คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

ส่วนประกอบและเครื่องมือของ Dreamweaver

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
     เมื่อเรียกโปรแกรม Dreamweaver ขึ้นมาก็จะพบหน้าต่างของโปรแกรมพร้อมกับเครื่องมือต่างๆที่จะนำมาใช้ในการสร้างและออก แบบโฮมเพจตามสไตล์คุณซึ่งก่อนที่คุณจะลงมือใช้งานโปรแกรมคุณต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือหลักบนหน้าจอของโปรแกรมมาก่อน
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
     เมื่อเรียกโปรแกรม Dreamweaver ขึ้นมาคุณก็จะพบหน้าต่างของโปรแกรมพร้อมกับเครื่องมือต่างๆที่จะนำมาใช้ในการสร้างและออก แบบโฮมเพจตามสไตล์คุณซึ่งก่อนที่คุณจะลงมือใช้งานโปรแกรมคุณต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือหลักบนหน้าจอของโปรแกรมมาก่อน เพื่อเป็นพื้นฐานในการใช้งานดังรูป
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

Tite bar

แสดงชื่อโปรแกรม Dreamweaver และเปลี่ยนชื่อเว็บเพจที่เรียกใช้อยู่

Menu bar

เป็นคำสั่งในการใช้งานของโปรแกรม Launcher เป็นวินโดว์ที่บรรจุคำสั่งต่างๆ ที่ใช้งานบ่อยๆ

Web Page

ใช้สำหรับสร้างเนื้อหาของโฮมเพจหรือเว็บเพจโดยการนำข้อความหรือออบเจ็กต์ต่างๆมาใส่เช่นรูปภาพ กราฟิก มัลติมิเดีย ตาราง

Object Palette

เป็นวินโดว์ที่บรรจุคำสั่งต่างๆ ที่ใช้งานอยู่เรื่อยในส่วนของการทำงานบนเว็บเพจ

Properties Windows

เป็นวินโดว์ที่ใช้สำหรับจัดรูปแบบข้อความบนหน้าเว็บเพจและการสร้างลิงก์เชื่อมโยงไปยังตำแหน่งต่างๆหรือหน้าเว็บอื่นๆ

Status bar

เป็นบริเวณแสดงข้อมูลของเอกสารเว็บเพจ เช่น แสดงขนาดของเอกสารหรือขนาดของหน้าจอที่ใช้สำหรับสร้างเว็บเพจ เป็นต้น

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

Objeact (Objeact Palette)

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
ไดอะล็อก Objects เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างองค์ประกอบต่างๆ เรียกว่าออบเจ็กต์ โดยกลุ่มเครื่องมือเหล่านี้จะรวบรวมออบเจ็กต์ที่มีลักษณะรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกันซึ่งเก็บไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อสำหรับการเพิ่มองค์ประกอบหรือโค้ด HTML ลงในหน้าโฮมเพจพร้อมกับการนำมาตกแต่งเพิ่มความสามารถและสนับสนุนการใช้งานที่ประกอบกันเป็นโฮมเพจ คุณสามารถที่จะเรียกใช้คำสั่งเหล่านี้ได้โดยการคลิกเม้าส์ที่รูปไอคอนบนไดอะล็อกหรืออาจคลิกที่เมนู Insert แล้วเลือกคำสั่งได้ตามต้องการที่คุณจะใช้งาน
      คำสั่งหรือเครื่องมือต่างๆ ที่อยู่บนไดอะล็อกเหล่านี้มี่ 6 กลุ่มด้วยกันแต่สำหรับเวอร์ชัน 4.0 จะมี 7 กลุ่ม และคุณสามารถที่จะเปลี่ยนไดอะล็อกได้โดยการคลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมเล็กๆที่มุมขวาด้านบนของไดอะล็อกแล้วเลือกเครื่องมือได้จากเมนูที่ปรากฎ ดังรูป
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

Characters

เป็นกลุ่มออบเจ็กต์ใช้สำหรับแทรกตัวอักษรและสัญญาลักษณ์พิเศษต่างๆ

Common

เป็นส่วนที่รวบรวมออบเจ็กต์ต่างๆ เรียกใช้งานบ่อยได้แก่ การแทรกภาพ การแทรกตาราง เป็นต้น

Forms

แทรกออบเจ็กต์ที่ใช้ในการแทรกฟอร์มสอบถามและตัวอักษรต่างๆ

Frames

ใช้สำหรับแบ่งพื้นที่ในการแสดงผลของหน้าเว็บเพจใช้ออกเป็นส่วนย่อย

Head

เป็นการแทรกคำสั่ง HTML เสริมในหาเว็บเพจที่สร้างไม่ว่าจะเป็นการบรรยายโฮมเพิ่ม คีย์เวิร์ด เป็นต้น

Invisibles

เป็นการแทรกส่วนที่เราไม่สามารถเห็นลงไปในเว็บ เช่น การเว้นวรรคระหว่างคำด้วย Space bar และกำหนดตำแหน่งที่จะเชื่อมโยงโดยโดยใช้ Anchor เป็นต้น

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

Properties

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
      เป็นส่วนที่ใช้งานบ่อยมากทั้งนี้เพราะว่าไดอะล็อก Properties เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการกำหนดคุณสมบัติต่างๆขององค์ประกอบทุกอย่างในโฮมเพจไม่ว่าจะเป็น รูปภาพตัวอักษร ตาราง ภาษาสคริปต์ ฟอร์ม ขนาดลิงก์ การจัดเรียงตำแหน่งบนหน้าจอ ซึ่งคุณสมบัติต่างๆไดอะล็อกสามารถที่จะเปลียนหน้าตาไปตามสถานการณ์ให้ สอดคล้องกับการทำงานที่กำลังสร้างหรือออกแบบซึ่งจะแสดงเฉพาะค่ากำหนดต่างๆที่เกี่ยวกับออบเจ็กต์ที่เลือกใช้งานอยู่ในขณะนั้น เช่น เมื่อคุณแทรกรูปภาพลง ในหน้าโฮมเพจไดอะล็อก Properties ก็จะเปลี่ยนสถานะหรือองค์ประกอบและพร้อมที่จะเปลี่ยนขนาดของรูปภาพหรือปรับรายละเอียดต่างๆ ของภาพหรือที่เกี่ยว ข้องกับออบเจ็กต์นั้นๆ เป็นต้นไดอะล็อก Properties เมื่อต้องการใช้งานตลอดเวลาบางทีอาจไม่สะดวกหากต้องเปิดปิดไดอะล็อกอยู่เรื่อยๆ เราสามารถลดขนาดลง ได้ดังรูปที่ 4 หรือเพิ่มขนาดได้ดังรูปที่ 5 เพียงคลิกที่เครื่องหมายรูปสามหลี่ยมที่อยู่มุมด้านล่างขวาของไดอะล็อกดังรูปที่ 4 และรูปที่ 5 ถ้าคุณเห็นว่าเกะกะเผลอปิดมัน ไปก็ไม่ใช้เรื่องยากเลยที่จะเรียกขึ้นมาใช้ใหม่เพียงคุณไปคลิกที่เมนู Windows แล้วเลื่อนเมาส์ไปคลิกที่ Properties หรือกดปุ่ม Ctrl+F3 แค่นี้ก็ได้ไดอะล็อกขึ้นมา ใช้งานแล้ว ไดอะล็อก Properties เปลี่ยนแปลงตามสถานะการใช้งาน
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
การกำหนดเว็บไซต์ (Define Local Site)
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

  การสร้าง File งาน
      ในที่นี้จะแนะนำการสร้าง File งานอย่างถูกต้องเป็นขั้นตอนและมีระบบเพื่อให้ง่ายต่อการทำงานและสามารถแก้ไขปรับปรุง ได้ในอนาคต
  1. ไปที่ Menu Bar เลือกที่ Site จะมีเมนูย่อยให้เลือกที่ New Site

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

   2. จะมีวินโดว์ New Site เกิดขึ้นให้ใส่ข้อมูลดังขั้นตอนต่อไปนี้

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

   

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
ช่อง Site Name ให้ทำการตั้งชื่อ Site
   
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
ในช่อง Local Root Folder ให้ click
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
แล้วจะปรากฎ Dialog Box ขึ้นมาดังรูปครับ

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

    

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
ให้เลือกที่ Create New Folder จากนั้นให้ตั้งชื่อตามที่ต้องการ แลัว Click ปุ่ม Open แล้ว Click ปุ่ม Select อีกครั้ง จากนั้นจะ        กลับเข้าสู่หน้า New Site อีกครั้ง และ Click ปุ่ม Ok ด้านล่าง

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

   

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
หลังจาก Click ปุ่ม Ok แล้วจะกลับมาสู่หน้า Site ด้านซ้ายบนจะมีชื่อ Site Name ที่ได้ตั้งไว้ขึ้นมา และช่อง Local Folder จะมี       Folder ที่ได้เลือกไว้เช่นกัน

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

   

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
ขั้นตอนต่อไปเป็นการสร้าง File งาน การสร้าง File แรกจำเป็นต้องตั้งชื่อ File เป็น index.html เสมอเพราะ Browser จะอ่าน File       index.html ก่อนเป็นอันดับแรกแต่ในช่อง URL จะไม่แสดง / index.html แต่จะแสดงเพียงชื่อ website เท่านั้นและหลังจากนั้น        ถึงจะ Link ไปยัง File งานอื่นซึ่งจะตั้งเป็นชื่ออะไรก็ได้
   
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
การสร้าง New File โดยการ Click ที่ File > New File

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

   

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
จากนั้นให้เปลี่ยนชื่อ เป็น index.html

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

   

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
ให้ทดสอบโดยการ ดับเบิ้ล Click ที่ index.html ก็จะปรากฎหน้า Document ที่ชื่อ index.html ที่พร้อมสร้างงานได้ทันที

การบันทึกโฮมเพจ (Save)
       หลังจากสร้างโฮมเพจมาบ้างพอสมควรแล้ว สิ่งที่ไม่ควรลืมก็คือการบันทึกผลงานที่ได้สร้างขึ้นไว้ในไฟล์นามสกุล . htm หรือ html โดยตั้งชื่อให้สัมพันธืกับเนื้อหาภายในโฮมเพจ ทั้งนี้จะไม่ทำให้เกิดการสับสนได้ในภายหลัง ซึ่งจะมีผลทำให้ง่าย ต่อการตรวจสอบ และจัดการเว็บไซต์อีกด้วย ขั้นตอนการบันทึกโฮมเพจด้วยวิธีการที่คุ้นเคย คล้ายกับการบันทึกไฟล์ทั่ว ๆ ไป ดังต่อไปนี้
        1. คลิกที่เมนู File > Save หรือกดปุ่ม <Ctrl+S>

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด

����������������        2. เมื่อปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ใส่ชื่อไฟล์ของโฮมเพจ เช่น " index.html" ลงในช่อง File name
        3. เลือก folder ที่ต้องการเก็บ webpage ที่เราสร้างขึ้นเอาไว้
        4. คลิกปุ่ม Save เพื่อทำการบันทึกไฟล์

ดูโฮมเพจที่สร้างขึ้นด้วย Browser
         ในขณะที่ทำการสร้างโฮมเพจอยู่นั้น คุณต้องการที่จะตรวจสอบหน้าตาของโฮมเพจที่สร้างขึ้นนี้ โชคดีที่ Dreamweaver ได้เตรียมขั้นตอน Preview in Browser เอาไว้สำหรับดูโฮมเพจได้ทุกครั้งที่ต้องการ โดยไม่จำเป็นต้องบันทึกโฮมเพจที่กำลังสร้างไว้ในไฟล์ใด ๆ ก่อนดูก็ได้ นอกจากนี้หากมีการใส่ฟังก็ชั่น , JavaScript , VBScript , ActiveX-Control , Plug-in ( หากทำการติดตั้งไว้แล้วที่บราวเซอร์) รวมถึงจุดเชื่อมต่อไปยังโฮมเพจอื่น ๆ ลงในโฮมเพจนี้ก็สามารถใช้งานได้อย่างครบถ้วนด้วย
         การดูโฮมเพจที่สร้างขึ้นด้วย Browser ทำได้โดยการกด F12

คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด
คำสั่ง สำหรับ การกำหนดคุณสมบัติการ เชื่อม โยง คือ ข้อใด