ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลักษณะตัวอักษร  ขนาดตัวอักษร <font size>  รูปแบบตัวอักษร <face>    ตัวอักษรพิเศษ  
ตกแต่งสีสันเว็บเพจกำหนดสีพื้นหลังและสีตัวอักษร  สีตัวอักษรเฉพาะส่วน  ตัวอักษรวิ่ง <marquee>  

1. การกำหนดหัวเรื่อง <hn>

             

การกำหนดรูปแบบหัวเรื่องเป็นการกำหนดขนาดตัวอักษรให้แตกต่างกันเพื่อแยกแต่ละหัวเรื่องอย่างชัดเจนสำหรับ
เอกสาร ที่มีหลาย ๆ หัวเรื่อง จากลำดับหัวเรื่องใหญ่ไปหัวเรื่อง ซึ่งสามารถกำหนดขนาดหัวเรื่องได้ 6 ระดับ ดังนี้

ชื่อแท็ก                                                    hn (n มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 6)
รูปแบบในภาษา HTML                         <hn>หัวเรื่อง</hn>

ตัวอย่างการใช้งาน แท็ก <hn>

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ผลลัพธ์ที่ได

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

              จากผลลัพท์ที่ได้ จะเห็นว่า ขนาด <h2> จะมีขนาดใหญ่สุด และเล็กสุดคือ <h6> คำสั่งนี้จะทำให้ข้อความใหญ่และหนาขึ้น
อัตโนมัติ แต่มีข้อเสียคือ ไม่สามารถใช้ร่วมกับคำสั่งอื่นได้

2. การกำหนดลักษณะตัวอักษร   

การกำหนดลักษณะตัวอักษรในเว็บเพจนั้น มีอยู่ 2 วิธี  ได้แก่

  • แบบ Physical  เป็นการกำหนดรูปแบบตัวอักษรอย่างเจาะจง
  • แบบ Logical  ที่ผู้ใช้บราวเซอร์สามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรได้ด้วยตัวเอง

การกำหนดลักษณะตัวอักษรแบบ Physical

                เราสามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรในข้อความได้หลายแบบ เช่น ตัวหนา ตัวเอน โดย รูปแบบที่กำหนดจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ถึงแม้เบราเซอร์ที่ใช้เปิดจะเป็นคนละตัวกัน

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

หมายเหตุ

              แท็ก <sup>,<bub>,<big>,<small> สามารถนำมาซ้อนกันได้ เพื่อให้การกำหนดค่ามากขึ้นกว่าเดิมเช่น <big>BIG</big> กับ  <big><big>BIG</big></big> คำว่า BIG ตัวที่สองจะใหญ่กว่าตัวแรกเช่นกันถ้าเปลี่ยนแท็ก <sup> ตัวก็จะยกสูงขึ้น แท็ก <sub> ตัวก็จะห้อยต่ำลง

ตัวอย่างการใช้งานลักษณะตัวอักษรแบบ Physical

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ผลลัพธ์ที่ได

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

การกำหนดลักษณะตัวอักษรแบบ Logical

               การกำหนดลักษณะตัวอักษรแบบ Logical นั้น เป็นการกำหนดรูปแบบตัวอักษรตามความหมายของข้อความนั้น

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

หมายเหตุ1

               แท็ก <bdo> จะมีแอททริบิวท์ชื่อ dir=”rtl” และค่าที่ใส่ก็จะมี “rtl” (right to left เขียนจากขวามาซ้าย) และ “ltr” (left to right เขียนจากซ้ายมาขวา) ปกติถ้าไม่กำหนดจะเป็น “ltr” อยู่แล้ว
ตัวอย่างเช่น <bdo dir=”rtl”>bi-directional algorithm</bdo>
ผลลัพธ์ จะเป็นคำว่า “mhtirogla lanoitcerid-ib

หมายเหตุ 2

               แท็ก abbr และ acronym จะมีการใช้เหมือนกัน คือ การกำหนดชื่อเต็มของคำย่อ เช่น <acronym title=“World Wide Web”>WWW</acronym> ผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเอาเมาส์ไปวางจะปรากฏชื่อเต็มขึ้นมา
ถึงแม้ทั้ง 2 แท็กจะใช้เหมือนกันแต่จะต้องเลือกใช้ตามกรณี คือ แท็ก abbr จะใช้สำหรับคำย่อของคำ หรือกลุ่มคำ เช่น กทม. คือ กรุงเทพมหานคร  ส่วน acronym จะเป็นคำย่อที่เกิดจากพยัญชนะของแต่ละคำมาต่อกัน เช่น WWW คือ World Wide Web, IOU คือ I love you เป็นการดีงอักษรของแต่ละคำมาสร้างคำย่อ
ที่จริงเราสามารถใช้แท็ก abbr และ acronym แทนกันได้ แต่ถ้าให้ควรเลือก acronym เพราะ abbr ไม่สามารถแสดงผลบราวเซอร์ IE

ตัวอย่างการใช้งานลักษณะตัวอักษรแบบ Logical

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ผลลัพธ์ที่ได

3. การปรับเปลี่ยนตัวอักษรด้วย <font size>  

               

การเปลี่ยนขนาดตัวอักษรเป็นการปรับเปลี่ยนหน้าเว็บเพจให้มีขนาดแตกต่างกัน โดยมีรูปแบบดังนี้

ชื่อแอตทริบิวต์                                size
รูปแบบในภาษา HTML                 <font size=“”>ข้อความ</font>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                          ขนาดตัวอักษร n ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 7

ตัวอย่างการใช้แท็ก <font size>

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical


ผลลัพธ์ที่ได

              จากผลลัพธ์จะเห็นว่า ตัวเลข 7 จะขนาดใหญ่สุด และตัวเลข 1 มีขนาดเล็กที่สุด และคำสั่ง font สามารถจะเพิ่มแอททริบิวท์
ต่างๆได้ เช่น face = รูปแบบตัวอักษร color=สีตัวอักษร

4. การกำหนดรูปแบบตัวอักษร <face>  

ชื่อแอตทริบิวต์                                face
รูปแบบในภาษา HTML                 <font face=“ชื่อฟอนต์”>ข้อความ</font>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                           ชื่อฟอนต์ที่ต้องการใช้งาน

ตัวอย่างการใช้แท็ก <font face>

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical


ผลลัพธ์ที่ได

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

หมายเหตุ

          หากเครื่องใดไม่มีฟอนต์ดังกล่าวจะทำให้การแสดงผลผิดพลาด ดังนั้นเราควรใช้ฟอนต์ที่มีในทุกเครื่อง หรือฟอนต์มาตรฐาน
ในกรณีที่เราไม่แน่ใจว่าเครื่องของผู้ใช้ที่เปิดดูเว็บเพจนั้น มีฟอนต์ที่เรากำหนดหรือไม่ เราสามารถระบุฟอนต์ไว้หลายชุดเพื่อใช้แทนกันได้ โดยใช้แท็กที่มีรูปแบบดังนี้

     รูปแบบแท็ก กรณีใส่ชื่อฟอนต์มากว่า 1 ฟอนต์       

                                                    <font face=”ชื่อฟอนต์1,ชื่อฟอนต์2,…..”>

เมื่อเบราเซอร์ที่เปิดหน้าเว็บนี้ไม่มีฟอนต์ตัวที่1 ก็จะไปใช้ฟอนต์ตัวที่2 และตัวต่อไปตามที่เรากำหนดไว้

5. คำสั่งเว้นวรรคข้อความ   

                 

แท็กคำสั่ง &nbsp; (Non Breaking Space) เป็นคำสั่งช่วยให้เว้นวรรคระหว่างข้อความ เพราะปกติบราวเซอร์
จะแสดงช่องว่างจากการเคาะ Space Bar เพียงช่องเดียว แม้นว่าผู้สร้างจะเคาะไปหลายครั้งก็ตาม &nbsp; นี้เป็นหนึ่งใน
จำนวนรหัส ใช้แทนอักษรพิเศษ ในภาษา HTML ซึ่งใช้ประโยชน์สำหรับแทนตัวอักษรที่มีความหมาย

ชื่อตัวอักษรพิเศษ            
รูปแบบการใช้               ในตำแหน่งที่ต้องการจะเว้นช่องว่าง

ตัวอย่างการใช้  

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ผลลัพธ์ที่ได

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

6. ตัวอักษรพิเศษ   

                   ตัวอักษรพิเศษ คือ ตัวอักษรที่ไม่มีบนแป้นพิมพ์จึงต้องใช้วิธีการเรียกใช้ โดยการใช้รหัสหรือโดยการเรียกโดยใช้ชื่อ

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

7. การตกแต่งสีสันเว็บเพจ

                

สีในคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการผสมค่าสีโหมด RGB ซึ่งประกอบด้วย สี 3 สี คือ Red(แดง) Green(เขียว)และ Blue(น้ำเงิน)   เราสามารถกำหนดค่าสีได้ 2 แบบ คือ

              1. ชื่อสี=color ระบุสีลงไปเลย เช่น AQUA, BULE, GRAY, LIME, NAVY, PURPLE, SILVER,WHITE (สีขาว), BLACK,
FUCHSIA, GREEN, MAROON, OLTVE, RED, TEAL, YELLOW

               2.ค่าสี=”#xxxxxx” ระบุเป็นเลขฐาน 16 (0-9 หรือ A-F โดย 0 มีค่าสีน้อยที่สุด และ F มีค่าสีมากที่สุด) ทั้งหมด 3 ชุด
1 ชุดแทนด้วยตัวอักษร 2 ตัว แสดงค่าของแม่สี แดง เขียว นํ้าเงิน (RGB) โดยการใส่ค่าสีในเว็บเพจจะต้องเขียนค่าสีตามหลัง
เครื่องหมาย # เช่น”#FFFFFF” จะให้ สีขาว ,”#000000 จะให้ สีดำ

                ในการระบุชื่อสีหรือค่าสีอาจจะเป็นเรื่องยากซักหน่อยสำหรับใครที่ยังไม่รู้จะใช้สีอะไร ดังนั้นเราอาจจะใช้วิธีหาชื่อสี
หรือรหัสบนหน้าเว็บไซต์ต่างๆ หรือทำการผสม สีผ่านโปรแกรมตกแต่งภาพอย่าง โปรแกรม Photoshop ได้ ดังนี้

                  1. ค้นหาชื่้อสีหรือรหัสสีบนหน้าเว็บไซต์ อาจใช้คำสืบค้น ว่า "ตารางสี html" คลิกดูตัวอย่างตารางสี
                   2. ทำการผสมสีผ่านโปรแกรม ตกแต่งภาพ เช่น โปรแกรม Adobe Photoshiop ดังภาพ

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

8. การกำหนดสีพื้นหลังและสีตัวอักษร

                  เราสามารถกำหนดสีพื้นหลังของหน้าเว็บเพจ และสีตัวอักษรได้ด้วยการกำหนดค่าสีให้กับแอททริบิวท์ bgcolor
(สีพื้นหลังเว็บเพจ) และ text (สีตัวอักษร) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้

ชื่อแอตทริบิวต์                                bgcolor (สีพื้นหลัง) และ Text (สีตัวอักษรทั้งเว็บเพจ)
รูปแบบในภาษา HTML                 <body bgcolor=“รหัสสี/ชื่อสี” Text=“รหัสสี/ชื่อสี”>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                           รหัสสีเลขฐาน 16 เช่น “#FFFFFF” หรือชื่อสีมาตรฐาน เช่น blue

 ตัวอย่างการการกำหนดสีพื้นหลังและสีตัวอักษร

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ผลลัพธ์ที่ได

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

9. การกำหนดสีตัวอักษรเฉพาะส่วน   

            นอกเหนือจากการกำหนดสีของตัวอักษรทั้งหน้าโดยการใช้แอททริบิวท์ text แล้ว ถ้าเราต้องการให้ข้อความภายในหน้าเว็บ
มีสีที่แตกต่างกันไป ให้เราใช้คำสั่งที่มีรูปแบบ ดังนี้

รูปแบบในภาษา HTML            <font color=“รหัสสี/ชื่อสี”>…</font>
ค่าที่กำหนดให้ใช้                     รหัสสีเลขฐาน 16 เช่น “#FFFFFFหรือชื่อสีมาตรฐาน เช่น blue

ตัวอย่างการการกำหนดสีตัวอักษรเฉพาะส่วน

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ผลลัพธ์ที่ได

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ

10. การกำหนดตัวอักษรวิ่ง <marquee>   

            เราสามารถกำหนดให้ข้อความเคลื่อนไหวบนหน้าเว็บเพจได้ โดยการใช้คำสั่ง marquee

ชื่อแท็ก                                        marquee
รูปแบบของแท็ก                       <marquee>ข้อความ</marquee>

  การกำหนดแอตทริบิวต์เพิ่มเติมให้กับแท็ก marquee

Behavior = กำหนดรูปแบบการวิ่ง มี 3 รูปแบบ ดังนี้

 
    scroll  คือ ให้ข้อความวิ่งจากขวามาซ้าย เมื่อถึงขอบซ้าย ก็ให้ข้อความวิ่งออกมาจากขวาใหม่                  (เป็นค่าปกติถ้าไม่มีการกำหนดอะไรจะได้แบบนี้)การกำหนดรูปแบบการวิ่งของข้อความ มี 3 รูปแบบ ดังนี้
    slide   คือ ให้ข้อความวิ่งจากขวามาซ้าย เมื่อถึงขอบซ้ายแล้วจะหยุดนิ่งไม่วิ่งไปไหนอีก
    alternate  คือ ให้ข้อความวิ่งจากขอบซ้ายมาขอบขวา เมื่อถึงขอบขวาก็ให้วิ่งกลับไปทางซ้าย วิ่งกลับไปกลับมา

direction = กำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ ดังนี้

 
    Left     ด้านซ้าย
    Right    ด้านขวา
    Up       ด้านบน
    Down   ด้านล่าง

width

กำหนดความกว้างของกรอบ marquee  กำหนดค่าแบบเจาะจง (pixel) หรือเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบจากบราวเซอร์

height

กำหนดความสูงของกรอบ marquee  กำหนดค่าแบบเจาะจง (pixel) หรือเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบจากบราวเซอร์

hspace

กำหนดระยะห่างของข้อความที่เคลื่อนไหวและกรอบทางด้านซ้ายและด้านขวา

vspace

 กำหนดระยะห่างของข้อความที่เคลื่อนไหวและกรอบทางด้านบนและด้านล่างloopกำหนดจำนวน
รอบการวิ่ง

scrollamount=n

กำหนดระยะเวลาในการขยับข้อความ (ยิ่งมาก ข้อความจะขยับไปไกลในแต่ละครั้ง)

scrolldelay=n

กำหนดเวลารอเป็นหน่วย Milliseconds (ยิ่งมาก ข้อความจะรอนานกว่าจะขยับแต่ละครั้ง)

bgcolor=”รหัสสี/ชื่อสี”

กำหนดสีพื้นหลังของกรอบอักษรวิ่ง กำหนดเป็นรหัสสีหรือชื่อสี เช่น bgcolor=“#FFCCCC”, bgcolor=“green”

onmouseOver=”this.stop()”

กำหนดให้เมื่อนำเมาส์มาชี้ให้หยุดวิ่ง

onmouseOut=”this.start()”

กำหนดให้เมื่อเอาเมาส์ออกจากกรอบอักษรวิ่งให้วิ่งต่อ หากต้องการให้เมื่อเอาเมาส์มาชี้แล้วให้วิ่ง เมื่อเอาเมาส์ออกให้หยุด ก็สามารถทำได้โดยสลับค่าระหว่าง “this.stop()” กับ “this.start()”

 ตัวอย่างการทำตัวอักษรวิ่ง

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical


 
 ผลลัพธ์ที่ได

ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกำหนดตัวอักษรแบบ physical

ลองทำดู : คลิก download ไฟล์ ดังภาพ
 
 .