อาชีพที่ต้องใช้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพมีอาชีพอะไรบ้าง

อาชีพที่ต้องใช้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพมีอาชีพอะไรบ้าง

22


            อย่างดีต้องเป็นคนที่อ่านมาก ฟังมาก เพื่อน าข้อมูลที่ได้รับไปใช้ประโยชน์   ในการเขียนสื่อสารสร้างความ

            สนุกสนาน บันเทิงใจ จรรโลงใจแก่ผู้อ่านและควรเป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และจินตนาการเป็น
            องค์ประกอบ จึงจะท าให้อาชีพที่ประกอบประสบความส าเร็จด้วยดี

                       นอกเหนือจากอาชีพที่ใช้ภาษาไทยเป็นช่องทางในการประกอบอาชีพโดยตรงแล้ว ยังมี

            การประกอบอาชีพอื่น ๆ อีก ที่ใช้ภาษาไทยเป็นช่องทางโดยอ้อม เพื่อน าไปสู่ความส าเร็จในอาชีพ ของ
            ตนเอง เช่น  อาชีพล่าม มัคคุเทศก์ เลขานุการ นักแปล และนักฝึกอบรม ครู อาจารย์ เป็นต้น






            เรื่องที่ 3  การเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ทางด้านภาษาไทย

              เพื่อการประกอบอาชีพ
                    ในการน าความรู้ทางภาษาไทย ทั้งทักษะการพูดและการเขียนไปใช้ในการประกอบอาชีพนั้น        เพียง

            การศึกษาในชั้นเรียนและต าราอาจจะยังไม่เพียงพอ ผู้ประกอบอาชีพต้องเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ด้าน

            ภาษาและด้านต่าง ๆ เพื่อให้การประกอบอาชีพประสบความส าเร็จ ดังจะยกตัวอย่างอาชีพที่ใช้ภาษาไทย เป็น
            ช่องทางในการประกอบอาชีพโดยตรง เพื่อเป็นตัวอย่าง ดังนี้

            1.  อาชีพนักโฆษณา - ประชาสัมพันธ์

                    เป็นอาชีพที่ผู้ประกอบการ ต้องเพิ่มพูนความรู้ในเรื่องการเขียน และการพูดแบบสร้างสรรค์ รวมทั้งฝึก
            ประสบการณ์ โดยการฝึกเขียนบ่อย ๆ ตลอดจนการศึกษาดูงานของหน่วยงาน หรือบริษัเอกชน

            ที่ประสบความส าเร็จในเรื่องของการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

                     องค์ความรู้ที่ควรศึกษาเพิ่มเติม

                     ในการเพิ่มพูนองค์ความรู้ในด้านการเขียนและการพูด ผู้ประกอบอาชีพด้านนี้ ควรศึกษาเนื้อหา
            ความรู้ที่จะน าไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ในเรื่องต่อไปนี้

                     1)  ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะอาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธ์เป็นอาชีพที่ต้องอาศัย

            ศาสตร์ทั้งสองด้านประกอบกัน ในการพูดน ้าเสียงต้องนุ่มนวลหรือเร้าใจขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ของเรื่องที่จะ

            โฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ รู้จักเลือกใช้ถ้อยค าที่เป็นการให้เกียรติแก่ผู้ฟัง หรือเคารพข้อมูลที่เจ้าของงานให้มา
                     2)  ระดับของภาษา ซึ่งเป็นเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถ้อยค า และการเรียบเรียง ถ้อยค าที่

            ใช้ตามโอกาส กาลเทศะและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นผู้สื่อสารและผู้รับสาร ซึ่งกลุ่มบุคคลในสังคม

            แบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม หลายชนชั้นตามสภาพอาชีพถิ่นที่อยู่อาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกต่างกันเป็นระดับ
            ตามกลุ่มคนที่ใช้ภาษา เช่น ถ้อยค าที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์และพระราชวงศ์ อาจใช้ถ้อยค าอย่างหนึ่ง ภาษาของ

            นักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผู้อ่าน ก็อาจจะใช้ภาษาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น ดังนั้น ผู้ใช้ภาษาจึงต้องค านึงถึงความ

            เหมาะสมและเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
                           ในภาษาไทย จะแบ่งระดับของภาษาเป็น 5 ระดับ คือ

                           2.1)  ภาษาระดับพิธีการ เป็นภาษาที่ใช้ในงานพระราชพิธีหรืองานพิธีของรัฐ

บทท่ี 7
เร่อื ง ภาษาไทยกบั ช่องทางการประกอบอาชพี

คณุ ค่าของภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ เป็นภาษาท่ีใช้ในการส่ือสารในชีวิตประจาวัน เป็นเครื่องมือในการ

เรียนรู้ และการนาไปใช้ในการประกอบกิจการงาน ทั้งส่วนตน ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและประเทศชาติ
อีกท้ังยังเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมไทย ดังนั้นการเรียนรู้ภาษาไทย จึงต้องมุ่งให้เกิดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
ทกั ษะด้านต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม ทั้งทักษะการอ่าน การดู การฟัง การพดู และการเขียน โดยเฉพาะ
ทักษะการพูดและการเขียน เม่ือศึกษาให้ลึกลงไปและฝึกทักษะใน 2 ด้านนี้อย่างจริงจัง สามารถนาไปสู่การ
ประกอบอาชีพได้ ซ่ึงการที่คนไทยจะตระหนักถึงประโยชน์ที่จะได้จากการมีพ้ืนฐานภาษาไทยท่ีดี ต้องรู้และ
เขา้ ใจคุณคา่ ของภาษาไทยอย่างถอ่ งแท้
คุณคา่ ของภาษาไทย

เม่ือกล่าวถึงคุณค่าของภาษาไทย จะพบวา่ ภาษาไทยมีคุณค่าในด้านตา่ งๆ ดงั นี้
1. คุณค่าทางวัฒนธรรม ภาษาของแต่ละชาติย่อมแสดงให้เห็นวัฒนธรรมของชาติน้ัน ชาติที่สามารถ
ประดิษฐ์ภาษาและตัวอักษรเป็นของตนเองได้แสดงว่าเป็นชาติท่ีมีความเจริญทางวัฒนธรรม คนไทยก็เช่นกัน
เราสามารถประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อใช้ในภาษาของตนเอง เพื่อเป็นการสื่อสารท่ีสามารถจดจารจารึกเรื่องราว
ต่างๆ ให้คนรุ่นหลังได้ทราบ เป็นภูมิรู้ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมาต้ังแต่ครั้งกรุงสุโขทัย ในสมัยพ่อขุน
รามคาแหงมหาราช การที่คนรุ่นใหม่ได้ทราบถึงวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนรุ่นก่อน ได้มีโอกาสอ่าน
วรรณคดี วรรณกรรมโบราณ จนสามารถสร้างสรรค์พัฒนางานวรรณกรรมทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองใหม่ๆ ได้
โดยอาศัยศึกษาพ้นื ฐานมาจากวรรณคดี วรรณกรรมโบราณ ซ่ึงมีการสร้างสรรค์จากตวั อักษรไทยนน่ั เอง และได้
ถา่ ยทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมาจนทกุ วันน้ี
2. เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสาร ในการดาเนินชีวิตประจาวันและการประกอบอาชีพ เครื่องมือที่
จะก่อให้เกิดความเข้าใจในการติดต่อสื่อสารกันคือภาษา เพื่อส่ือสารความต้องการ ความรู้สึกนึกคิดให้อีกฝ่าย
ทราบตรงกนั โดยมีกระบวนการสอื่ สารคอื
ผู้ส่งสาร สาร ช่องทาง ผ้รู ับสาร
3. เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ ภาษาไทยจัดเป็นวิชาพ้ืนฐานเพื่อการแสวงหา
ความรู้ในวิชาอ่ืนๆ ต่อไป หากผู้เรียนมีความรู้พ้ืนฐานทางภาษาไทยที่ดีพอ ก็จะทาให้การเรียนรู้ในวิชาอ่ืนๆ มี
ประสิทธิภาพที่ดตี ่อไปด้วย การมีความรู้พื้นฐานภาษาไทยท่ีดคี ือการมีความสามารถในเขยี นสะกดคาได้ถูกต้อง
อา่ นและออกเสียงไดถ้ กู ต้องตามอกั ขรวธิ ีไทย รวมทงั้ พูดและใช้คาได้ถูกตอ้ งตรงกบั ความหมายของคา
4. เป็นเครอื่ งมือในการสร้างความเข้าใจอนั ดีตอ่ กนั ประเทศไทยแบง่ เป็น 5 ภาค แต่ละภาคลว้ นมี
ภาษาของตนเองทเี่ รียกว่า “ภาษาถน่ิ ” โดยมีภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาของทางราชการ ทาให้การสื่อสาร
ทาความเข้าใจในเรื่องตา่ งๆ ทั้งเรื่องการศึกษา เรือ่ งราชการ และการสอ่ื สารมวลชนมีความเขา้ ใจท่ีตรงกนั
เพราะใชภ้ าษาไทยภาคกลางเปน็ ภาษาส่ือสาร
5. เป็นเครื่องมือสร้างเอกภาพของชาติ ภาษาไทยเป็นภาษาของชาติไทยท่ีเป็นเอกลักษณ์ของความ
เป็นชาติไทย แสดงถึงความเป็นชาติท่ีมีอารยธรรม มีความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรม จงึ มีภาษาและตัวอักษร
เป็นของตนเอง และการที่ภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาของทางราชการ จึงเป็นส่ือรวมใจให้คนไทยในแต่ละ
ภาคได้ติดต่อส่ือสารแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ความรู้ และข่าวสารข้อมูลถึงกันได้ มีความระลึกอยู่ในใจถึงความ
เป็นคนไทย เป็นเชอื้ ชาตเิ ผา่ พันธุ์เดยี วกัน

6. เปน็ เคร่อื งจรรโลงใจ ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยกุ ต์ 5 เสียง เมื่อนาไปประสมเป็นคา จะทา
ให้เกิดเป็นเสียงสูงต่าได้ถึง 5 เสียง ก่อให้เกิดความไพเราะของเสียงคา เม่ือนาไปแต่งเป็นบทประพันธ์ประเภท
ตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นเพลง โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน นิยาย นทิ าน ก่อให้เกดิ ความจรรโลงใจแกผ่ ู้ฟัง และผอู้ ่านได้
อย่างดี

จากคุณค่าท้ัง 6 ประการของภาษาไทย จะเห็นได้ว่าภาษาไทยไม่เพียงเป็นภาษาเพ่ือนาไปใช้ในการ
แต่งคาประพันธ์ประเภทต่างๆ หรือเป็นเพียงภาษาเพ่ือการอ่านการดูและการฟัง แต่ยังเป็นภาษาเพ่ือการพูด
และการเขียน หากคนไทยทุกคนได้ศึกษาภาษาไทยให้ท่องแท้ มีความรู้ความเข้าใจทางภาษาไทยอย่างถูกต้อง
ลึกซึ้ง สามารถใช้ภาษาได้ดีทั้งภาษาพูด ภาษาเขียนจะทาให้สามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ทางภาษาอันจะ
นาไปสู่การประกอบอาชีพต่างๆ โดยใช้ภาษาเป็นพื้นฐานของอาชีพได้อย่างดี และมโี อกาสประสบความสาเร็จ
ในอาชพี น้ันๆ ได้
ภาษาไทยกับช่องทางการประกอบอาชพี

ในปัจจุบันมอี าชีพมากมายท่ีคนในรนุ่ กอ่ นๆ อาจมองขา้ มความสาคัญไป แตก่ ลบั เป็นอาชีพท่ีทารายได้
อย่างงามแก่ผู้ประกอบอาชีพน้ัน และกลายเป็นอาชีพท่ีเป็นท่ีนิยมของคนไทยในปัจจุบัน เป็นอาชีพท่ีใช้
ภาษาไทยเปน็ พืน้ ฐาน โดยเฉพาะใชท้ กั ษะการพดู และการเขยี นเป็นพ้ืนฐาน ดังน้ี

1. อาชีพท่ีใช้ทักษะการพูดเป็นช่องทางในการประกอบอาชีพ การพูดเปน็ ทักษะสาคญั อีกทักษะหน่ึงท่ี
ต้องอาศัยวรรณศิลป์ คือ ศิลปะการใช้ภาษาท่ีจะสามารถโน้มน้าวใจ ก่อให้เกิดความน่าเช่ือถือ เห็นคล้อยตาม
สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้พดู และผู้ฟัง หรือผู้ฟังต่อส่วนรวม หรือโน้มน้าวใจให้ใช้บรกิ ารหรือซื้อส่ิงอุปโภค
บริโภคในทางธรุ กิจได้ การพดู จึงเป็นช่องทางนาไปส่อู าชีพตา่ งๆ ได้ดังนี้

1.1 อาชพี ดา้ นส่ือสารมวลชนทุกรูปแบบ ทั้งในวงราชการ เอกชน และวงการธุรกิจ ได้แก่
1.1.1 อาชีพนกั โฆษณาประชาสัมพันธ์ ท้ังการโฆษณาสินคา้ และบรกิ าร โฆษณา การจัดงานต่างๆ ของ
ชุมชน หน่วยงานราชการ โดยใช้รถประชาสัมพันธ์ โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย โดยการพบปะ
ตดิ ตอ่ ตอบคาถามตา่ งๆ เป็นขั้นต้น และในขัน้ ที่สูงขนึ้ ไป คือ การใชท้ กั ษะการพูดและเขียนประกอบกนั เพ่อื คิด
หาถอ้ ยคาในเชิงสรา้ งสรรค์ในการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ผา่ นสื่อต่างๆ ทเ่ี รียกวา่ การโฆษณาสินคา้ และบรกิ าร
1.1.2 อาชีพนักจัดรายการวิทยุ เป็นอีกอาชีพหนึ่งท่ีต้องใช้ทักษะในการพูด การมีโวหาร และวาจา
คารมท่ีคมคาย ลึกซ้ึงกินใจ เพ่ือให้ผู้ฟังติดตามรายการอย่างต่อเน่ืองด้วยความนิยม มีท้ังนักจัดรายการวิทยุ
ชุมชน วิทยุเอกชน และรายการวิทยุของทางราชการ ตลอดจนการใช้ภาษาพูดเพื่อสร้างความเป็นน้าหน่ึงใจ
เดยี วกันของผู้ฟัง เช่น นกั จัดรายการวิทยขุ องทางราชการ
1.1.3 อาชีพพิธีกร ในปัจจุบันอาชีพพิธีกรเป็นอีกอาชีพหน่ึงท่ีสามารถทารายได้อย่างงามให้แก่ผู้
ประกอบอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรในชุมชนท่ีทาหน้าท่ีในงานของราชการและงานของเอกชน เช่น พิธีกรรงาน
ประจาปีต่างๆ พิธีกรการประกวดนางงามของท้องถ่ิน พิธีกรงานประเพณี สาคัญทางศาสนา พิธีกรงานมงคล
สมรส พิธีกรงานอุปสมบท พิธีกรงานศพหรืองานพระราชทานเพลิงศพ และพิธีกรงานพิเศษในโอกาสต่างๆ
ของทางราชการ
อาชพี ทใ่ี ชท้ กั ษะการเขียนเปน็ ช่องทางในการประกอบอาชพี
การเขียนเป็นทักษะสาคัญอีกทักษะหนึ่งที่เป็นช่องทางในการนาภาษาไทยไปใช้ประโยชน์ในการ
ประกอบอาชีพต่างๆ ได้ การจะใช้ภาษาเขียนเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพก็เช่นเดียวกับการพูด คือ
ต้องมีวรรณศิลป์ของภาษา เพื่อให้ส่ิงท่ีเขียนสามารถดึงดูดความสนใจดึงอารมณ์ความรู้สึกร่วมของผู้อ่าน โน้ม
นา้ วใจให้ผอู้ ่านเห็นคล้อยตาม และเพ่ือสร้างความบันเทงิ ใจ รวมทง้ั สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้อา่ น ตลอดถึง

ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของส่วนรวม อาชีพท่ีสามารถนาทักษะการเขียนภาษาไทยไปใช้เพอ่ื การประกอบ
อาชพี ได้โดยตรง ไดแ้ ก่อาชพี ดงั น้ี

1. อาชีพดา้ นส่ือสารมวลชนทุกรปู แบบ ท้งั ในวงราชการ เอกชน และวงการธรุ กิจ ได้แก่อาชีพดงั นี้
1.1 อาชีพผู้ส่ือข่าว ผู้เขียนข่าว เป็นอาชีพท่ีต้องใช้ศิลปะการเขียนและการใช้ภาษาท่ีดึงดูความสนใจ
ของผู้อา่ น
1.2 อาชีพผู้พิสูจน์อักษรและบรรณาธิการ เป็นอาชีพที่ต้องมีความรู้ในการเขียน การสะกดคา การใช้
ถ้อยคาสานวนภาษา สุภาษิต คาพังเพยและหลักภาษาไทยเป็นอย่างดี จัดได้ว่าเป็นอาชีพท่ีช่วยธารงรักษา
ภาษาไทยได้อาชีพหนึง่
2. อาชีพด้านการสร้างสรรค์งานศิลปะรูปแบบต่างๆ ท้ังในวงราชการ เอกชน และวงการธุรกิจ ได้แก่
อาชีพดงั นี้
2.1 อาชีพกวี นักเขียน ทั้งการเขียนสารคดี นิยาย เร่ืองส้ัน การเขียนบทละครเวที บทละครโทรทัศน์
บทภาพยนตรผ์ ู้ประกอบอาชีพเหลา่ นี้ นอกจากมศี ลิ ปะการเขียน และการเลือกใช้ถ้อยคาภาษามาใชเ้ ป็นอย่างดี
ต้องเป็นคนที่อ่านมาก ฟังมาก เพื่อนาข้อมูลท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ในการเขียนสื่อสารสร้างความสนุกสนาน
บันเทิงใจ จรรโลงใจแก่ผู้อ่านและควรเปน็ ผมู้ ีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ และจินตนาการเป็นองค์ประกอบ จึงจะ
ทาให้อาชีพที่ประกอบประสบความสาเร็จด้วยดี นอกเหนือจากอาชีพท่ีใช้ภาษาไทยเป็นช่องทางในการ
ประกอบอาชีพโดยตรงแล้ว ยังมีการประกอบอาชีพอ่ืนๆ อีกท่ีใช้ภาษาไทยเป็นช่องทางโดยอ้อม เพ่ือนาไปสู่
ความสาเร็จในอาชีพของตนเอง เช่น อาชีพล่าม มัคคุเทศก์ เลขานุการ นักแปล และนักฝึกอบรม ครู อาจารย์
เปน็ ต้น

การเพ่มิ พนู ความรูแ้ ละประสบการณท์ างด้านภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชีพ

ในการนาความรู้ทางภาษาไทย ท้ังทักษะการพูดและการเขียนไปใช้ในการประกอบอาชีพน้ัน เพียง
การศึกษาในชั้นเรยี นและตาราอาจจะยังไม่เพียงพอ ผู้ประกอบอาชพี ต้องเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ด้าน
ภาษาและด้านต่างๆ เพ่ือให้การประกอบอาชีพประสบความสาเร็จ ดังจะยกตัวอย่างอาชีพที่ใช้ภาษาไทย เป็น
ชอ่ งทางในการประกอบอาชีพโดยตรงเพ่ือเปน็ ตวั อย่าง ดังน้ี

1. อาชีพนักโฆษณา-ประชาสัมพันธ์ เป็นอาชีพท่ผี ู้ประกอบการ ต้องเพ่ิมพูนความรู้ในเรื่องการเขียน
และการพูดแบบสร้างสรรค์ รวมท้ังฝึกประสบการณ์โดยการฝึกเขียนบ่อยๆ ตลอดจนการศึกษาดูงานของ
หนว่ ยงาน หรอื บรษิ ทั เอกชนทีป่ ระสบความสาเรจ็ ในเรื่องของการโฆษณาและประชาสมั พันธ์
องค์ความรู้ทค่ี วรศึกษาเพ่ิมเตมิ

ในการเพ่ิมพูนองค์ความรู้ในด้านการเขียนและการพูด ผู้ประกอบอาชีพดา้ นน้ี ควรศกึ ษาเน้อื หาความรู้
ท่จี ะนาไปใชใ้ นการพัฒนาอาชีพในเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี

1. ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะอาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธ์เป็นอาชีพที่ต้องอาศัย
ศาสตร์ทั้งสองด้านประกอบกัน ในการพูดน้าเสียงต้องนุ่มนวลหรือเร้าใจขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของเรื่องท่ีจะ
โฆษณาหรือประชาสมั พนั ธ์ รจู้ ักเลอื กใชถ้ ้อยคาทีเ่ ปน็ การให้เกียรตแิ ก่ผู้ฟงั หรือเคารพขอ้ มลู ท่เี จา้ ของงานใหม้ า

2. ระดับของภาษา ซึง่ เปน็ เร่อื งของการศึกษาถงึ ความลดหลัน่ ของถอ้ ยคา และการเรยี บเรียง ถ้อยคาท่ี
ใช้ตามโอกาส กาลเทศะและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นผู้สอื่ สารและผู้รับสาร ซึ่งกลุ่มบุคคลในสงั คมแบ่ง
ออกเป็นหลายกล่มุ หลายชนช้นั ตามสภาพอาชีพถนิ่ ทอ่ี ยู่อาศยั ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกตา่ งกันเป็นระดบั ตาม
กลุ่มคนที่ใช้ภาษา เช่น ถ้อยคาที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์และพระราชวงศ์ อาจใช้ถ้อยคาอย่างหน่ึง ภาษาของ
นักเขียนหรือกวีที่ส่อื สารถึงผู้อ่าน ก็อาจจะใชภ้ าษาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น ดงั นั้นผู้ใช้ภาษาจึงต้องคานึงถึงความ

เหมาะสมและเลือกใช้ใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ และบุคคล ในภาษาไทย จะแบ่งระดับของภาษาเป็น 5
ระดบั คอื

2.1 ภาษาระดับพธิ ีการ เป็นภาษาทีใ่ ช้ในงานพระราชพิธหี รืองานพิธขี องรฐั
2.2 ภาษาระดับทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในที่ประชุมท่ีมีแบบแผนการบรรยาย การอภิปรายท่ีเป็น
ทางการ เปน็ ต้น
2.3 ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในการอภิปราย ประชุมกลุ่มในห้องเรียน การพูดทางวิทยุ
และโทรทัศน์ ข่าว และบทความในหนงั สือพิมพ์
2.4 ภาษาระดบั สนทนาทัว่ ไป เปน็ ภาษาท่ีใช้สนทนาท่วั ๆ ไป กบั คนที่ไม่คุ้นเคยมากนกั เช่น ครูพูดกับ
ผู้เรยี น เป็นตน้
2.5 ภาษาระดับกันเอง เป็นภาษาระดับท่ีเรียกว่าระดบั ภาษาปาก เปน็ ภาษาสนทนาของครอบครัว ใน
หม่เู พ่อื นสนทิ หรอื ญาติพีน่ อ้ ง พดู อยู่ในวงจากดั
3. เร่ืองของน้าเสียงในภาษา ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึกของผู้ส่งสารที่ปรากฏให้รู้สึกหรือ
เป็นร่องรอยในภาษาหรือเน้ือหาท่ีผู้ส่งสารต้องการจะสื่อออกมาเป็นความรู้สึกแฝงที่ปรากฏในการส่ือสาร ซึ่ง
นักโฆษณาประชาสัมพันธ์ต้องระมัดระวังมิให้มีน้าเสียงของภาษาออกมาในทางที่ไม่พึงประสงค์ หรือสร้าง
ความร้สู ึกทไี่ ม่ดแี กผ่ ูฟ้ งั
4. ด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางคร้ังนักโฆษณา-ประชาสัมพันธ์ต้องปรากฏตัวต่อบุคคลทั่วไปใน
งานต่างๆ จึงควรตอ้ งแต่งกายใหส้ ุภาพเรียบร้อย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่และงานทั่วไป ซ่ึงจะช่วยสรา้ ง
ความนา่ เช่อื ถอื แก่ผู้พบเห็นไดส้ ว่ นหนง่ึ
5. การพัฒนาองค์ความรู้ในตนเอง นักโฆษณา-ประชาสัมพันธ์ ต้องหมั่นแสวงหาความรู้ติดตาม
ข่าวสารข้อมูลทุกด้านอย่างสม่าเสมอ เพ่ือนามาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการโฆษณา-ประชาสัมพันธ์ให้
น่าสนใจอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งต้องแสวงหาความรู้ในด้านการประเมินผล เพื่อใช้ประโยชน์ในการประเมินผล
การปฏิบัติหนา้ ท่ขี องตนเองดว้ ยรปู แบบวิธีการตา่ งๆ ท่จี ะก่อใหเ้ กิดการพฒั นาอาชพี ใหด้ ีย่ิงข้ึน
แหลง่ ทค่ี วรศึกษาเพ่มิ เติม
แหล่งทีค่ วรศึกษาเพ่มิ เติมเพื่อเพิ่มพูนความร้ใู นอาชีพน้ี ได้แก่
1.สถาบันฝกึ อบรมของเอกชน ซ่ึงผเู้ รียนสามารถหาข้อมลู รายชื่อไดจ้ ากอินเตอร์เนต็
2. หน่วยงานของทางราชการ ได้แก่ กรมประชาสัมพันธ์ สถาบันส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยภาคตา่ งๆ
3. สถานศึกษาต่างๆ ของรัฐบาล เช่น ผู้ที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ต้อง ศึกษาต่อใน
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย และเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดับอุดมศกึ ษา คณะนิเทศศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์ คณะ
ศิลปะศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ ถ้าศึกษาต่อใน 2 คณะหลัง ต้องฝึกอบรมทางอาชีพเพ่ิมเติมจากสถาบัน
ฝกึ อบรมต่างๆ
2. อาชีพนักจัดรายการวิทยุ เป็นอาชีพท่ีผู้ประกอบการต้องเป็นคนที่ตรงต่อเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มี
ความเปน็ กลางในการนาเสนอข่าวสารขอ้ มลู รูจ้ ักแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าและต้องเพิ่มพูนความรู้ในเร่ืองการเขียน
และการพูด เพราะการเป็นนักจัดรายการวิทยุ ผู้จัดต้องเขียนสคริปท์ที่จะใช้ในการดาเนินรายการได้เอง และ
พูดตามสคริปท์ได้อย่างเป็นธรรมชาติ รวมทั้งต้องอ่านมาก ฟังมาก เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ใช้ในการจัดทา
รายการวทิ ยุ ซึ่งมสี ถานท่ีที่ผปู้ ระกอบการสามารถฝึกอบรมและศึกษาดงู านได้ท้งั ของภาครฐั และเอกชน

องค์ความรู้ท่คี วรศึกษาเพ่ิมเตมิ
ในการเพ่ิมพูนความรู้เพื่อการเป็นนักจัดรายการวิทยุที่ดี ผู้ประกอบอาชีพด้านน้ีควรศึกษาเนื้อหา

ความรู้ทีจ่ ะนามาใชใ้ นการพัฒนาอาชีพในเรอ่ื งต่อไปน้ี
1. ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะเปน็ อาชีพทีต่ ้องอาศัยศาสตร์ท้ังสองดา้ นประกอบกัน
2. ระดับของภาษา ซง่ึ เปน็ เรอื่ งของการศึกษาถงึ ความลดหลั่นของถอ้ ยคา และการเรยี บเรยี ง ถอ้ ยคาท่ี

ใชต้ ามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลทีเ่ ป็นผสู้ ่งสารและผ้รู บั สาร ซง่ึ กลุ่มบุคคลในสังคมแบ่ง
ออกเป็น หลายกลุ่ม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถ่ินท่ีอยู่อาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกต่างกันเป็นระดับ
ตามกลมุ่ คนท่ีใชภ้ าษา เช่น ถ้อยคาที่ใช้กับพระภิกษุสงฆแ์ ละพระราชวงศ์ อาจใช้ถ้อยคาภาษาอย่างหนึ่ง ภาษา
ของนักเขียนหรือกวีทีส่ ่ือสารถึงผอู้ ่าน ก็จะใช้ภาษาอีกอย่างหน่ึง เป็นต้น ดังน้ันผู้ใช้ภาษาจึงต้องคานึงถึงความ
เหมาะสม และเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ในภาษาไทยจะแบ่งระดับของภาษาเป็น 5
ระดบั คือ

2.1 ภาษาระดับพธิ กี าร เป็นภาษาทีใ่ ช้ในงานพระราชพิธี หรอื งานพธิ ีของรฐั
2.2 ภาษาระดับทางการ เป็นภาษาท่ีใช้ในที่ประชุมที่มีแบบแผน ในการบรรยาย การอภิปรายท่ีเป็น
ทางการ เป็นตน้
2.3 ภาษาระดับก่ึงทางการ เป็นภาษาที่ใช้ในการอภิปราย ประชุมกลุ่มในห้องเรียน การพูดทางวิทยุ
และโทรทศั น์ ขา่ ว และบทความในหนงั สอื พิมพ์ เปน็ ต้น
2.4 ภาษาระดับสนทนาท่ัวไป เป็นภาษาที่ใช้สนทนาท่ัวๆ ไปกับคนที่ไม่คุ้นเคยมากนัก เช่น ครูพูดกับ
ผู้เรยี น เปน็ ต้น
2.5 ภาษาระดับกันเอง เป็นภาษาระดับที่เรียกว่าระดับปากเป็นภาษาสนทนาของครอบครัว ในหมู่
เพอ่ื นสนทิ หรือญาติพี่นอ้ ง พดู อยใู่ นวงจากัด
3. เรื่องของน้าเสียงในภาษา ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีเกย่ี วกับอารมณ์ความรู้สึกของผู้ส่งสารที่ปรากฎใหร้ ู้สึกหรือ
เป็นร่องรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผู้ส่งสารต้องการจะสื่อออกมาเป็นความรู้สึกแฝงท่ีปรากฎในการส่ือสาร ซ่ึง
นกั จัดรายการวิทยุต้องระมัดระวังมิให้มีน้าเสียงของภาษาออกมาในทางท่ีไม่พึงประสงค์ หรือสร้างความรู้สึกที่
ไมด่ แี กผ่ ู้ฟัง
4. เรื่องของหลักการใช้ภาษา เช่น เรื่องของคาสรรพนามท่ีเกี่ยวกับบุคคล คาลักษณะนาม คาราชา
ศพั ท์ การออกเสียง ร ล และการออกเสียงคาควบกลา้
5.ด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางคร้ังนักจัดรายการวิทยุต้องปรากฏตัวต่อบุคคลทั่วไปในงานต่างๆ
จึงควรต้องแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย เหมาะกับกาลเทศะของสถานท่ีและงานท่ีไป ซ่ึงจะช่วยสร้างความ
นา่ เชอ่ื ถอื แกผ่ ้พู บเหน็ ไดส้ ว่ นหนง่ึ
6. การพัฒนาองค์ความรู้ในตนเอง นักจัดรายการวิทยุ ต้องหมั่นแสวงหาความรู้ติดตามข่าวสารข้อมูล
ทุกด้านอย่างสม่าเสมอ เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดรายการวิทยุให้น่าสนใจอยู่ตลอดเวลา
รวมทั้งต้องแสวงหาความรู้ในด้านการประเมินผล เพื่อใช้ประโยชน์ในการประเมินผลการปฏิบัติหน้าท่ีของ
ตนเองด้วยรปู แบบวิธีการต่างๆ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาอาชีพให้ดยี ่งิ ข้ึน
แหลง่ ทีค่ วรศกึ ษาเพิ่มเติม
แหลง่ ท่ีควรศกึ ษาเพิ่มเติมเพื่อเพมิ่ พนู ความรใู้ นอาชีพน้ี ได้แก่
1. สถาบนั ฝกึ อบรมของเอกชน ซ่งึ ผเู้ รยี นสามารถหาข้อมูลรายชอื่ ได้จากอินเตอร์เน็ต
2. หน่วยงานของทางราชการ ได้แก่ กรมประชาสัมพันธ์ สถาบันส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั ภาคตา่ งๆ

3. สถานศึกษาต่างๆ ของรัฐบาล เช่น ผู้ท่ีจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ต้องศึกษาต่อใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และเข้าศึกษาต่อในคณะนิเทศศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์
คณะอกั ษรศาสตร์ ถ้าเข้าศกึ ษาในคณะศิลปะศาสตร์ หรืออักษรศาสตร์ตอ้ งอบรมเพมิ่ เติมในเร่อื งเทคนิคการจัด
รายการวทิ ยุเพ่ิมเติม
3. อาชพี พธิ ีกร

เป็นอาชพี ท่ผี ู้ประกอบอาชีพต้องมีพื้นฐานความรใู้ นเร่ืองการพูดเปน็ อย่างดี เพราะเป็นอาชพี ทต่ี ้องใช้
การพูดเปน็ เครื่องมือในการส่ือสารกับผู้อ่ืน การใชค้ าพูดและถ้อยคาภาษาจึงเปน็ เรือ่ งสาคญั ต่อการสร้าง
ความรูส้ กึ ทีด่ หี รือไม่ดตี อ่ ผู้ฟงั นอกจากนี้บคุ ลกิ ภาพและการแต่งกายของผู้ทาหนา้ ที่พิธีกรกเ็ ป็นอีกเรือ่ งหน่ึงที่
จะดงึ ดูดความสนใจของผู้ฟัง รวมทง้ั ควรเปน็ ผทู้ ่ีตรงต่อเวลา เพอ่ื เปน็ ความเชื่อถือในวชิ าชพี ไดส้ ่วนหนึง่
องค์ความรทู้ ีค่ วรศึกษาเพิ่มเติม ในการเพม่ิ พนู องค์ ความรใู้ นการประกอบอาชพี พธิ กี ร ควรศึกษาเน้ือหาความรู้
ท่ีจะนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพในเรอื่ งต่อไปนี้

1. ศิลปะการพูดหรือศิลปะการใช้ภาษา เพราะอาชีพพิธีกร เป็นอาชพี ที่ตอ้ งอาศัยศาสตร์ (ความรู้)
และศลิ ป์ของการพดู เป็นอยา่ งมาก ซึ่งต้องอาศยั การฝึกฝนบ่อยๆ

2. ระดบั ของภาษา ซงึ่ เปน็ เรื่องของการศึกษาถงึ ความลดหลนั่ ของถ้อยคา และการเรียบเรียงถ้อยคาท่ี
ใช้ตามโอกาส กาลเทศะ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลที่เปน็ ผู้ส่งสารและผรู้ ับสาร ซึ่งกลุม่ บุคคลในสังคม
แบ่งออกเปน็ หลายกลุม่ หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถ่นิ ทอ่ี ยู่อาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมคี วามแตกต่างกนั เป็น
ระดบั ตามกลมุ่ คนทีใ่ ช้ภาษา เชน่ ถอ้ ยคาที่ใช้กบั พระภกิ ษสุ งฆแ์ ละพระราชวงศ์ อาจใช้ถ้อยคาภาษาอย่างหนึ่ง
ภาษาของนกั เขยี นหรือกวที ีส่ ่ือสารถึงผูอ้ ่าน ก็จะใชภ้ าษาอีกอย่างหนึ่ง เปน็ ตน้ ดังนน้ั ผู้ใช้ภาษาจึงต้องคานึงถงึ
ความเหมาะสม และเลือกใชใ้ ห้ถูกต้องเหมาะสม กับกาลเทศะและบุคคล ในภาษาไทยจะแบง่ ระดับของภาษา
เป็น 5 ระดบั คือ

2.1 ภาษาระดับพธิ กี าร เปน็ ภาษาทใ่ี ชใ้ นงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรัฐ
2.2 ภาษาระดับทางการ เป็นภาษที่ใช้ในที่ประชุมท่ีมีแบบแผน ในการบรรยาย การอภิปรายที่เป็น
ทางการ เป็นต้น
2.3 ภาษาระดับก่ึงทางการ เป็นภาษท่ีใช้ในการอภิปราย ประชุมกลุ่มในห้องเรียน การพูดทางวิทยุ
และโทรทศั น์ ขา่ ว และบทความในหนังสอื พิมพ์ เป็นตน้
2.4 ภาษาระดับสนทนาท่ัวไป เป็นภาษาท่ีใช้สนทนาท่ัวๆ ไปกับคนท่ีไม่คุ้นเคยมากนัก เช่น ครูพูดกับ
ผเู้ รียน เป็นต้น
2.5 ภาษาระดับกันเอง เป็นภาษาระดับที่เรียกว่าระดับปากเป็นภาษาสนทนาของครอบครัว ในหมู่
เพอื่ นสนิท หรอื ญาตพิ นี่ ้องพูดอย่ใู นวงจากัด
3. เร่ืองของน้าเสียงในภาษา ซึ่งเป็นเรื่องท่ีเก่ียวกับอารมณ์ ความรู้สึกของผู้ส่งสารท่ีปรากฏให้รู้สึก
หรอื เปน็ รอ่ งรอยในภาษา หรือเน้อื หาที่ผู้สง่ สารต้องการจะสื่อออกมา เปน็ ความรสู้ กึ แฝงท่ปี รากฏในการสื่อสาร
4. เรื่องของหลักการใช้ภาษา เช่น เร่ืองของคาสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คาลักษณะนาม คาราชา
ศัพท์ การออกเสียง ร ล และการออกเสยี งคาควบกลา้
5. เร่ืองของการพัฒนาบุคลิกภาพและการแต่งกาย ผู้ทาหน้าท่ีพิธีกร เป็นผู้ที่ต้องปรากฏกายต่อหน้า
คนจานวนมาก บุคลิกภาพและการแต่งกาย จึงเป็นเร่ืองสาคัญท่ีจะปรากฏเป็นสิ่งแรกให้ผู้ท่ีพบเห็นเกิดความ
ประทับใจหรือไม่ ถ้าประทับใจผู้คนจะจดจ่อรอฟังการพูดเป็นประการต่อมา ถ้าผู้พูดสามารถพูดได้ประทับใจ
จะก่อเกดิ เป็นความนยิ มชมชอบตามมาและจะก่อเกิดเป็นความสาเรจ็ ของอาชีพในท่ีสุด

6. ด้านการพัฒนาองค์ความรู้ในตนเอง พิธีกรต้องหม่ันแสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ
อาชีพ เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาอาชพี ของตนเอง เช่น เร่ืองของการวัดผลประเมินผลการทาหนา้ ที่ของตนเองด้วย
รูปแบบวิธีการต่างๆ ซึง่ จะกอ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาอาชีพใหด้ ียิ่งข้ึน
แหลง่ ที่ควรศึกษาเพ่มิ เตมิ
แหล่งทีค่ วรศึกษาเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในอาชีพนี้ ไดแ้ ก่

1. สถาบันฝกึ อบรมของเอกชน ซ่งึ ผเู้ รียนสามารถหาขอ้ มลู รายช่ือได้จากอินเตอรเ์ นต็
2. หน่วยงานของทางราชการ ได้แก่ กรมประชาสัมพันธ์ สถาบันส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั ภาคตา่ งๆ
3. สถานศึกษาต่างๆ ของรัฐบาล เช่น ผู้ท่ีจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ต้องศึกษาต่อใน
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดับอุดมศกึ ษา คณะนิเทศศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์ คณะ
ศิลปศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ ถ้าเข้าศึกษาในคณะศิลปศาสตร์หรืออักษรศาสตร์ต้องอบรมเพิ่มเติมในเร่ือง
เทคนิคการจดั รายการวิทยุเพ่มิ เตมิ

การใช้ภาษาไทยมีส่วนสำคัญต่อการประกอบอาชีพการงานอย่างไร

ความสำคัญของการใช้ภาษาในงานอาชีพ 1.1 เป็นเครื่องมือสื่อสารในการติดต่อสื่อสาร 1.2 เป็นเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูล 1.3 เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ข้อมูล 1.4 สร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีทั้งในองค์กรและภายนอกองค์กร

ใช้ภาษาไทยอย่างไรในงานอาชีพ

การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพได้อย่าง มีประสิทธิภาพผู้ใช้ภาษาต้องมีความรู้ในการเลือกใช้ภาษาให้ ถูกประเภท ถูกระดับภาษา รวมทั้งการใช้ถ้อยค า ส านวนใน การสื่อสารได้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาส สถานการณ์ และฐานะ ของบุคคล เพื่อสร้างความประทับใจแก่ผู้รับสาร

อาชีพใดใช้ภาษาไทยมากที่สุด

ล่ามเป็นอาชีพที่มีความใกล้ชิดกับภาษามากที่สุด อีกทั้งยังเป็นอาชีพที่ได้รับการยอมรับว่า ให้ผลตอบแทนที่สูงและมีความมั่นคง โดยเฉพาะล่ามที่อยู่ในภาคธุรกิจนั้น ได้รับผลตอบแทนที่ดีมากเป็นพิเศษ และก่อนที่จะมาเป็นล่ามได้นั้น จะต้องมีความเข้าใจการใช้ภาษานั้น ๆ อย่างครบครันก่อน

กลุ่มอาชีพที่ใช้ทักษะภาษาไทยมี 4 ทักษะอะไรบ้าง

1. ทักษะการฟัง การดู การพูด 2. หลักการใช้ภาษา ระดับพื้นฐาน ได้แก่ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ 3. ทักษะการอ่าน 4. ทักษะการเขียน