เรียนจบสาขาอะไร ภาษาอังกฤษ

แนะนำตัวภาษาอังกฤษอย่างไร เมื่อไปสัมภาษณ์งาน

มกราคม 24, 2019

ใครที่พูดภาษาอังกฤษไม่ค่อยถนัด แต่มีนัดสัมภาษณ์งาน และจำเป็นต้องพูดภาษาอังกฤษในการแนะนำตัว คงจะกำลังกระวนกระวายใจ หาข้อมูลว่าควรจะพูดอย่างไรดี ประโยคไหนถูก ประโยคไหนเหมาะ  มาเรียนรู้ไปพร้อมๆกันเลย

หัวใจสำคัญคือทำให้ผู้สัมภาษณ์รู้จักเรามากที่สุด  ผ่านเนื้อหาหลัก 5 ประเด็นดังนี้

1.การแนะนำตัว

Let me introduce myself (ขอแนะนำตัวเอง)

My name is ….. (บอกชื่อ-นามสกุล)

I was born on Monday 13 th of May 1995. I am 23 years old (ผม/ดิฉัน เกิดเมื่อ ……..อายุ ….. ปี)

I have no brothers or sisters and I am single (ผม/ดิฉัน ไม่มีพี่น้อง สถานภาพ โสด)

I graduated in … (คณะที่จบการศึกษา เช่น Communication Arts คณะนิเทศศาสตร์) major …. (สาขาที่จบ เช่น Journalism  วารสารศาสตร์) from …(มหาวิทยาลัยที่จบ ……) with GPA 3.80 (เกรดเฉลี่ย 3.8)

 2.แนะนำคุณสมบัติส่วนตัว

My most important qualifies are good attention and patience (คุณสมบัติที่สำคัญของผม/ดิฉัน คือ ความตั้งใจและความอดทนครับ/ค่ะ)

I am easy going. I can get along with anybody. (เป็นคนเข้ากับคนง่าย สามารถเข้ากันได้กับคนทุกรูปแบบ)

My hobbies are surfing the internet, watching movies and reading books. I enjoy learning. (งานอดิเรกคือการเล่นอินเทอร์เน็ต ดูโทรทัศน์ และอ่านหนังสือ ฉันชอบเรียนรู้

3.เป้าหมายในการทำงาน

I would like a jobs which allows for personal professional growth. (ฉันมองหางานที่ทำให้ฉันได้พัฒนาตนเองและทำให้ฉันมีความก้าวหน้าและเป็นมืออาชีพ)

4.เหตุผลที่เลือกบริษัทนี้

Because this company is known for being on the cutting-edge of innovative technology with high-quality products and services.  (เพราะเป็นที่รู้กันดีว่า บริษัทนี้เป็นบริษัทที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ)

5.ก่อนจบการสัมภาษณ์

I really appreciate the chance to have an interview with you today. Thank  you so much. (ขอบคุณสำหรับโอกาสในการสัมภาษณ์วันนี้)

นี่เป็นแค่ตัวอย่างประโยคสำหรับการสัมภาษณ์งานเป็นภาษาอังกฤษ  ใครที่ยังไม่คุ้นเคย ก็ลองฝึกฝนหน้ากระจกก่อนก็ได้ เพื่อเพิ่มความมั่นใจ…จำไปใช้ได้ทันที  หรือจะแชร์ไว้อ่านรับรองมีประโยชน์แน่นอน ขอให้ทุกคนโชคดีกับการสัมภาษณ์งานนะจ๊ะ

ทุกคนสามารถเตรียมตัวให้พร้อมเพื่อสร้างความมั่นใจในการสัมภาษณ์งานได้ หากอยากฝึกภาษาอังกฤษแบบตัวต่อตัว เพื่อให้พูดภาษาอังกฤษได้อย่างมั่นใจยิ่งขึ้น สามารถติดต่อที่  California English เรายินดีให้คำปรึกษาตลอดเวลาที่ Line ad:@calienglish, Facebook,   Tel: 062-536-5962, 098-882-2355

www.calienglish.com หรื่อเรียนกับ MONDLY ก็ดีนะจร้า

#CaliforniaEnglish  #สัมภาษณ์งานอย่างไรให้ผ่าน #เรียนภาษาอังกฤษตัวต่อตัว

เรียนจบสาขาอะไร ภาษาอังกฤษ

    สวัสดีค่า หลายคนที่กำลังเขียนเรซูเม่ หรือกำลังมองหาคณะ/สาขาที่เราสนใจในต่างประเทศ ต้องอยากรู้แน่ๆ ว่าคณะ/สาขาที่เราอยากเรียน ชื่อภาษาอังกฤษคืออะไร

    วันนี้ Hotcourse จะพาทุกคนไปรู้จักกับคณะ ภาควิชาหรือสาขาในสายวิทยาศาสตร์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษกัน ไปดูกันว่าแต่ละคณะมีสาขาอะไรบ้าง

    ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจก่อนว่าในมหาวิทยาลัย หรือ University จะมี Faculty (คณะ) ในคณะก็จะมีการแบ่งสาขาวิชาไปอีก ซึ่งพอถึงปีที่กำหนดก็จะมีการเลือกวิชาเอก หรือ  Major subject และวิชาโท หรือ Minor subject ด้วย

เรียนจบสาขาอะไร ภาษาอังกฤษ

คณะทันตแพทยศาสตร์ (Faculty of Dentistry)

    1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)

    2. จุลชีววิทยา (Microbiology)

    3. ชีวเคมี (Biochemistry)

    4. ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)

    5. ทันตกรรมชุมชน (Community Dentistry)

    6. ทันตกรรมบดเคี้ยว (Occlusion)

    7. ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)

    8. ทันตกรรมสำหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)

    9. ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)

    10. ทันตพยาธิวิทยา (Oral Pathology)

    11. ปริทันตวิทยา (Periodontology)

    12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)

    13. รังสีวิทยา (Radiology)

    14. เวชศาสตร์ช่องปาก (Oral Medicine)

    15. ศัลยศาสตร์ (Oral and Maxillofacial Surgery)

    16. สรีรวิทยา (Physiology)

คณะพยาบาลศาสตร์ (Faculty of Nursing)

คณะแพทยศาสตร์ (Faculty of Medicine)

    1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)

    2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry)

    3. จุลชีววิทยา (Microbiology)

    4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine)

    5. ปรสิตวิทยา (Parasitology)

    6. พยาธิวิทยา (Pathology)

    7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine)

    8. สรีรวิทยา (Physiology)

    9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)

    10. จักษุวิทยา (Ophthalmology)

    11. ชีวเคมี (Biochemistry)

    12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)

    13. รังสีวิทยา (Radiology)

    14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology)

    15. เวชศาสตร์ชันสูตร (Laboratory Medicine)

    16. ศัลยศาสตร์ (Surgery)

    17. ออร์โธปิดิกส์ Orthopedics)

    18. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine)

    19. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology)

    20. โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otolaryngology)

    21. อายุรศาสตร์ (Medicine)

คณะเภสัชศาสตร์ (Faculty of Pharmaceutical Science)

    1. วิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม (Pharmaceutics and Industrial Pharmacy)

    2. เภสัชกรรมปฏิบัติ (Pharmacy Practice)

    3. อาหารและเภสัชเคมี (Food and Pharmaceutical chemistry)

    4. เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)

    5. เภสัชวิทยาและสรีรวิทยา (Pharmacology and Physiology)

    6. ชีวเคมีและจุลชีววิทยา (Biochemistry and Microbiology)

    7. เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (Social and Administrative Pharmacy)

คณะสหเวชศาสตร์ (Faculty of Allied Health Sciences)

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)

    2. เคมีคลินิก (Clinical Chemistry)

    3. จุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy)

    4. เวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก (Transfusion Medicine and Clinical Microbiology)

    5. โภชนาการและการกำหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics)

    6. รังสีเทคนิคและฟิสิกส์ทางการแพทย์ (Radiological Technology and Medical Physics)

คณะเทคนิคการแพทย์ (Faculty of Medical Technology)

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)

    2. กิจกรรมบำบัด (Occupational Therapy)

    3. รังสีเทคนิค (Radiologic Technology)

    4. เทคนิคการแพทย์ (Medical Technology)

เรียนจบสาขาอะไร ภาษาอังกฤษ

คณะสัตวแพทยศาสตร์ (Faculty of Veterinary Science)

    1. กายวิภาคศาสตร์ (Veterinary Anatomy)

    2. พยาธิวิทยา (Veterinary Pathology)

    3. เภสัชวิทยา (Veterinary Pharmacology)

    4. ศัลยศาสตร์ (Veterinary Surgery)

    5. สรีรวิทยา (Veterinary Physiology)

    6. สัตวบาล (Animal Husbandry)

    7. สูติศาสตร์ – เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ (Obstetrics Gynaecology and Reproduction)

    8. อายุรศาสตร์ (Veterinary Medicine)

    9. สัตวแพทยสาธารณสุข (Veterinary Public Health)

    10. จุลชีววิทยา (Microbiology)

คณะสาธารณสุขศาสตร์ (Faculty of Public Health)

คณะเกษตรศาสตร์ (Faculty of Agriculture)

    1. เกษตรกลวิธาน (Agricultural Mechanization)

    2. คหกรรมศาสตร์ (Home Economics)

    3. ปฏพีวิทยา (Soil Science)

    4. พืชไร่นา (Agronomy)

    5. พืชสวน (Horticulture)

    6. โรคพืช (Plant Pathology)

    7. ส่งเสริมและนิเทศน์ศาสตร์เกษตร (Agricultural Extension and Communication)

    8. กีฏวิทยา (Entomology)

คณะครุศาสตร์ / คณะศึกษาศาสตร์ (Faculty of Education)

คณะจิตวิทยา (Faculty of Psychology)

    1. จิตวิทยา (Psychology)

    2. วิทยาศาสตร์จิตวิทยา (นานาชาติ) (Psychological Science)

คณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Science)

    1. คณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Mathematics and Computer Science)

    2. เคมี (Chemistry)

    3. ชีววิทยา (Biology)

    4. ฟิสิกส์ (Physics)

    5. พฤกษศาสตร์ (Botany)

    6. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)

    7. ธรณีวิทยา (Geology)

    8. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Science)

    9. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)

    10. ชีวเคมี (Biochemistry)

    11. วัสดุศาสตร์ (Material Science)

    12. จุลชีววิทยา (Microbiology)

    13. วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและ เทคโนโลยีทางการพิมพ์ (Photographic Science and Printing Technology)

    14. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)

เรียนจบสาขาอะไร ภาษาอังกฤษ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ (Faculty of Engineering)

    1. วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)

    2. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)

    3. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)

    4. วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)

    5. วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)

    6. วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (Mining and Petroleum Engineering)

    7. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)

    8. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)

    9. วิศวกรรมโลหการ (Metallurgical Engineering)

    10. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)

    11. วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)

    12. วิศวกรรมแหล่งน้ำ (Water Resources Engineering)

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (Faculty of Architecture)

    1. สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture)

    2. สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture)

    3. การวางแผนภาคและเมือง (Urban and Regional Planning)

    4. การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)

    5. ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)

    6. เคหการ (Housing)

คณะอุตสาหกรรมการเกษตร (Faculty of Agro-Industry)

    1. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร (Agro-Industrial Technology)

    2. เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)

    3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (Food Science & Technology)

    4. เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ (Packaging & Materials Technology)

    5. พัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development)

    6. วิทยาการสิ่งทอ (Textile Science)

คณะโลจิสติกส์ (Faculty of Logistics)

    1. สาขาวิทยาการเดินเรือ (Nautical Science)

    2. สาขาการจัดการพาณิชยนาวี (Maritime Industrial Management)

    3. สาขาการจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management)

    4. สาขาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ (International Trade and Logistics Management)

        นี่เป็นเพียงตัวอย่างจากบางมหาลัยเท่านั้นน้า อย่าลืมว่าแต่ละที่อาจมีสาขาแยกย่อยออกไปอีก ส่วนคณะสายศิลป์ สามารถไปดูชื่อภาษาอังกฤษได้ที่นี่เลย รวมชื่อคณะและสาขาต่างๆ ภาษาอังกฤษ (สายศิลป์ Edition)

รวมคำศัพท์ภาษาอังกฤษเบสิคที่ควรรู้ ถ้าจะทำงานด้าน Marketing

เรียนจบสาขาอะไร ภาษาอังกฤษ