาว สุนิภา ชินวุฒิ กันยายน 4, 2013 0 Comments

ความรู้ทั่วไป

การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายด้วยการออกกำลังกาย
การออกกำลังกาย เป็นการใช้แรงกล้ามเนื้อลาย ให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย โดยอาจจะใช้กิจกรรมใดๆเป็นสื่อก็ได้ ซึ่งมิได้มุ่งการแข่งขัน แต่ช่วยให้ระบบต่างๆของร่างกายทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถผ่อนคลายความตึงเครียด ซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาวะที่ดี อันเป็นรากฐานสำคัญ สำหรับคุณภาพชีวิตของคนทุกคน    การออกกาลังกายนั้น มีประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ 1. กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น การออกกาลังกายจะทาให้การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงเซลล์ทั้งร่างกายได้ดีขึ้น มีพลังที่สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ดีขึ้น สังเกตได้จากคนที่ออกกาลังกายเป็นประจา หรือนักกีฬา ถ้าจับต้องตามกล้ามเนื้อ จะแข็งแรง เพราะอาหารที่รับประทานเข้าไปถูกใช้เป็นพลังงาน ไม่เหลือสะสมเป็นไขมันใต้ผิวหนัง
2. การทรงตัวดี การออกกาลังกายอยู่เสมอ จะช่วยให้ทรงตัวดีขึ้น มีความกระฉับกระเฉงว่องไว เพราะร่างกายได้มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ การประสานงานของกล้ามเนื้อ และอวัยวะต่างๆ จะทางานได้ดีขึ้น 3. ทรวดทรงดี การออกกาลังกายจะช่วยให้ทรวดทรงดีขึ้น สัดส่วนของร่างกายจะเหมาะสมการออกกาลังกายสม่าเสมอยังช่วยควบคุมน้าหนักตัวให้คงที่ ทาให้เกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง มีผลต่อสุขภาพจิตด้วย 4. ปอด หัวใจ หลอดเลือด ทางานได้ดีขึ้น การออกกาลังกายอย่างถูกต้องตามหลักการและสม่าเสมอ จะเพิ่มการขนส่งออกซิเจนไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ และอวัยวะที่เกี่ยวข้องมากขึ้น ทาให้หัวใจ หลอดเลือด และปอด มีความแข็งแรง อัตราการเต้นของหัวใจ และการหายใจ ขณะพักลดลง และจะช้ากว่าคนที่ไม่ได้ออกกาลังกาย
5. ชะลอความเสื่อมของอวัยวะ ช่วยให้มีอายุยืนยาว การออกกาลังกายที่เหมาะสมเป็นประจาจะช่วยให้แก่ช้า และอายุยืนยาว เพราะกระดูกต่าง ๆ แข็งแรง กล้ามเนื้อแข็งแรง อวัยวะทุกส่วนของร่างกายทาหน้าที่ได้ดีขึ้น 6. การเจริญเติบโต การออกกาลังกายเป็นปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโต โดยเฉพาะในเด็กที่ออกกาลังกายสม่าเสมอ ร่างกายจะผลิตฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตอย่างถูกส่วน จึงกระตุ้นให้อวัยวะต่าง ๆ เจริญขึ้นพร้อมกันไป ทั้งขนาด รูปร่าง และหน้าที่การทางาน
7. สมรรถภาพทางกายดี การออกกาลังกายเป็นกิจกรรมที่เสริมสมรรถภาพทางกายทุกด้านด้าน เช่น ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความอดทน นอกจากนี้ยังสามารถช่วยป้องกันโรคต่าง ๆโรคหลอดเลือดหัวใจเสื่อมสมรรถภาพ โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน โรคเบาหวาน และโรคข้อต่อเสื่อมสภาพ
การขาดการออกกาลังกายในเด็ก วัยเด็กเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตทั้งด้านขนาดรูปร่าง และการทางานของอวัยวะต่างๆ การออกกาลังกายมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต หากขาดการออกกาลังกาย จะเกิดผลเสียดังนี้ 1 การเจริญเติบโตช้า การออกกาลังกายจะช่วยให้ขนาด และความยาวของกระดูกเจริญขึ้น เนื่องจากมีการเพิ่มการสะสมแร่ธาตุ โดยเฉพาะแคลเซียมในกระดูก เด็กที่ขาดการออกกาลังกาย กระดูกจะเล็กเปราะบางและขยายส่วนความยาวได้ไม่เต็มที่ เป็นผลให้เติบโตช้า แคระแกร็น รูปร่างทรวดทรงไม่สมส่วน 2 สุขภาพทั่วไปไม่สมบูรณ์ เด็กที่ขาดการออกกาลังกายจะอ่อนแอ ความต้านทานโรคต่า เจ็บป่วยได้ง่าย หากเจ็บป่วยและหายได้ช้า และมีอาการแทรกซ้อนได้บ่อย ๆ
3 สัมฤทธิ์ผลทางการศึกษาต่า เนื่องจากผลข้อ 1 – 2 จะทาให้เด็กมีปัญหาสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งจะทาให้ไม่พร้อมที่จะเรียนการเจ็บป่วยบ่อย ๆ ระหว่างการเรียน ทาให้ผลการเรียนตกต่า
4 การเข้าสังคม การออกกาลังกายโดยการเล่นกีฬาเป็นหมู่คณะ จะช่วยให้เด็กปรับตัวเข้ากับเพื่อน ๆ จะช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง และรู้จักแพ้ชนะ ซึ่งเป็นธรรมชาติของการแข่งขัน ในเด็กที่ไม่ได้เล่นกีฬา มักเก็บตัว มีเพื่อนน้อย ขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ขาดการฝึกความอดทน เมื่อมีปัญหาอาจจะหันไปหาอบายมุข หรือยาเสพติด
การขาดการออกกาลังกายในวัยหนุ่มสาว วัยหนุ่มสาวมักออกกาลังกายเพื่อควบคุมน้าหนัก เมื่อน้าหนักตัวปกติจึงไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย ดังนี้ 1 หนุ่มสาวที่ขาดการออกกาลังกายมาตั้งแต่วัยเด็ก พวกนี้รูปร่างสัดส่วนของร่างกายและสมรรถภาพทางกายจะผิดปกติอยู่แล้ว ถ้าวัยนี้ขาดการออกกาลังกาย อวัยวะต่าง ๆ จะเกิดการเสื่อมทั้งในด้านรูปร่าง หน้าที่การทางานในระบบต่าง ๆอาจแสดงอาการให้เห็น เช่น เหนื่อยหอบใจสั่น เมื่อออกแรงเล็กน้อยเพราะสมรรถภาพทางกายต่า2 การหยุดออกกาลังกายในวัยหนุ่มสาว การเจริญเติบโตไม่มีข้อขัดข้องมาก่อน แต่รูปร่างทรวดทรงอาจเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากความแข็งแรงของกล้ามเนื้อน้อยลง และมีการสะสมไขมันมากขึ้น สมรรถภาพทางกายจะต่าลงอย่างรวดเร็ว มีผลกระทบต่อบุคลิกภาพ จิตใจ ซึ่งส่งผลต่อการศึกษาหรือประกอบอาชีพ การขาดการออกกาลังกายในวัยกลางคนและวัยชรา การขาดการออกกาลังกายในวัยกลางคนและวัยชราจะเกิดผลเสียต่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกายดังนี้
1 โรคประสาทเสียดุลยภาพ ทาให้เกิดความสัมพันธ์ของระบบประสาทในการสั่งการควบคุมการทางานของอวัยวะภายใน อยู่ในสภาพไม่สมดุล ทาให้เกิดความผิดปกติในการทางานของอวัยวะภายในที่เห็นได้ชัดๆ คือ ระบบทางเดินอาหาร จะมีอาการท้องอืด อาหารไม่ย่อย ท้องผูกเป็นประจา และมีอาการของโรคทางประสาทอื่นๆ เช่น มือสั่น ใจสั่น นอนไม่หลับ 2 โรคหลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ เมื่ออายุมากขึ้น การยืดหยุ่นของหลอดเลือดจะน้อยลง เพราะมีไขมัน แคลเซียม ไปพอกพูนทาให้หลอดเลือดแคบลง และเกิดการอุดตันได้
3 โรคเบาหวานการออกกาลังกาย ช่วยให้การเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงานสามารถช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด โดยเผาผลาญให้เป็นพลังงาน ถึงแม้ว่าผู้ออกกาลังกายเป็นประจาจะมีโอกาสเป็นเบาหวาน เขาอาจจะไม่แสดงอาการของโรคเบาหวานเลย 4 โรคของข้อต่อและกระดูก การขาดการออกกาลังกายทาให้ข้อต่อต่าง ๆ ให้งานน้อย จึงเสื่อมเร็ว โดยเฉพาะที่เยื่อบุและเอ็นหุ้มข้อต่อซึ่งมักจะมีการอักเสบและมีหินปูนเกาะทาให้ติดขัด เจ็บปวด เมื่อมีการเคลื่อนไหว การเคลื่อนย้าย หินปูนออกไปจากกระดูกทาให้กระดูกบาง เปราะ และแตกหักง่าย 5 โรคอ้วน การขาดการออกกาลังกาย ทาให้การเผาผลาญอาหารเป็นพลังงานน้อยลง อาหารส่วนเกินจึงถูกสะสมไว้ในสภาพของไขมัน 15 % ของน้าหนักตัว ถือว่าเป็นโรคอ้วน ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับโรคประสาท เสียดุลยภาพ และโรคหลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ
จะเห็นได้ว่าการขาดการออกกาลังกายให้โทษต่อคนทุกวัย ความรุนแรงมากน้อยจะต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความมากน้อยของการขาดการออกกาลังกาย ระยะเวลา และสภาพร่างกายของคนวัยต่าง ๆ ดังนั้นควรเลือกการออกกาลังกายให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย ผู้ที่ยังไม่ได้จัดเวลาสาหรับการออกกาลังกายประจาวัน ควรจัดเวลาในการออกกาลังกายให้ตัวเองอย่างน้อยวันละ 10 นาที เพื่อเพิ่มสมรรถภาพและคุณภาพชีวิต

← Previous post

Next post →

การฝึกฝนเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายมีอะไรบ้าง

การออกกำลังกายหรือการฝึกฝนร่างกาย (Exercise training) คือ การเคลื่อนไหวร่างกายที่สร้างขึ้นอย่างเป็นแบบแผน กระทำซ้ำๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมด เป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างหนัก เช่น เดิน จ้ำ วิ่ง/วิ่งเหยาะ ถีบจักรยาน เต้นแอโรบิก ว่ายน้ำ กระโดดเชือก กรรเชียงเรือ เล่นกีฬาประเภทฝึกความ ...

หลักการฝึกเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายมีกี่ประการ อะไรบ้าง

1. การฝึกสมรรถภาพทางกาย ... .
1. การฝึกเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ... .
2. การฝึกเพื่อเสริมสร้างความอดทนของกล้ามเนื้อ ... .
3. การฝึกเพื่อเสริมสร้างพลังหรือก าลังของกล้ามเนื้อ ... .
4. การฝึกเสริมสร้างความเร็ว ... .
6. การฝึกเพื่อเสริมสร้างความอ่อนตัว ... .
7. การฝึกเพื่อเสริมสร้างความอดทนทั่วไป.

การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย แบบ Interval Training เป็นการฝึกแบบใด

5.2.2 การฝึกแบบมีช่วงพัก (Interval training) เป็นการฝึกที่กำหนดอัตราและระยะทางจำนวนเที่ยวที่ฝึก เวลาที่ใช้ในแต่ละเที่ยว เวลาที่พัก กิจกรรมที่ต้องทำขณะพัก และความถี่ของการฝึกต่อสัปดาห์และตลอดกำหนดการไว้แน่นอน

การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

(1) สมรรถภาพทางกายทั่วไป (General Physical Fitness) จ าแนกออกเป็น 7 ประเภท มีองค์ประกอบดังนี้ 1. ความเร็ว (Speed) 2. พลังกล้ามเนื้อ (Muscle Power) 3. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength) 4. ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle Endurance) 5. ความแคล่วคล่องว่องไว (Agility) 6. ความอ่อนตัว (Flexibility) 7. ความอดทนทั่วไป ( ...