ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

มาทำความเข้าใจระบบสี CMYK กันเถอะ

   ระบบสี CMYK คืออะไร แล้วงานประเภทไหนที่เราจะเลือกให้ Mode สี CMYK เราจะมาหาคำตอบกันในวันนี้ จะขออธิบายสั้น ๆ ได้ยืดยาวแบบสรุป

ระบบสี CMYK
   เป็นสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ CMYK ย่อมาจาก Cyan (ฟ้า) Magenta (แดงอมม่วง) Yellow (เหลือง) Key (สีดำ ไม่ได้ใช้ B Black นะ) ระบบสี CMYK นั้นเหมาะสำหรับงานพิมพ์ เช่น หนังสือ โปรเตอร์ แผ่นพับ หรืองานไวนิลทั่วไป เอาง่าย ๆ ว่า งานที่อย่างที่ต้องพิมพ์ออกมาเราจะใช้ระบบสีเป็น CMYK

   CMYK เป็นการพิมพ์โดยการนำสีทั้ง 4 สี มารวมกันแล้วเกินภาพต้นฉบับที่เราต้องการ ระบบการพิมพ์ 4 สีเป็นระบบที่นิยมใช้กันมากโดยทั่วไป ทั้ง งานโปรเตอร์ แผ่นพับ หรืองานไวนิล แต่งานหนังสือบางครั้งก็จะพิมพ์ 4 สี แค่ปกหนังสือเนื้อในั้น จะพิมพ์เพียงแค่สีดำ หรือ พิมพ์ 2 สีเป็นอีก 1 สีที่ผสมระหว่าง K+กับอีก 1 สี (CMY) นั้นเอง

   การกำหนดค่าสีในงานที่จะทำการส่งโรงพิมพ์ เราจะเรื่องจากค่าสี CMKY เท่านั้น เพราะถ้าเราเลือกค่าจาก RGB ที่เป็น #CCC สีที่ออกมานั้นจะผิดเพียนไปจากหน้าจอที่เราเห็น เราจึงต้องกำหนดแบบ CMYK เช่น C = 100 M = 0 Y = 100 K = 0 เราก็จะได้ค่าสีที่แน่นอนสำหรับงานพิมพ์

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

สีของงานเมื่อพิมพ์ออกมาจะได้ค่าสีตามที่เราต้องการ
   หากเมื่อใดที่เราต้องการสร้างไฟล์งานสิ่งพิมพ์ เพื่อส่งโรงพิมพ์ เราต้องมั่นใจว่าไฟล์งานของเรา เป็นไฟล์งานที่ใช้งาน mode CMYK ซึ่งโปรแกรมที่นักออกแบบงานนิยมใช้กันมากก็คือ Adobe Photoshop Adobe Illustrator หรือ Adobe InDesign

By admin T | 20/10/2021 | บทความ

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

ปัจจุบันการออกแบบผลงานออกมาในแต่ละชิ้นนั้นจะต้องมีองค์ประกอบหลายๆ ปัจจัยเข้ามาช่วยส่งเสริมให้ชิ้นงานสมบูรณ์แบบมากที่สุด และในส่วนของอุตสาหกรรมธุรกิจการพิมพ์ เรื่องของการออกแบบยิ่งมีส่วนสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนใหญ่นั้นถูกใช้เพื่อเป็นการโฆษณา โปรโมท ประชาสัมพันธ์เป็นหลัก ดังนั้นสิ่งพิมพ์แต่ละชนิดต้องได้รับการออกแบบ ดีไซน์ให้มีความสวยงาม เพื่อนำออกไปสู่สายตาผ่านนอกได้อย่างมีสมบูรณ์แบบมากที่สุด 

สำหรับสื่อสิ่งพิมพ์แล้วนอกจากการออกแบบ ดีไซน์ที่ต้องออกมาดี เรื่องของสีก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญอย่างมาก  เนื่องจากสีที่ใช้ในวงการของสิ่งพิมพ์นั้นจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ CMYK และRGB ซึ่งระบบของโหมดสีทั้งสองแบบนี้จะมีลักษณะการใช้งานคล้ายๆกัน แต่จะไม่สามารถนำเอาไปใช้งานได้เหมือนกัน เพราะระบบทั้งสองแบบนี้จะมีการแสดงผลที่ต่างกันอย่างชัดเจน และสำหรับนักออกแบบก็จะมีโทนสีของ Pantone ที่มาเป็นตัวช่วย และแยกแยะลักษณะของสีเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบได้สะดวกสบายมากขึ้น และวันนี้ Thaiprintshop ของเราจะมาเปรียบเทียบข้อแตกต่าง ระหว่าง CMYK และRGB รวมถึงสี Pantone กันว่าจะมีลักษณะอย่างไรบ้าง

โหมดสี CMYK / RGB คืออะไรและสี Pantone มีความสำคัญอย่างไรกับงานพิมพ์

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

CMYK Mode

ก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจกับคำว่า “CMYK” สำหรับตัวอักษรทั้งสี่นี้ย่อมาจากสีหลักที่ใช้ในการพิมพ์(ตามตัวอักษรด้านล่าง) ซึ่งในชุดนี้จะสามารถกำจัดค่าสีที่ตาของเราไม่สามารถแยกออกให้แสดงผลออกมาได้ใกล้เคียงกับสิ่งที่ออกแบบ และแน่นอนการใช้สีระบบนี้ส่วนใหญ่จะถูกนำไปใช้งาน โดยส่วนมากแล้วจะถูกนำไปใช้กับสิ่งพิมพ์ได้หลายประเภท อาทิเช่น ป้ายไวนิล โปสเตอร์ บิลบอร์ด และงานพิมพ์ที่เหมาะกับระบบสีประเภทนี้คือ แบบ Offset ,Digital และInkjet และในส่วนสำคัญคือโปรแกรมที่นำมาใช้ในการออกแบบ จะต้องตั้งค่าให้เป็นระบบ CMYK เท่านั้นโปรแกรมที่นิยมใช้ออกแบบจะมี Adobe Illustrator ,Adobe Photoshop ,Adobe Indesign ที่นักออกแบบส่วนใหญ่ใช้เพื่อสร้างสรรค์ผลงานออกมา แต่จะต้องเข้าไปตั้งค่าในโปรแกรมก่อนที่จะเริ่มออกแบบด้วยนะ

– C (Cyen = สีฟ้า) 
– M (Magenta = ม่วง) 
– Y (Yellow = เหลือง) 
– K (Key = ดำ) 

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

RGB Mode

“RGB” คือระบบของสีที่มีการหักเหของแสงจนเกิดเป็นสีรุ้งขึ้นมาให้เราสามารถเห็นได้ถึง 7 เฉดสีที่เราเห็นได้จากท้องฟ้าหลังฝนตก หรือน้ำที่เป็นละอองแล้วไปกระทบกับแสงอาทิตย์ ซึ่งสีเหล่านี้เกิดขึ้นมาจากแม่สีทั้ง 3 คือ สีแดง สีน้ำเงิน และสีเขียว โดยทั้งสามสีนี้ยังสามารถผสมออกมาให้เป็นสีหลักได้อีกถึงสามสี อย่าง สีเหลือง สีน้ำเงิน และสีแดง แต่สำหรับสีในระบบ RGB จะไม่เหมาะกับการนำไปใช้ในงานออกแบบเพราะความละเอียดของเม็ดสีจะมีไม่เท่ากับ CMYK ซึ่งในส่วนของระบบสี RGB จะนิยมนำมาใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อย่าง โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ กล้องดิจิทัล หรือหน้าจอแสดงผลต่างๆ  

แม่สีทั้ง 3 ของ RGB
– R (Red = แดง)
– G (Green = เขียว)
– B (Blue = น้ำเงิน)

การผสมของสีทั้ง 3 
– R+G = Y (Yellow = สีเหลือง)
– G+B = C (Cyan = สีน้ำเงิน)
– R+B = M (Magenta = สีแดงอมชมพู)

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

ความแตกต่างระหว่างระบบสี CMYK และ RGB

หากจะอธิบายให้เข้าใจง่ายๆ คือ ระบบสีแบบ CMYK เป็นระบบที่ใช้สำหรับงานออกแบบ งานกราฟิกที่แสดงผลผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ และใช้สำหรับในระบบสีของงานพิมพ์เพื่อรองรับความละเอียดของสีที่พิมพ์ออกมาในแต่ละครั้งให้ได้ความชัดเจนมากที่สุด ส่วนระบบสี RGB จะเป็นระบบที่ใช้สำหรับแสดงผลในเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก อย่าง ทีวี โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต หน้าจอต่างๆ 

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

PENTONE คืออะไร

“PENTONE” คือหนึ่งในการแยกเฉดสีที่เป็นระบบ มีมาตรฐาน ที่มีความแม่นยำมากที่สุด และถูกนำไปใช้โดยนักออกแบบในหลายอาชีพ ทั้ง งานกราฟิก สถาปนิก หรืออาชีพที่ต้องสีเป็นส่วนหนึ่งในงาน ซึ่ง PENTONE ถูกสร้างขึ้นมาในประเทศสหรัฐอเมริกา และต่อมาก็ได้รับความนิยมไปทั่วโลก ด้วยความเที่ยงตรงของเฉดสี และมีสเปคให้เลือกมากกว่าร้อยสีเลยทีเดียว  นั้นจึงทำให้ PENTONE เป็นที่ยอมรับในวงกว้างสำหรับอาชีพที่ต้องใช้เฉดสีในการทำงานนั่นเอง

การตั้งค่าโหมดสี CMYK สำหรับงานพิมพ์ต่างๆ

การพิมพ์ในระบบดิจิตอลออฟเซ็ตนั้นไฟล์งานควรอยู่ในโหมด CMYK เพราะถ้าไม่อย่างนั้นจะทำให้สีที่ออกมานั้นเพี้ยนไปจากหน้าจอคอมนั่นเองค่ะ ซึ่งโปรแกรมในกลุ่ม Adobe ก็สามารถเลือกเปลี่ยนโหมดสีได้อย่างง่าย

โปรแกรม Illustrator

วิธีตั้งค่าให้เป็น โหมด CMYK โดยเริ่มจากเข้าเมนู File >> New >> Color Mode >> CMYK Color

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

หรือ ตั้งค่าอีกแบบได้ที่ เมนู File >> Document Color Mode >> CMYK Color

ระบบสีใดที่เป็นระบบสีมาตรฐานเหมาะกับงานพิมพ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ

โมเดล CMYK เหมาะสำหรับงานกราฟิกที่แสดงผลที่ใด

ซึ่งหากนำไปใช้ในงานออกแบบ ควรตั้งประเภทของหมวดสีให้ถูกต้องดังนี้ RGB เหมาะสำหรับงาน ออกแบบเว็บไซต์, ทำสื่อ Presentation, ออกแบบ Animation เป็นต้น CMYK เหมาะสำหรับงาน สื่อสิ่งพิมพ์ทุกชนิด เช่น Brochure, แผ่นพับ เป็นต้น

โหมดสีใด ใช้สำหรับงานกราฟิกที่แสดงผ่านหน้าจอ

หลายคนคงจะรู้จักกับ CMYK (สีฟ้า สีม่วงแดงเข้ม สีเหลือง สีดำ) และ RGB (สีแดง สีเขียว สีฟ้า) กันอยู่แล้วว่าเป็นแม่สีที่จะนำไปใช้กับสื่อที่แสดงสีบนหน้าจอภาพที่มีด้วยกันอย่างหลากหลายรูปแบบ เช่น คอมพิวเตอร์ มือถือ โทรทัศน์เป็นต้น ○ RGB เป็นสีที่ใช้ในการแสดงบนรูปภาพ และ บนหน้าจอแสดงสี

งานกราฟฟิคถูกสร้างขึ้นมาเพื่ออะไร

กราฟิกช่วยให้จดจำได้มากขึ้น การเริ่มต้นรับรู้ของเด็กวัยแรกเกิด มักจะเรียนรู้โดยเริ่มจากการจดจำรูปภาพ หรือสีสัน เหตุผลเดียวกันนี้จึงส่งผลให้มนุษย์ มักจะจดจำภาพได้ดีกว่าข้อความหรือตัวหนังสือ การสื่อด้วยภาพหรือกราฟิกต่างๆ จึงมีความสำคัญมาก ดังนั้นกราฟิกจึงพัฒนาเพื่อตอบสนองการรับรู้และความคิดของมนุษย์ กราฟิกเข้าใจง่าย

ไฟล์นามสกุลใดที่ใช้สร้างเป็นภาพเคลื่อนไหว

GIF มาจาก Graphics Interlace File.
ภาพที่ไม่ต้องการความคมชัดมากนัก จำนวนสีและความละเอียดของภาพไม่สูงมากนัก.
ต้องการพื้นแบบโปร่งใส.
ต้องการแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยแสดงผลแบบละเอียด.
ต้องการนำเสนอภาพแบบภาพเคลื่อนไหว.
ส่วนขยายคือ . gif..