ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ

ͧ���Сͺ�ͧ GIS ( Components of GIS )

ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
ͧ���Сͺ��ѡ�ͧ�к� GIS �Ѵ���͡�� 5 ��ǹ�˭� � ��� �ػ�ó���������� (Hardware) ����� (Software) ��鹵͹��÷ӧҹ (Methods) ������ (Data) ��кؤ�ҡ� (People) ������������´�ͧ����ͧ���Сͺ�ѧ���仹��
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
1. �ػ�ó����������
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
��� ����ͧ�������������件֧�ػ�ó��;�ǧ��ҧ � �� Digitizer, Scanner, Plotter, Printer ������� � ������㹡�ù���Ң����� �����ż� �ʴ��� ��м�Ե���Ѿ��ͧ��÷ӧҹ
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
2. �����
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
��ͪش�ͧ�����������ٻ �� ����� Arc/Info, MapInfo ��� ��觻�Сͺ���¿ѧ���� ��÷ӧҹ�������ͧ��ͷ����繵�ҧ � ����Ѻ�������л�Ѻ�觢�����, �Ѵ����к��ҹ������, ���¡��, �������� ��� ���ͧ�Ҿ
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
3. ������
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
��͢����ŵ�ҧ � ��������к� GIS ��ж١�Ѵ����ٻẺ�ͧ�ҹ�����������Ѻ��ô��� �ҡ�к��Ѵ��ðҹ���������� DBMS �����Ũ���ͧ���Сͺ����Ӥѭ�ͧŧ�Ҩҡ�ؤ�ҡ�
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
4. �ؤ�ҡ�
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
��� ��黯Ժѵԧҹ�������Ǣ�ͧ�Ѻ�к����ʹ��������ʵ�� �� ������Ң����� ��ҧ෤�Ԥ �������к��ҹ������ �������Ǫҭ����Ѻ������������� �������ë�觵�ͧ�������㹡�õѴ�Թ� �ؤ�ҡè���ͧ���Сͺ����Ӥѭ����ش��к� GIS ���ͧ�ҡ��ҢҴ�ؤ�ҡ� �����ŷ���������ҡ��������Ź�� �������§�������դس����������������١�����ҹ �Ҩ�С��������� ��ҢҴ�ؤ�ҡá��������к� GIS
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
5. �Ըա�����͢�鹵͹��÷ӧҹ
ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
����Ըա�÷��ͧ��ù�� � ������к� GIS ���ҹ������ �к�����ͧ�������դ���ᵡ��ҧ�ѹ�͡� �й�鹼�黯Ժѵԧҹ��ͧ���͡�Ըա��㹡�èѴ��áѺ�ѭ�ҷ�������������ش����Ѻ�ͧ˹��§ҹ��� � �ͧ

ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มีองค์ประกอบที่สำคัญรวม ๕ ประการ คือ ฮาร์ดแวร์ (hardware) ซอฟต์แวร์ (software) ข้อมูล (data) กระบวนการวิเคราะห์ (application procedure) และบุคลากร (peopleware) ซึ่งจะอธิบายพอสังเขปดังต่อไปนี้

๑. ฮาร์ดแวร์

ฮาร์ดแวร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ และ/หรือส่วนเชื่อมต่อ ซึ่งทำหน้าที่หลัก ๒ ประการคือ
๑) การนำเข้าข้อมูล (Data Input) และ
๒) การแสดงผลลัพธ์ (Data Output) ที่ได้จากการวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

ฮาร์ดแวร์ที่ใช้เพื่อการนำเข้าสู่ข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องกราดภาพ (scanner) เครื่องดิจิไทซ์ (digitizer) หรือเครื่องอ่านพิกัด และแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ (keyboard) ส่วนฮาร์ดแวร์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องพิมพ์ (printer) เครื่องวาด (plotter) และสื่อสำหรับจัดเก็บหรือบันทึกข้อมูลเชิงเลข (digital data) เช่น ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ซึ่งมีทั้งแบบที่ใช้ภายในและภายนอกคอมพิวเตอร์ และซีดีรอม (CD-ROM) หรือดีวีดีรอม (DVD-ROM)

๒. ซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งทำหน้าที่ออกคำสั่งเพื่อจัดการควบคุมการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทหลัก คือ

๑) ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (operating software)
๒) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดหรือแต่ละกลุ่ม จะใช้ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน เช่น ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (Unix) หรือระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (Linux)

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อให้ควบคุมการทำงานด้านการประยุกต์เฉพาะเรื่อง เช่น ซอฟต์แวร์การวิเคราะห์ทางสติถิ (Statistical Package for Social Science: SPSS) ซอฟต์แวร์การวิเคราะห์ข้อมูลจากระยะไกล (Remote Sensing Software) และซอฟต์แวร์การวิเคราะห์ข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Software) ปัจจุบัน มีซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่ใช้ในประเทศไทยหลายชนิด เช่น อาร์กอินโฟ (ArcInfo) อาร์กวิว (ArcView) แมปอินโฟ (MapInfo) อิลวิส (ILWIS) และอินเทอร์กราฟ (Intergraph) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ พัฒนาขึ้นมา โดยบริษัทที่มีความชำนาญ ด้านซอฟต์แวร์โดยเฉพาะ

ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ
๓. ข้อมูล

ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญมากในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยข้อมูลเหล่านี้ได้รับการรวบรวม จัดเก็บ ปรับปรุง แก้ไข และจัดการไว้ในฐานข้อมูล เพื่อให้พร้อมที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ หรือทำแบบจำลองต่างๆ โดยจัดเก็บอย่างเป็นระบบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

ก. แหล่งของข้อมูล มาจากข้อมูลในอดีตและจัดเก็บจริงจากสนาม ได้แก่ แผนที่ประเภทต่างๆ ที่ได้ทำไว้แล้ว ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายจากดาวเทียม เอกสาร ภาพ การจัดเก็บข้อมูลด้วยเครื่องวัดพิกัดจากดาวเทียมในพื้นที่ และมีข้อมูลที่รายงานต่อเนื่อง ทุกช่วงเวลา เช่น ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ การรายงานตำแหน่งอุบัติเหตุและการจราจร การเดินทางขนส่งที่ติดเครื่องวัดพิกัด จากดาวเทียม

ข. องค์ประกอบของข้อมูลภูมิศาสตร์ ข้อมูลภูมิศาสตร์มีองค์ประกอบที่สำคัญ ๓ ส่วน ได้แก่

-  ลักษณะทางกายภาพของสิ่งที่ศึกษา เช่น แม่น้ำ นาข้าว ป่าไม้ โดยมีการบอกลักษณะต่างๆ ได้ เช่น ขนาด ชนิด และรายละเอียดอื่นที่จำเป็น
-  ตำแหน่งหรือพิกัดทางภูมิศาสตร์ของสิ่งที่ศึกษา
-  เวลาที่เกิดขึ้นของสิ่งที่ศึกษา ปัจจุบันเวลามีส่วนสำคัญต่อการวิเคราะห์เปรียบเทียบของสิ่งที่ศึกษานั้น

ค. ประเภทของข้อมูล ข้อมูลที่ได้รับการแปลงเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) และข้อมูลเชิงลักษณะ (Attribute data)

ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ

ข้อมูลแบบแรสเตอร์จัดเก็บในรูปตาราง ที่มีข้อมูลอยู่ภายใน ขนาดเล็กหรือใหญ่ แสดงให้เห็นจากความเรียบหรือขรุขระ ๑) ข้อมูลเชิงพื้นที่ คือ ข้อมูลที่แสดงลักษณะทางกายภาพของสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนโลก โดยสามารถถ่ายทอดออกมา ในรูปแบบการแสดงผลบนแผนที่ ได้จากการวิเคราะห์ในลักษณะของสัญลักษณ์ อันประกอบด้วย จุด เส้น และพื้นที่ ซึ่งข้อมูลพื้นที่ดังกล่าว ต้องสามารถอ้างอิงกับค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ได้ ข้อมูลเชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ยังสามารถจำแนกออกได้เป็น ๒ แบบย่อย ดังต่อไปนี้

- แรสเตอร์ (Raster) ข้อมูลแบบแรสเตอร์เป็นข้อมูลที่เกิดจากการกราดภาพ (scan) แผนที่ชนิดต่างๆ ภาพถ่ายจากดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ เมื่อขยายภาพจนเห็นโครงสร้างของภาพเป็นช่องสี่เหลี่ยม ที่เรียกว่า จุดภาพ หรือกริดเซลล์ (grid cell) เรียงต่อเนื่องกันเป็นแนวราบและแนวดิ่ง ซึ่งจุดภาพที่เรียงตัวตามแนวราบและแนวดิ่งคือลักษณะของข้อมูลแบบแรสเตอร์ ทั้งนี้แต่ละจุดภาพมีค่าได้ ๑ ค่า ที่อาจเหมือนหรือแตกต่างกันได้ และสามารถนำมาใช้ในการจัดกลุ่มจำแนกวัตถุที่ปรากฏบนภาพ เช่น แนวของถนนคอนกรีตกับถนนลูกรัง จำแนกตามค่าจุดภาพที่ไม่เท่ากัน

- เวกเตอร์ (Vector) ข้อมูลแบบเวกเตอร์เป็นข้อมูลที่สร้างขึ้นโดยการอ้างอิงกับข้อมูลแบบแรสเตอร์ หรือเป็นข้อมูลที่ได้จากระบบเครื่องวัดพิกัดจากดาวเทียม หรือจากการสร้างขึ้นมา เพื่อใช้เป็นตัวแทนของสิ่งที่ปรากฏอยู่บนพื้นที่จริง โดยแสดงในรูปแบบของจุด เส้น และพื้นที่ จะมีมาตราส่วนเป็นตัวกำหนดขนาด เช่น ถ้ามาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ แนวถนนมองเห็นเป็นเส้น แต่ถ้ามาตราส่วน ๑ : ๑,๐๐๐ แนวถนนนั้นสามารถแสดงเป็นพื้นที่ถนนหรือช่องจราจรได้ ซึ่งในทางคณิตศาสตร์ คุณสมบัติของเวกเตอร์ต้องประกอบด้วย จุดเริ่มต้น ขนาด และทิศทาง

๒) ข้อมูลเชิงลักษณะ คือ ข้อมูลที่บอกถึงรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในพื้นที่ เช่น ประเภทของหิน ชนิดของดิน ระบบการระบายน้ำ ชนิดของแหล่งน้ำ ลักษณะของป่า เส้นทางคมนาคม จำนวนประชากรในเขตการปกครอง วัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเป็นอยู่

ข้อใด ต่อ ไป นี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบ ของระบบ

ข้อมูลแบบเวกเตอร์แสดงในลักษณะของสัญลักษณ์ เช่น จุด เส้น และรูปหลายเหลี่ยม ๔. กระบวนการวิเคราะห์

จัดเป็นส่วนสำคัญของระบบงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยกระบวนการวิเคราะห์สามารถนำข้อมูลเชิงพื้นที่ และข้อมูลเชิงลักษณะมารวมเข้าด้วยกัน ด้วยการผนวกชั้นข้อมูล (data layer) เช่น การนำแผนที่ดินมาซ้อนทับกับแผนที่ธรณีวิทยา และชั้นความสูงที่แปลงค่าเป็นความลาดชัน เมื่อนำมารวมกัน ทำให้ทราบว่า ดินบริเวณที่ศึกษานั้นอยู่บนชั้นหินอะไร สภาพความลาดชันและความคงทนของพื้นที่มีภูมิประเทศอย่างไร โดยสามารถสร้างเป็น ๓ มิติได้ ในการวิเคราะห์ขั้นสูงจำแนกข้อมูลเป็น ๒ ประเภท คือ

๑) ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง  และ
๒) เวลาและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง

เมื่อนำมาผสมผสานกัน ทำให้สามารถทำนายสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์น้ำท่วม การจราจร โรคระบาด

๕. บุคลากร

ระบบงานสารสนเทศภูมิศาสตร์มีบุคลากรที่แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นไปจนถึงได้ผลลัพธ์ออกมา บุคลากรแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มผู้สร้างข้อมูล และกลุ่มผู้ใช้ข้อมูล กลุ่มผู้สร้างข้อมูลเป็นผู้มีหน้าที่จัดทำ รวบรวมข้อมูล นำเข้าข้อมูล จัดเก็บข้อมูล และแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบันที่สุดสำหรับการวิเคราะห์ในด้านต่างๆ โดยมีนักออกแบบระบบฐานข้อมูลทำหน้าที่ออกแบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้ระบบทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีนักพัฒนาโปรแกรมเป็นผู้สร้างรูปแบบการทำงาน เพื่อให้กลุ่มผู้ใช้ข้อมูลที่มีความชำนาญงานแต่ละประเภท ได้นำข้อมูลที่กลุ่มผู้สร้างข้อมูลทำไว้นั้นไปวิเคราะห์และสร้างแผนที่ในรูปแบบต่างๆ กลุ่มผู้สร้างข้อมูลอาจไม่มีความชำนาญ ในการสร้างข้อมูลใหม่ แต่กลุ่มผู้ใช้สามารถบอกว่าต้องการวิเคราะห์อะไร หรืออธิบายความต้องการสุดท้ายให้ผู้สร้างข้อมูลจัดสร้าง ตามรูปแบบต่างๆ ที่ต้องการ เพื่อนำไปวิเคราะห์ เช่น ถ้าต้องการแผนที่ภัยพิบัติ ต้องใช้แผนที่ภูมิประเทศพื้นฐาน ร่วมกับแผนที่แสดงรอยเลื่อนของแผ่นดิน และพื้นที่ที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นประจำ การปฏิบัติงานด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์ กลุ่มผู้สร้างข้อมูลและผู้ใช้ข้อมูลต้องทำงานร่วมกัน เพื่อให้ได้ข้อมูลแผนที่ (map data) ที่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ต่อการวางแผน และสิ่งที่สำคัญของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คือ บุคลากรผู้สร้างข้อมูลที่ต้องสามารถปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันมากที่สุด เพราะข้อมูลที่ได้มาถ้าไม่มีการรายงานจากสนามที่เป็นปัจจุบัน หากส่งข้อมูลเข้ามารวมกัน ข้อมูลที่ติดตามอยู่ อาจเกิดความผิดพลาดได้ เช่น แผนที่แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะน้ำท่วม แผนที่การระบาดของโรค ซึ่งจำเป็นต้องใช้ข้อมูล ที่มีการเคลื่อนไหว และรายงานผลทุกช่วงเวลา