คณะวิศวะปิโตรเลี่ยม มีที่ไหนบ้าง

วิศวกรรมศาสตร์ หรือมีชื่อภาษาอังกฤษว่า Engineering เป็นหนึ่งในสาขา สะเต็มศึกษา หรือ STEM Education ที่ประกอบด้วย Science Technology Engineering and Mathematics ซึ่งเป็นแนวทางการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเชื่อมโยงและแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

10 สาขาวิศวกรรม ที่มีความโดดเด่นในศตวรรษที่ 21

ดังนั้น การเรียนรู้แบบ STEM Education ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นการต่ยอดหลักสูตรการเรียนการสอนให้มีความทันสมัยต่อการเรียนรู้ในยุคปัจจุบันให้มากยิ่งขึ้น โดยเป็นการบูรณาการเอาควาารู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มาพัฒนาให้สามารถเอามาใช้งานได้จริงในการทำงาน และยังเป็นการเสริมสร้างประสบการณ์ ทักษะชีวิต ความคิดสร้างสรรค์ที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ อีกด้วย

คณะวิศวะปิโตรเลี่ยม มีที่ไหนบ้าง

พร้อมทั้งนี้ การเรียนรู้แบบ STEM Education ยังไม่ได้นำความรู้เพียงแค่ 4 ด้านมาประยุกต์ใช้ในการทำงานจริงเท่านั้น แต่ยังสามารถนำความรู้ด้านอื่น ๆ เช่น ศิลปะ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ พลศึกษา สุขศึกษา สังคมศึกษาและวัฒธรรม มาบูรณาการร่วมกันได้ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

และในบทความนี้ แคมปัส-สตาร์ ก็ได้รวบรวมสาขาด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความน่าสนใจ เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน และอัตราเงินเดือนที่จะได้รับในแต่ละสาขาด้านวิศวะมาฝากกันด้วย ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย…

** ทั้งนี้อัตราเงินอาจจะมีความแตกต่างไม่เท่ากัน เนื่องจากอาจจะขึ้นอยู่กับแต่ละองค์กร ประสบการณ์ทำงาน และอื่น ๆ ดังนั้นน้อง ๆ ที่เป็นนักศึกษาจบใหม่หรือใครที่กำลังหางาน ย้ายงาน อยู่นั้น ควรจะศึกษารายละเอียดขององค์กรและตำแหน่งให้ดีเสียก่อน ตัดสินใจด้วยนะคะ

คณะวิศวะปิโตรเลี่ยม มีที่ไหนบ้าง

1. วิศวกรซอฟต์แวร์

วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software engineering) ใช้ความรู้พื้นฐานด้านวิศกรรมคอมพิวเตอร์เป็นหลัก และยังรวมถึงการดึงเอาวิชาด้านวิศวกรรมไฟฟ้าบางตัวมาใช้ในการทำงานด้วย โดยสาขานี้จะเรียนเกี่ยวกับการพัฒนาซอฟต์แวร์ เริ่มตั้งแต่กระบวนการวิเคราะห์ระบบ ออกแบบ ไปจนถึงขั้นตอนการทดสอบ และยังจะต้องเรียนรู้ด้านการพัฒนาฮาร์แวร์ควบคู่กับการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย เพื่อให้ได้ระบบงานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด

อัตราเงินเดือน : 20,000 – 40,000 บาท

2. วิศวกรระบบราง

วิศวกรระบบราง (Railway systems engineering) จะเรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบ ก่อสร้าง ซ่อมบำรุง และเรียนรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านรถไฟทั้งหมด รววมไปถึงด้านโลจิสติกส์ และการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ อีกด้วย เมื่อน้อง ๆ เรียนจบแล้วสามารถเข้าทำงานได้ทั้งหน่วยงานเอกชนและภาครัฐ

อัตราเงินเดือน : 18,000 – 25,000 บาท

อ่านเพิ่มเติม : วิศวกรรมระบบราง อีกหนึ่งสาขามาแรง ที่กำลังเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน

3. วิศวกรโทรคมนาคม / วิศวกรระบบดาวเทียม

วิศวกรโทรคมนาคม / วิศวกรระบบดาวเทียม (Telecommunications engineering) จะเรียนรู้ทุกอย่างที่มีความเกี่ยวกับการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสัญญาณ การส่ง การรับข้อมูล การวิเคราะสัญญาณต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมในภาษาต่าง ๆ และเรียนรู้เรื่องวงจรจรอิเล็กทรอนิกส์ อีกด้วย เมื่อเรียนจบไปแล้วลักษณะงานที่น้อง ๆ จะเจอก็คือ งานด้านการควบคุมการสื่อสาร งานติดตั้งและการซ่อมบำรุงระบบ เพื่อให้ระบบสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อัตราเงินเดือน : 18,000 – 20,000 บาท

คณะวิศวะปิโตรเลี่ยม มีที่ไหนบ้าง

4. วิศวกรไฟฟ้า

วิศวกรไฟฟ้า (Electrical engineering) จะเน้นเรียนเกี่ยวกับการออกแบบและการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า การรับส่งข้อมูลในรูปสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การควบคุมระบบอัตโนมัติ และเทคโนโลยีสารกึ่งตัวนำทั้งในระดับขนาดไมโครเมตรและนาโนเมตร และยังเรียนเกี่ยวกับวิธีการแปรผันพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานสะอาดให้นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นต้น เมื่อเรียนจบแล้วสามารถเข้าทำงานได้ในโรงงานภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ หรือโรงงานผลิตไฟฟ้า ฯลฯ

อัตราเงินเดือน : 25,000 – 35,000 บาท

อ่านเพิ่มเติม : วิศวกรรมไฟฟ้า สาขาน่าเรียน สำหรับน้อง ๆ ที่มีความฝันอยากจะเป็น วิศวกร

5. วิศวกรปิโตรเลียม

วิศวกรปิโตรเลียม (Petroleum engineering) เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรณีวิทยาของแหล่งปิโตรเลียม วิธีการเจาะ คำนวณการไหลของปิโตรเลียมในท่อผลิตและท่อส่ง และยังจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติต่าง ๆ ของปิโตเลียมทั้งหมด การนำทรัพยากรปิโตเลียมขึ้นมาจากใต้ดิน ไปจนถึงกระบวนการผลิตและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่ามากที่สุด เมื่อน้อง ๆ เรียนรู้จบแล้วสามารถเลือกได้ว่าจะทำงานที่โรงกลั่นหรือที่แท่นขุดเจาะน้ำมัน

อัตราเงินเดือน : 25,000 – 35,000 บาท (ถ้าต้องเดินทางไปทำงานนอกสถานที่จะมีเงินพิเศษด้วย)

6. วิศวกรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ

วิศวกรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and automation engineering) เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า เครื่องกล และคอมพิวเตอร์มาทำงานร่วมกัน โดยจะเริ่มเรียนตั้งแต่พื้นฐานการคิดวิเคราะห์ ออกแบบ เขียนโปรแกรม และสร้างผลงานออกมาให้สามารถใช้งานได้จริง เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของการทำงานในยุคปัจจุบันที่ได้มีการนำระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์เข้าใช้งานมากขึ้นในแต่ละภาคอุตสาหกรรม

อัตราเงินเดือน : 30,000 – 45,000 บาท

คณะวิศวะปิโตรเลี่ยม มีที่ไหนบ้าง

7.  วิศวกรการบิน / วิศวกรเครื่องกล (อากาศยาน)

วิศวกรการบิน / วิศวกรเครื่องกล (อากาศยาน) (Aerospace engineering) เรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบ วิเคราะห์โครงสร้างรูปร่างทางพลศาสตร์ เครื่องยนต์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการบินทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นระบบการขับเคลื่อน วัสดุและวิธีการผลิต การวางแผนและการควบคุมการสร้างเครื่องบิน และยังรวมถึงการทดสอบหรือการซ่อมบำรุงด้วย งานส่วนใหญ่ของสาขานี้ เช่น การซ่อมบำรุงอากาศยาน การผลิตเครื่องบินเล็กเพื่อใช้ในงานสื่อสารและการสำรวจทัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น

อัตราเงินเดือน : 17,000 – 20,000 บาท

อ่านเพิ่มเติม : สาขาน่าเรียน วิศวกรรมการบินและอวกาศ เรียนจบแล้วทำงานอะไรได้บ้าง

8. วิศวกรชีวการแพทย์

วิศวกรชีวการแพทย์ (Biomedical engineering) เป็นการนำความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้งานร่วมกัน เช่น ความรู้ด้านกลศาสตร์ของไหล ความรู้ทางด้านการแพทย์ และความรู้ด้านวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ ฯลฯ เพื่อนำมาออกแบบ สร้าง หรือพัฒนาซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่มีมาตรฐาน เช่น การทำหัวในเทียม หรือหลอดเลือดทียม เป็นต้น น้อง ๆ สามารถเลือกทำงานได้ทั้งในโรงพยาบาลหรือบริษัทที่มีความเกี่ยวข้องด้านการแพทย์

อัตราเงินเดือน : 20,000 – 35,000 บาท

คณะวิศวะปิโตรเลี่ยม มีที่ไหนบ้าง

9. วิศวกรเสียง

วิศวกรเสียง (Sound engineering) เป็นการประยุต์ใช้ความรู้ด้านวิศกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ สื่อสาร และไอที มาทำงานร่วมกับดนตรี กราฟิก และแอนิเมชัน อาชีพสำหรับคนที่จบสาขาด้านนี้ เช่น Sound engineer หรือ Light and sound control ฯลฯ ซึ่งสามารถเข้าทำงานได้ในบริษัทภาคอุตสาหกรรมดนตรีต่าง ๆ

อัตราเงินเดือน : 18,000 – 35,000 บาท

10. วิศวกรเคมี

วิศวกรเคมี (Chemical Engineer) เรียนรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติทางกายภาพ การออกแบบอุปกรณ์ และการควบคุมกระบวนการทำงานทางเคมี ชีวเคมี รวมถึงเรียนรู้หลักการของกระบวนการผลิตเคมีในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ควบคู่กับหลักเศรษฐศาสตร์ไปพร้อม ๆ กันด้วย

เมื่อเรียนจบแล้วสามารถทำงานได้อย่างหลากหลายตำแหน่ง เช่น วิศวกรการผลิต มีหน้าที่ในการควบคุม ดูแล แก้ไข กระบวนการผลิตต่าง ๆ ทางด้านเคมี ปิโตรเคมี, วิศวกรโครงการ มีหน้าที่กำกับดูแลงานโครงการต่าง ๆ ของโรงงานการผลิต, นักวิจัยด้านเคมี และวิศวกรออกแบบและพัฒนากระบวนการผลิต เป็นต้น

วิศวะปิโตรเลี่ยม ทํางานที่ไหน

เป็นวิศวกรปิโตรเลียมให้กับ หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี, กรมพลังงานทหาร, อาจารย์มหาวิทยาลัย หรือบริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต, Thai Shell, Unocal, Chevron และบริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ Schlumberger, Halliburton, Baker Hugh, BJ Service, ...

วิศวะปิโตรเลี่ยม เรียนกี่ปี

คะแนนที่ใช้ GPAX ONET GAT PAT2 PAT3. (ตรวจสอบจากข้อมูลอัพเดตล่าสุดในแต่ละรอบอีกครั้ง) ระยะเวลาหลักสูตร 4 ปี ค่าเทอม 120,000 / ภาคการศึกษา

วิศวกรรมเหมืองแร่ มีที่ไหนบ้าง

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรด้านวิศวกรรมเหมืองแร่ในประเทศไทย.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

วิศวะปิโตรเลี่ยมทำอะไรบ้าง

วิศวกรปิโตรเลียม คือวิศวกรผู้ทำงานเกี่ยวกับการเจาะและการผลิตน้ำมันหรือก๊าชธรรมชาติขึ้นมาจากแหล่งกักเก็บใต้ผิวดิน ลักษณะงานมีทั้งภาคออกแบบ ศึกษา วางแผน และภาคสนาม