ระบบเศรษฐกิจของไทยมีข้อดีอย่างไร

ระบบเศรษฐกิจนี้อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทั้งทรัพยากรต่างๆและปัจจัยการผลิตทุกชนิด เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์ในการเลือกใช้ปัจจัยการผลิตได้ กลไกราคาไม่มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การตัดสินใจมักจะทำอยู่ในรูปของการวางแผนแบบบังคับ จากส่วนกลาง (central planning) โดยคำนึงถึงสวัสดิการของสังคมเป็นสำคัญ

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

1.เป็นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดปัญหาการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ของบุคคลในสังคม

2.ภายใต้ระบบเศรษฐกิจนี้เอกชนจะทำการผลิตและบริโภคตามคำสั่งของรัฐ

1.ประชาชนไม่มีเสรีภาพในการผลิตหรือบริโภคอะไรได้ตามใจ

2.สินค้ามีคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควรเนื่องจากผู้ผลิตขาดแรงทุนทรัพย์ในการผลิต

3.การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ

�к����ɰ�Ԩ�
           ����ѡɳС�ô��Թ�Ԩ�����ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ�����ѧ��� ���ͺ���بش�����٧�ش�ҧ���ɰ�Ԩ (����ՠ �Թ�ՠ ��觤��)� ����Ǵ������лѨ��µ�ҧ � �ͧ�����ѧ����ҧ�ѹ� �֧������ѡɳС�ô��Թ�Ԩ�����ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ�����ѧ��ᵡ��ҧ�ѹ�
          �к����ɰ�Ԩ��š��������������¹�� ���� 4 �к� ��� �к��ع���� �������չ��� �к������ǹ�ʵ� �к��ѧ������ ����к����ɰ�ԨẺ���
          Ἱ���Է���ʴ������繶֧�����Ѻ�Դ�ͺ㹡�ô��Թ�Ԩ�����ҧ���ɰ�Ԩ�����ҧ�Ѱ��šѺ�͡��� ������к����ɰ�Ԩ� ����մѧ���

   �к����ɰ�Ԩ�ع���� �������չ���          �͡��   �к����ɰ�Ԩ�ѧ������          �Ѱ��� > �͡��   �к����ɰ�ԨẺ���          �͡�� + �Ѱ���
�ѡɳ��蹵�ҧ � ��ʹ���Т�����¢ͧ�к����ɰ�Ԩ��ҧ �

- �Ѱ�������Ңͧ�Ѩ���
  ��ü�Ե��������ԧ

- �Ѱ����繼��ӡԨ����
   �ҧ���ɰ�Ԩ������

- �͡��������Է�Է�   �Ԩ�������ɰ�Ԩ� �

- �Ѱ�������Ңͧ�Ѩ���
  ��ü�Ե����Ӥѭ- �Ѱ��ŷӡԨ�����ҧ
  ���ɰ�Ԩ����բ�Ҵ�˭������
  �٧����Ǣ�ͧ�Ѻ��ЪҪ��ҡ �

- �͡�����Է�ԷӸ�áԨ��ҧ �
  ����Ѱ�������
  (��áԨ��Ҵ���)�

- �Ѱ��ŨѴ���ʴԡ�����
  ���ЪҪ�

- �к��ع�����Ѻ�ѧ��

- �Ԩ�����ҧ���ɰ�Ԩ��ǹ�˭�
  �繢ͧ�͡�� ����͹�ع����

- �Ѱ�������ҷӸ�áԨ����
   ������ͧ�Ż���ª��
   ������ЪҪ�

- �к��ع�����Ѻ�ѧ��

- �Ԩ�����ҧ���ɰ�Ԩ��ǹ�˭�
  �繢ͧ�͡�� ����͹�ع����

- �Ѱ�������ҷӸ�áԨ����
  ������ͧ�Ż���ª��
  ������ЪҪ�

- �͡������ͧ�Ѻ�Դ�ͺ
  �ҧ��ҹ���ɰ�Ԩ

- ��Ѿ�ҡö١�Ǻ���
  �����ҡ�Ѱ��������١�����

- ��á�Ш�������� ����
  �������ǹ�˭��繢ͧ�Ѱ
   ��ЪҪ����������
  ���ᵡ��ҧ �ѹ�ҡ

- ��ЪҪ����Ѻ��ä�����ͧ��
  ����ª��ҡ�Ѱ��ٻ�ͧ
  ���ʴԡ������Թ��Һ�ԡ��
  ����Ѱ��

- ��ЪҪ��������Ҿ�ҧ
   ���ɰ�Ԩ

- �Թ�����к�ԡ�����ҡ
   �س�Ҿ������Ҥ����

-  ��ЪҪ����Ѻ��ä�����ͧ
   �Ż���ª��ҡ�Ѱ���
   ��ٻ�ͧ���ʴԡ�ø�áԨ���
   �������ä�ͧ�վ

- �͡���ա��ѧ�㹡�÷�
  ��áԨ�����ա������ç�٧�

-��͡���������Ҿ�ҧ���ɰ�Ԩ

- �Թ�����к�ԡ�����ҡ
  �س�Ҿ������Ҥ����

- �Ѱ����ͧ�Ѵ��ç�����ҳ
  �ҷӸ�áԨ

��

- ��ЪҪ�������Է�������Ҿ
  �ҧ���ɰ�Ԩ
  (�Ѱ��ŷӷ�����) �

- �Թ�����к�ԡ���չ���
  ��д��¤س�Ҿ
  ��������ա���觢ѹ

- �ż�Ե��� ����
  ��ЪҪ�����բ�ѭ���
  ���ѧ�㹡�÷Ӹ�áԨ�

- �͡���١�ӡѴ�Է�������Ҿ
  �ҧ��ǹ

- �Ѱ��ŵ�ͧ�Ѵ��ç�����ҳ
  �ҷӸ�áԨ����ѡ�ТҴ�ع
  �Ԩ������ҧ � �դس�Ҿ���

- �Ѱ��ŵ�ͧ�Ѵ��ç�����ҳ
  �ҷӸ�áԨ��ѡ�ТҴ�ع

- ��á�Ш����������ՠ
  �����������ǹ�˭�
  �����·ع

- ��ЪҪ��Ҩ�ջѭ�Ҩҡ�Ҥ�
  �Թ��ҢҴ�Ź���ͧ�ҡ��·ع
  �����ǡѹ

- ������Ѿ�ҡÿ������ 


          �к����ɰ�ԨẺ��� ����к�������Ѻ��������������� ��л�����¡��頠 �к����

ระบบเศรษฐกิจของไทยมีข้อดีอย่างไร

ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ             หมายถึง การรวมตัวกันเป็นกลุ่มของหน่วยเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลหรือสถาบันที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่างในทางเศรษฐกิจ เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและพัฒนาระบบเศรษฐกิจให้มีความเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น  การจำแนกระบบเศรษฐกิจ
การตัดสินปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจมีหลายวิธี โดยจะเลือกวิธีใดขึ้นอยู่กับระบบเศรษฐกิจของสังคมนั้น โดยทั่วไปนิยมแบ่งระบบเศรษฐกิจออกเป็น 4 ระบบ ดังนี้
1.ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของทรัพยากรต่างๆ รวมทั้งปัจจัยการผลิตทุกชนิด เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์ ตลอดจนเสรีภาพที่จะเลือกใช้ปัจจัยการผลิตได้ รัฐบาลเป็นผู้ประกอบการและทำหน้าที่จัดสรรทรัพยากรต่างๆ หน่วยธุรกิจและครัวเรือน จะผลิตและบริโภคตามคำสั่งของรัฐ กลไกราคาไม่มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจกระทำโดยรัฐบาล จะมีลักษณะเด่นอยู่ที่การรวมอำนาจทุกอย่างไว้ที่ส่วนกลาง ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ จุดเด่นของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ก็คือ เป็นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ของบุคคลในสังคม ภายใต้ระบบเศรษฐกิจนี้เอกชนจะทำการผลิตและ บริโภคตามคำสั่งของรัฐ ผลผลิตที่ผลิตขึ้นมาจะถูกนำส่งเข้าส่วนกลาง และรัฐจะเป็นผู้จัดสรรหรือแบ่งปัน สินค้าและบริการดังกล่าวให้ประชาชนแต่ละคนอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่มีการได้เปรียบหรือเสียเปรียบ ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ ประชาชนไม่มีเสรีภาพที่จะผลิตหรือบริโภคอะไรได้ตามใจเพราะจะถูกบังคับหรือสั่งการจากรัฐ สินค้ามีคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ผลิตขาดแรงจูงใจ และการใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากรัฐบาลไม่สามารถที่จะมีข่าวสารที่สมบูรณ์ในทุก ๆ เรื่อง
2. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปเลือกตัดสินใจดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสามารถและโอกาสของตนโดยอาศัยตลาดและราคาในการเลือก โดยรัฐหรือเจ้าหน้าที่จากส่วนกลางมีบทบาทเกี่ยวข้องน้อยมาก
ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ได้แก่
- ทรัพย์สินและปัจจัยการผลิตเป็นของเอกชน
- เอกชนเป็นผู้ดำเนินการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยผ่านกลไกราคา และมีกำไรเป็นแรงจูงใจ            - มีการแข่งขันเป็นรากฐานของระบบเศรษฐกิจ
- รัฐไม่เข้าแทรกแซงทางเศรษฐกิจ มีบทบาทเพียงการรักษาความสงบเรียบร้อย ความยุติธรรม
ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม              คือ ประชาชนสามารถใช้ความรู้ความสามารถ โอกาส ความคิดริเริ่ม ของตนในการผลิตและบริโภคเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจของตนได้อย่างเต็มที่
ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คือ จากความสามารถและโอกาสของบุคคลที่แตกต่างกัน ทำให้มีระดับรายได้แตกต่างกัน นำไปสู่ปัญหาการกระจายรายได้ระหว่างคนรวยกับคนจน ส่วนการผลิตในระบบทุนนิยมเป็นที่มาของการแข่งขันกันผลิต นำไปสู่การทำลายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติจนกลายเป็นปัญหาของโลกในปัจจุบัน
ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น อังกฤษ สิงคโปร์

3. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต วางแผนและควบคุมการผลิตบางประเภท โดยเฉพาะการผลิตที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกันของประชาชน เช่น การสาธารณูปโภค ต่างๆ สถาบันการเงิน ป่าไม้ เอกชนถูกจำกัดเสรีภาพในกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะส่วนที่เป็นผลประโยชน์ของส่วนรวม ดำเนินการได้เพียงอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมขนาดย่อม ทั้งนี้เพื่อแก้ไขปัญหาความแตกต่างด้านฐานะระหว่างคนรวยและคนจน
ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ได้แก่
- รัฐคุมการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกรูปแบบ
- ไม่มีการแข่งขันเกิดขึ้น     -รัฐสั่งการผลิตคนเดียว
- มีการวางแผนจากส่วนกลาง
ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม คือ สร้างความเสมอภาคด้านฐานะทางเศรษฐกิจของบุคคลในสังคม ประชาชนได้รับสวัสดิการจากรัฐบาลกลางโดยเท่าเทียมกันและสามารถกำหนดนโยบายเป้าหมายตามที่รัฐบาลกลางต้องการได้
ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม  คือ ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน เศรษฐกิจของประเทศอาจเผชิญวิกฤติหากรัฐกำหนดความต้องการผิดพลาดและการไม่มีระบบแข่งขันแบบทุนนิยมทำให้ไม่มีการพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ
ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เช่น เกาหลี ลาว เวียดนาม

4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจที่ผสมระหว่างระบบทุนนิยมกับสังคมนิยม มีรัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตหรือควบคุมการผลิตขนาดใหญ่ แต่ปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่เป็นของเอกชน การกำหนดราคาขึ้นกับกลไกแห่งราคาของตลาด
ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบผสม ได้แก่
- เอกชนมีเสรีภาพ
- มีการแข่งขัน แต่รัฐอาจแทรกแซง การผลิตได้บ้าง
- รัฐดำเนินกิจการบางอย่างในรูปของรัฐวิสาหกิจ เช่น สาธารณูปโภค ( ไฟฟ้า ประปา )
- มีการวางแผนจากส่วนกลางและมีสวัสดิการจากรัฐ
ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เช่น ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา พม่า เป็นต้น

ระบบเศรษฐกิจของไทยมีข้อดีอย่างไร

http://mosszyeuei.blogspot.com/

ระบบเศรษฐกิจของไทยมีข้อดีอย่างไร