สาขาคอมพิวเตอร์ ปวช มีอะไรบ้าง

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ในเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกิดขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่อง เช่น เครือข่ายสื่อสารไร้สาย (Wireless Network) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารธุรกิจ เป็นต้น และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ในการแก้ปัญหาด้านธุรกิจและด้านต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมตรงต่อความต้องการขององค์กร หน่วยงาน และสถานประกอบการ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติจริง ออกแบบสร้างนวัตกรรมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทันสมัย

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีหลักสูตรการเรียนการสอน 

  1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
    – ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เรียนภาคปกติ /ภาคพิเศษ หลักสูตร 3 ปี
  2. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 
    – ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เรียนภาคปกติ/ภาคพิเศษ หลักสูตร 2 ปี

โอกาสความก้าวหน้า

ศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชนในสาขาวิชา

วิทยาการจัดการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิศวกรรมเครือข่ายและความปลอดภัย

แอนิเมชันและมัลติมีเดีย

คอมพิวเตอร์กราฟิก

กราฟิกดีไซน์

การจัดการอุตสาหกรรม

เกมส์และสื่ออินเตอร์เน็ต

สาขาคอมพิวเตอร์ ปวช มีอะไรบ้าง

ความรู้ที่จะได้รับ

  • การใช้โปรแกรม Microsoft, Adobe
  • การจัดการระบบสารสนเทศ
  • การจัดการฐานข้อมูลทางด้านธุรกิจ
  • ระบบสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย
  • การออกแบบผลงานด้านกราฟิก

  • การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
  • การเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง
  • การเขียนโปรแกรมเว็บไซต์
  • การใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
  • การผลิตสื่อ/วีดิโอ

แผนการเรียนในระดับชั้น ปว

แผนการเรียนในระดับชั้น ปวส. (ม.6)

อาชีพที่รองรับ เมื่อสำเร็จการศึกษา

โปรแกรมเมอร์

นักพัฒนาแอพพลิเคชั่น

ผู้ดูแลระบบเน็ตเวิร์ค

นักออกแบบสื่อ/ตัดต่อสื่อ

นักพัฒนาเว็บไซต์

นักวิเคราะห์และอกกแบบระบบ

                จบแล้ว เป็นเรื่องที่ยาวมากแต่ก็ยังไม่ละเอียดที่สุด ยังไงประสบการณ์ต่าง ๆ ก็จะให้ได้อ่านในบทความต่อไป ซึ่งก็ปน ๆ กันไปกับสาระบ้างครับ ขอบคุณสำหรับท่านผู้อ่านที่อ่านมาถึงนะจุด ๆ นี้ด้วยนะครับ เป็นประสบการณ์ครั้งแรกเหมือนกันที่ได้เขียนบทความแบบนี้ และจะพยายามทำบทความที่เป็นเนื้อหาสาระดี ๆ ให้ได้อ่านกันนะครับ

เน้นการศึกษาและปฎิบัติงานพื้นฐานอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักการและกระบวนการแสดงความรู้ หลักการและกระบวนการของการเป็นผู้ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ

นักเรียนจะได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง โดยเริ่มจากการเรียนงานคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการเรียนเพื่อต่อยอดแขนงต่างๆของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ งานเขียนโปรแกรมพัฒนาระบบงาน โปรแกรมประยุกต์ขนาดเล็ก โปรแกรมจัดการงานคอมพิวเตอร์ แก้ไขปรับปรุงโปรแกรมให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้งาน

นอกจากนี้ยังศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบวางแผนการจัดการ ปรับปรุง พัฒนาระบบเครือข่าย ระบบและโปรแกรมในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา ระบบในอุปกรณ์สมองกลฝังตัว การพัฒนาเกมและแอนิเมชัน

เน้นการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ด้านงานธุรกิจ เช่น Bl (Business Intelligence) ที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ และระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) สำหรับการวางแผนการบริหารธุรกิจขององค์กร ซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของภาคธุรกิจ โดยตลอดหลักสูตรการเรียนจะเน้นการฝึกทักษะสู่ภาคปฎิบัติจริงกับอุปกรณ์ และผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรมในห้องปฎิบัติการที่ทันสมัย

2000*1101 ถึง 2000*1199 รายวิชาในกลุ่มวิชาภาษาไทยที่สถานศึกษาอาชีวศึกษา * - * - * หรือสถาบันพัฒนาเพิ่มเติม

     1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2000-1201
2000-1202
2000-1203
2000-1204
2000-1205
2000-1206
2000-1208
2000-1209
2000-1210
ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง
ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง
ภาษาอังกฤษฟัง – พูด
ภาษาอังกฤษฟัง – พูด
การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ในชวีิตประจําวัน
การเขียนในชวีิตประจําวัน
ภาษาอังกฤษสําหรับงานพาณิชย์
การโต้ตอบจดหมายธุรกิจ
ภาษาอังกฤษสําหรับคอมพิวเตอร์1 2 - 0 - 2
2 2 - 0 - 2
1 0 - 2 - 1
2 0 - 2 - 1
   0 - 2 - 1
   0 - 2 - 1
   0 - 2 - 1
   0 - 2 - 1
   0 - 2 - 1

2000*1201 ถึง 2000*1299 รายวิชาในกลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศที่สถานศึกษาอาชวศึกษา * - * - * หรือสถาบันพัฒนาเพิ่มเติม

      1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หนวยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2000-1301
2000-1303วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ1 - 2 - 2
1 - 2 - 2

2000*1301 ถึง 2000*1399 รายวิชาในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ที่สถานศึกษาอาชีวศึกษา * - * - * หรือสถาบันพัฒนาเพิ่มเติม

      1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หนวยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2000-1401
2000-1402
2000-1406
คณิตศาสตร์พื้นฐาน
คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
คณิตศาสตร์พาณิชยกรรม2 - 0 - 2
2 - 0 - 2
2 - 0 - 2

2000*1401 ถึง 2000*1499 รายวิชาในกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ที่สถานศึกษาอาชีวศึกษา * - * - * หรือสถาบันพัฒนาเพิ่มเติม

      1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา (ไม่น้อยกว่า 3 หนวยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2000-1501
2000-1502
2000-1503
2000-1504
2000-1505
2000-1506
หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม
ทักษะชีวิตและสังคม
ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตรไทย
อาเซียนศึกษา
เหตุการณ์ปัจจุบัน
วัฒนธรรมอาเซียน2 - 0 - 2
2 - 0 - 2
2 - 0 - 2
1 - 0 - 1
1 - 0 - 1
1 - 0 - 1

2000*1501 ถึง 2000*1599 รายวิชาในกลุ่มวิชาสังคมศึกษาที่สถานศึกษาอาชีวศึกษา * - * - * หรือสถาบันพัฒนาเพิ่มเติม

     1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (ไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2000-1601
2000-1602
2000-1603
2000-1604
2000-1605
2000-1606
2000-1607
2000-1608
2000-1609
2000-1610
พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ
ทักษะชวีิตในการพัฒนาสุขภาพ
การออกกําลังกายเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพในการทํางาน
การป้องกันตนเองจากภัยสังคม
พลศึกษาเพื่อพัฒนากายภาพเฉพาะทาง
การจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข
เพศวิถีศึกษา
สิ่งเสพติดศึกษา
ทักษะการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพชีวิต0 - 2 - 1
0 - 2 - 1
0 - 2 - 1
0 - 2 - 1
0 - 2 - 1
1 - 0 - 1
1 - 0 - 1
1 - 0 - 1
1 - 2 - 2
1 - 2 - 2

2000*1601 ถึง 2000*1699 รายวิชาในกลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา * - * - * ที่สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรอสถาบันพัฒนาเพิ่มเติม

2 หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 71 หน่วยกิต
      2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (18 หน่วยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2001-1001
2001-2001
2200-1001
2200-1002
2200-1003
2200-1004
2200-1005
2200-1006 2200-1007
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
การบัญชีเบื้องต้น
การบัญชีเบื้องต้น
การขายเบื้องต้น
การขายเบื้องต้น
พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น
พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น   2 - 0 - 2
   1 - 2 - 2
   2 - 0 - 2
1 1 - 2 - 2
2 1 - 2 - 2
1 2 - 0 - 2
2 1 - 2 - 2
   1 - 2 - 2
   1 - 2 - 2


     รายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถเลือกรายวิชาต่อไปนี้ไปใช้ในกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก หรือหมวดวิชาเลือกเสรีได้

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2001-1002
2001-1003
2001-1004
2001-1005
2001-1006
2001-1007การเป็นผู้ประกอบการ
พลังงานและสิ่งแวดล้อม
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ
กฎหมายแรงงาน
ความปลอดภัยในงานอาชีพ2 - 0 - 2
1 - 2 - 2
1 - 2 - 2
1 - 0 - 1
1 - 0 - 1
1 - 0 – 1


     2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (24 หน่วยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2204-2001
2204-2002
2204-2003
2204-2004
2204-2005
2204-2006
2204-2007
2204-2008
2204-2009
คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์และการบํารุงรักษา
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
การสร้างเว็บไซต์ 1 - 2 - 2
 2 - 2 - 3
 1 - 2 - 2
 1 - 2 - 2
 2 - 2 - 3
 2 - 2 - 3
 2 - 2 - 3
 2 - 2 - 3
 2 - 2 - 3


      2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2204-2101
2204-2102
2204-2103
2204-2104
2204-2105
2204-2106
2204-2107
2204-2108
2204-2109
2204-2110
2204-2111
2204-2112
องค์ประกอบศิลป์สําหรับงานคอมพิวเตอร์
ภาษาอังกฤษปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
โปรแกรมตารางคํานวณ
การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
โปรแกรมกราฟิก
โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอ
การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิกโหมด
โปรแกรมประมวลผลคํา
โปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ
ธรรมาภิบาลเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร
อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ
กฎหมายคอมพิวเตอร์1 - 2 - 2
1 - 2 - 2
2 - 2 - 3
2 - 2 - 3
2 - 2 - 3
2 - 2 - 3
2 - 2 - 3
1 - 2 - 2
1 - 2 - 2
1 - 2 - 2
1 - 2 - 2
2 - 0 - 2

2204*2101 ถึง 2204*2199 รายวิชาชีพเลือกที่สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน * - * - * พัฒนาเพิ่มเติมตามความต้องการของสถานประกอบการ หรือตามยุทธศาสตร์ของภูมิภาค

     รายวิชาทวิภาคี

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2204-5101
2204-5102
2204-5103
2204-5104
2204-5105
2204-5106ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1
ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2
ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3
ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4
ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 5
ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 6* - * - *
* - * - *
* - * - *
* - * - *
* - * - *
* - * - *

สําหรับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิตนั้น ให้สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการวิเคราะห์ลักษณะงานของสถานประกอบการ เพื่อกําหนดจํานวนหน่วยกิตและรายละเอียดของแต่ละรายวิชา รวมทั้งการจัดทําแผนการฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผลรายวิชา
โดยให้ใช้เวลาฝึกในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต

     2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4 หนวยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2204-8001
4 2204-8002
2 2204-8003
 ฝึกงาน
ฝึกงาน 1
ฝึกงาน 2* - * -
* - * -
* - * -


     2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี (4 หนวยกิต)

 รหัสวิชา ชื่อวิชา  ทฤษฏี - ปฏิบัติ - หน่วยกิต2204-8501
2204-8502
2204-8503โครงการ
โครงการ 1
โครงการ 2
* - * - 4
* - * - 2
* - * - 2


3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต
   ให้เลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจจากรายวิชาที่กําหนด หรือเลือกเรียนจากรายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
   พุทธศักราช 2556 ทุกประเภทวิชาสาขาวิชา ทั้งนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันสามารถพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมในหมวดวิชา
   เลือกเสรีได้ ตามบริบท และความต้องการของชุมชน และท้องถิ่น

4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์) สถานศึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์