ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

สังเกตไหมครับว่าเวลาเราจะสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการ เพื่อนำมาขายในตลาดจำเป็นต้องมีการศึกษาวิจัย และยังต้องมานั่งคิดวิเคราะห์ ตั้งแต่กระบวนการรออกแบบไปจนถึงศึกษาความต้องการของผู้บริโภค และยังต้องมานั่งกลุ้มใจกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นที่ไม่สามารถหาคำตอบได้ และอาจใช้เวลานานค่าใช้จ่ายสูง จนบางครั้งทำให้กว่าจะได้เริ่มขายผลิตภัณฑ์หรือบริการได้นั้น ก็โดนคู่แข่งแย่งชิงโอกาสไปซะงั้น กระบวนการทำ Design Thinking เลยเกิดขึ้นมาเพื่อย่นระยะเวลาและทำให้การแก้ไขปัญหาต่างๆที่ซับซ้อนให้ได้รับการแก้ไขในระยะเวลาอันรวดเร็วที่เหมาะกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน ที่ไม่ได้เหมาะกับแค่เพียงบริษัทของคุณ แต่ยังรวมไปถึงสิ่งต่างๆที่อยู่รอบๆตัวคุณครับ

กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) คือ กระบวนการคิดที่เข้าใจปัญหาที่สลับซับซ้อนต่างๆอย่างลึกซึ้ง ที่ยึดคนหรือมนุษย์ (Human Centered) เป็นหลักสำคัญที่ผ่านการระดมสมองจากหลายๆคน ที่อยู่ในหลากหลายสายงาน และนำความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นมาปรับใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์หรือบริการ ให้ตอบโจทย์ผู้ใช้งานในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นโมเดลที่เกิดจากศาสตราจารย์ Hasso-Plattner แห่งสถาบันการออกแบบใน Stanford (d.school) ครับ

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ขั้นที่ 1 เอาใจใส่ (Empathise)

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ยึดความต้องการของมนุษย์เป็นหลัก

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

อันดับแรกเลยคือการเอาใจใส่ ซึ่งก็คือการใช้เวลาทำความเข้าใจกับปัญหาที่คุณกำลังพยายามแก้ไข จากทั้งการถาม การสังเกต การติดตาม บุคคลหรือกลุ่มคนที่มีความเชี่ยวชาญหรือผู้รู้ในสาขานั้นๆ เพื่อให้รู้ถึงประสบการณ์หรือมูลเหตุจูงใจของกลุ่มเหล่านั้น โดยความเอาใจใส่จะช่วยให้คุณสามารถทำ Design Thinking บนพื้นฐานของการยึดคนหรือเป็นศูนย์กลาง (Human Centered) หรือก็คือการหาความต้องการที่แท้จริงที่เราเรียกว่า Insight เพื่อมาเติมเต็มความต้องการของผู้ใช้งานนั่นเองครับ

ขั้นที่ 2 ระบุปัญหา (Define)

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ระบุปัญหาด้วยการเอามนุษย์เป็นศูนย์กลาง

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ถัดมาคือการระบุปัญหาจากข้อมูลที่คุณได้ในขั้นตอนแรก ซึ่งเป็นการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อหาปัญหาหลักๆที่แท้จริง ที่ยึดคนหรือมนุษย์เป็นศูนย์กลาง (Human Centered) เช่น จากเดิมคุณมีปัญหาในเรื่องการสร้างยอดขายในกลุ่มเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่ง คุณเลยต้องการเพิ่มยอดขายให้ได้ตามเป้า ลองเปลี่ยนมาเป็นกลุ่มเป้าหมายต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของธรรมชาติเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งมันจะนำไปสู่การตั้งคำถามว่า “เราควรจะทำอย่างไรต่อไปกับสินค้าและบริการ” เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจมากยิ่งขึ้น

ขั้นที่ 3 นำไอเดียมาสร้างสรรค์ (Ideate)

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

คิดไอเดียให้หลากหลายที่สุด

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ขั้นที่สามเป็นขั้นที่นักออกแบบจะเริ่มสร้างสรรค์ไอเดียต่างๆ จากที่คุณได้ทำความเข้าใจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและปัญหาต่างๆตั้งแต่ขั้นแรก ซึ่งการใส่ไอเดียในการออกแบบนั้นคุณสามารถคิดนอกกรอบได้ เพื่อหาหาวิธีแก้ไขปัญหาด้วยการระดมสมอง การแชร์ไอเดีย การแลกเปลี่ยนความเห็นทั้งข้อดีข้อเสียและหาทางออกที่ดีที่สุดสำหรับแก้ไขปัญหา ในขั้นนี้คุณจะเห็นมุมมองของปัญหาได้หลายรูปแบบและจะเห็นวิธีทางในการแก้ไขปัญหาได้หลายรูปแบบเช่นกัน

ขั้นที่ 4 สร้างต้นแบบ (Prototype)

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

นำแนวทางปฏิบัติจริงมาใช้ในการสร้างต้นแบบ

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ได้เวลาที่ทีมออกแบบในการสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ราคาไม่สูงนัก ด้วยการย่อขนาดลดคุณสมบัติหรือฟังก์ชันการใช้งานบางอย่างลง เพื่อนำมาตรวจสอบในการหาวิธีแก้ปัญหา โดยนำต้นแบบนี้ไปลองทดสอบกับทีมออกแบบเอง หรืออาจเป็นทีมอื่นๆในบริษัทก็ได้ ในขั้นนี้จะช่วยให้คุณหาวิธีหรือทางออกในการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด ให้ตรงกับปัญหาในแต่ละด้านที่คุณเจอ จนได้ไอเดียที่ดีที่สุดในการทำให้ลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมายได้รับประสบการณ์ที่ดีกับตัวสินค้าหรือบริการ

ขั้นที่ 5 ทดสอบ (Test)

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

พัฒนาต้นแบบที่แก้ปัญหาได้จริง

ขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการคิดเชิงออกแบบคือข้อใด

สุดท้ายคือการทดสอบครับ โดยนำสิ่งที่นักออกแบบที่ได้ทำการทดสอบวิธีในการแก้ไขปัญหาจากขั้นของการสร้างต้นแบบ มาทำเป็นต้นแบบที่สมบูรณ์เพื่อทดสอบอีกครั้ง

Design Thinking นั้นก็มีความยืดหยุ่นในตัวของมันเองที่ไม่จำเป็นต้องเริ่มจากขั้นที่หนึ่งเสมอไป สามารถคิดในขั้นตอนต่างๆไปพร้อมกันได้ครับ ยังไงก็ลองนำไปใช้ดูนะครับเพราะมันช่วยในการคิดค้นการทำสินค้าหรือบริการใหม่ๆ รวมไปถึงการปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นครับ