เอกสาร ยื่น ประกันสังคม มาตรา 39

กระทู้คำถาม

ประกันสังคม สำนักงานประกันสังคม

คือจะไปทำประกันสังคม ม.39 ต้องใช้เอกสารอะไรบ้างค่ะ ต้องมีเอกสารจากทางที่ทำงานเก่าไหม... ถ้ามีจะเป็นเอกสารประมาณไหน ขอบคุณค่ะ

0

0

เอกสาร ยื่น ประกันสังคม มาตรา 39

สมาชิกหมายเลข 3992738

กำลังโหลดข้อมูล...

แสดงความคิดเห็น

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

++ ไปทำประกันตน มาตรา 39 นาน ไหมครับ / มอบอำนาจให้คนอื่นไปทำแทนได้หรือเปล่า

ไม่ค่อยสะดวกไปทำเอง ไม่ทราบว่า ใช้เวลานานไหมครับ แล้วใช้เอกสารหลักฐานอะไรนอกเหนือจาก บัตร ปชช. ทะเบียนบ้านไหมครับ แล้วก็ถ้าจะมอบอำนาจให้คนอื่นไปทำแทน ได้ไหมครับ ขอบคุณครับ

Sir Isaac

เจ้าของธุรกิจ

มนุษย์เงินเดือน

การเงิน

การส่งเงินประกันสังคม กรณีที่เราเลิกทำงานแล้ว (ส่งตัวเอง)

กรณีที่เราลาออกจากพนักงานบริษัท เราส่งขั้นสูงสุด เป็นเวลา 24 ปี แล้ว แต่เราลาออกจากงาน เพื่อไปทำธุรกิจส่วนตัว ตอนนี้อายุ 47 ปี เราสามารถส่งประกันตนเองไปเรื่อย ๆ ได้ถึงอายุเท่าไหร่ค่ะ เพื่อที่จะเอาสิท

Green-apple

ประกันสังคม

ประกันสุขภาพ

ทรัพยากรบุคคล

กฎหมายแรงงาน

พนักงานบริษัท

บริษัทยื่นประกันสังคมครั้งแรก ใช้เอกสารอะไรและมีขั้นตอนการยื่นอย่างไร (PLEASE)

พอดี จะยื่นสังคมของบริษัทเปิดใหม่ ลองอ่านดูในอินเตอร์เนตเเล้วแต่ยังไม่ชัวร์ เลยขอความรู้จากกูรู ในพันทิป เพื่อเพิ่มความมั่นใจกิกิ ตามหัวข้อกระทู้เลยจ้ะ - ใช้เอกสารอะไร - ใช้แบบ ประกันสังคม อะไรบ้าง (ท

สมาชิกหมายเลข 2256262

มนุษย์เงินเดือน

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีนิติบุคคล

บัญชี

เจ้าของธุรกิจ

ประกันสังคมมาตรา33 กับมาตรา39ต่างกันอย่างไรค่ะ

ประกันสังคมมาตรา33 กับมาตรา39 ต่างกันอย่างไรค่ะ มาตรา39สิทธิในการรักษาโรคหรือสิทธิอื่นๆ เหมือนมาตรา33ทุกประการรึเปล่าค่ะ หรือลดหย่อนกว่า แล้วถ้าเราทำงานประจำอยู่ ได้ประกันสังคมมาตรา33มาได้9ปี แล้วเราจ

สมาชิกหมายเลข 1288831

ประกันสังคม

ทำประกันสังคม กี่เดือนถึงจะได้บัตร

ผมสมัครทำงานบริษัทแห่งหนึ่ง เค้าให้สมัครประกันสังคมตั้งแต่วันแรกที่เริ่มมาทำงาน (เค้าให้สมัครเลย ทำงานวันแรก ยังไม่ได้ผ่านโปร) ตอนนี้ผมทำงานมา 4 เดือนกว่าๆ แล้ว ผมยังไม่ได้บัตรประกันสังคมเลย (ผมจ่ายทุ

สมาชิกหมายเลข 1450751

มนุษย์เงินเดือน

พนักงานบริษัท

มีประกันสังคมมาตรา40จะเปลี่ยนเป็นมาตรา33

พอดีตอนนี้ทำประกันสังคมมาตรา40อยู่ค่ะ แต่พอดีได้งานประจำ และต้องทำประกันสังคมมาตรา33 อยากทราบว่า 1.ต้องไปแจ้งลาออกจากมาตรา40ไหมคะ 2.ต้องส่งเงินสมทบของมาตรา40ทุกเดือนเหมือนเดิมไหมคะ 3.ถ้าในอนาคตออกจากง

สมาชิกหมายเลข 5611195

ประกันสังคม ม.33??

อยากสอบถามค่ะ ว่าเราประสบอุบัติเหตุหน้างาน เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลรัฐ มีค่าใช้จ่ายในการรักษา72,600บาท ซึ่งทางบริษัทที่ทำงานออกค่ารักษาให้50,000บาท อีก22,600บาท เราต้องไปยื่นเรนเื่องกับทางประกันสังคม

สมาชิกหมายเลข 4837410

เปลี่ยน ม.33 เป็น ม.39 รออัพเดตสถานะกี่วันคะ

สวัสดีค่ะ พอดีลาออกจากงานวันที่ 20 มีนาคม 2565 ค่ะ เพิ่งไปยื่นเรื่องเปลี่ยนจาก ม.33 เป็น ม.39 มาเมื่อวาน คือ วันที่ 12 กันยายน 2565 ค่ะ วันนี้เลยลองเข้าเช็คสถานะในระบบดู กลับขึ้นสถานะว่า "ไม่เป็น

สมาชิกหมายเลข 4909250

ประกันโควิดเจอ จ่าย จบ มีใครได้เงินแล้วบ้าง #เมืองไทยประกันภัย

เคลมประกันโควิด อสม เมืองไทยประกันภัย ส่งเอกสารไปหลายเดือนแล้วเจ้าหน้าที่แจ้งว่ากำลังนำเอกสารเข้าระบบ จนตอนนี้ยังไม่รู่ว่าถึงขั้นตอนไหนแล้วเงินเยียวยายังไม่ได้เลย น.ส สุนิดา นนทะโคตร CV20220902279

สมาชิกหมายเลข 7217917

สอบถามเรื่องประกันสังคมม.39 หน่อยครับ

ตอนนี้มาทำงานที่ต่างประเทศครับ แต่ยััังส่งประกันสังคมม.39อยู่ ในความรู้สึกว่าไม่ได้ใช้ประโยชน์จากประกันสังคมอะไร เลยอยากถามว่าควรส่งต่อดีไหมครับ กว่าจะได้กลับไทยตั้งหลายปีครับ #ขอบคุณครับ

สมาชิกหมายเลข 4221979

อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ  ประกันสังคม สำนักงานประกันสังคม

แรงงาน

17 มี.ค. 2565 เวลา 12:12 น.127.5k

อัปเดต "เงินชดเชยขาดรายได้" ประกันสังคม ม.33 ม.39 ม.40 ยังไม่ได้เงินทำยังไง เช็กที่นี่ด่วน ตรวจสอบความคืบหน้า และวิธีแก้ปัญหา

ติดตามอัปเดต เช็คสิทธิประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 และ ม.40 หากติดเชื้อ "โควิด" สามารถยื่นขอรับ "เงินชดเชยขาดรายได้" จากสำนักงานประกันสังคม

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

  • ประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 ติดโควิด ยื่นรับเงินขาดรายได้ เช็คเลย

  • ประกันสังคม ม.33 ม.39 ม.40 ยื่นรับ "เงินขาดรายได้" หลังหายป่วยโควิด เช็กที่นี่


กรณีเกิดคำถามว่า ยังไม่ได้ "เงินชดเชยขาดรายได้" ดังกล่าว ซึ่งเจ้าหน้าที่ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ชี้แจง ผู้ประกันตน มาตรา 33 มาตรา 39 และ มาตรา 40 ที่รักษาตัวหายจากโรคโควิด-19 แล้ว ไปติดต่อขอรับเงินขาดรายได้ กังวลเรื่องของโควิดแพร่ระบาด สามารถยื่นขอรับเงินขาดรายได้ภายใน 2 ปี หรือ ไม่ต้องไปที่สนง.ประกันสังคม แต่สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มแล้วส่งมาให้สำนักงานประกันสังคมตามที่อยู่ในเว็บไซต์ www.sso.go.th พร้อมสำเนาบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ให้เรียบร้อย ทางสำนักงานประกันสังคมจะดำเนินการโอนเงินเข้าบัญชีให้ตามที่ยื่นมา และรายละเอียดดังนี้

ผู้ประกันตนมาตรา 33 เอกสารในการรับเงินทดแทนการขาดรายได้
1. แบบคำขอประโยชน์ทดแทน (สปส.2-01)
2. บัตรประจำตัวประชาชน
3. สำเนาบัตรประกันสังคม (ต่างชาติ/ต่างด้าว)
4. สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) หรือสำเนาหนังสือเดินทางชั่วคราว หรือเอกสารรับรองบุคคลที่ทางราชการออกให้ (ต่างชาติ/ต่างด้าว)
5. ใบรับรองแพทย์ตัวจริงที่ระบุวันหยุดงาน
6. หนังสือรับรองของนายจ้าง เพื่อยืนยันว่าได้รับค่าจ้างในวันที่ลาป่วยครบ 30 วันใน 1 ปีปฏิทิน (ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน)และแพทย์มีคำสั่งให้หยุดงานต่ออีก
7. สถิติวันลาป่วยที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)
8. กรณีเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุลให้แนบสำเนาเอกสารใบเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุล
9. สำเนาสมุดบัญชีธนาคาร ประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ที่มีชื่อและและเลขที่บัญชี มี 10 ธนาคาร โดยไม่มีค่าธรรมเนียม

- ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) KTB - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY - ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) BBL - ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) SCB - ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KBANK - ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) TTB - ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย IBANK - ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) CIMB - ธนาคารออมสิน - ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สำหรับผู้ประกันตนที่มีการใช้สิทธิ ตั้งแต่วันที่ 20 ตุลาคม 2558 เป็นต้นมา ให้ยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทน ภายในระยะเวลา 2 ปี นับแต่วันที่มีสิทธิ ที่สำนักงานประกันสังคมพื้นที่ ที่สะดวก (ยกเว้นสำนักงานใหญ่ภายในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการได้รับสิทธิ เงินทดแทนการขาดรายได้มาตรา 39 ดังนี้
ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะมีสิทธิเมื่อนำส่งเงินสมทบภายใน 15 เดือนย้อนหลัง มีการนำส่งเงินสมทบรวมกันไม่น้อยกว่า 3 เดือนจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม ก่อนวันที่เข้ารับการรักษาพยาบาล โดยแพทย์มีคำสั่งให้หยุดพักรักษาตัว สิทธิที่จะได้รับ กรณีที่เป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ร้อยละ 50 โดยคิดจากฐานอัตราการนำส่งเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 39 (4,800 บาท) ครั้งละไม่เกิน 90 วัน ปีละไม่เกิน 180 วัน เว้นแต่โรคเรื้อรังไม่เกิน 365 วัน เอกสารในการรับเงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39
1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน (สปส.2-01)
2. บัตรประจำตัวประชาชน
3. สำเนาบัตรประกันสังคม (เฉพาะต่างชาติ/ต่างด้าว)
4. สำเนาหนังสือเดินทาง(Passport) หรือสำเนาหนังสือเดินทางชั่วคราว หรือเอกสารรับรองบุคคลที่ทางราชการออกให้ (เฉพาะต่างชาติ/ต่างด้าว)
5. ใบรับรองแพทย์ตัวจริง ที่ระบุวันหยุดงาน
6. กรณีเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุลให้แนบสำเนาเอกสารใบเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุลด้วย
7. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี ใช้ได้ 10 ธนาคาร โดยไม่มีค่าธรรมเนียม

ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน) KTB ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) BBL ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) SCB ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KBANK ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) TTB ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย IBANK (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2550) ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) CIMB เดิมคือ ไทยธนาคาร ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ระยะเวลาและสถานที่ในการยื่นเรื่อง สำหรับผู้ประกันตนที่มีการใช้สิทธิ ตั้งแต่วันที่ 20 ตุลาคม 2558 เป็นต้นมา ให้ยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทน ภายในระยะเวลา 2 ปี นับแต่วันที่มีสิทธิ ที่สำนักงานประกันสังคมพื้นที่ที่สะดวก (ยกเว้นสำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

เอกสาร ยื่น ประกันสังคม มาตรา 39

มาตรา 39 จะสามารถสมัครประกันสังคมได้อีกครั้ง ผู้ประกันตนจะต้องมีการเข้าทำงานกับนายจ้างมาตรา 33 และออกจากงานจึงสามารถสมัครได้ภายในระยะเวลา 6 เดือนหลังออกจากงาน ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขครับ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการได้รับสิทธิ มาตรา 39 ดังนี้
1. เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา33 และสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง
2. จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน (นับเงินสมทบทุกครั้งของการเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา33 ในระบบประกันสังคมรวมกัน)
3. ยื่นแบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา39 ภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง
ขั้นตอนและเอกสารการสมัคร มาตรา 39
1.แบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตาม มาตรา 39 (สปส.1-20)
2.บัตรประชาชนตัวจริงหรือบัตรอื่น ที่มีรูปถ่ายซึ่งทางราชการออกให้ พร้อมสำเนา
3.กรณีต้องการนำส่งเงินสมทบหักผ่านบัญชีธนาคาร ให้ถ่ายสำเนาสมุดบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย์ หน้าแรกที่มีชื่อและเลขบัญชีของผู้ประกันตน

การสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39
1. เสียชีวิต
2. กลับเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33
3. ลาออก
4. ไม่ส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลงตั้งแต่เดือนแรกที่ไม่นำส่งเงินสมทบ
5. ภายในระยะเวลา 12 เดือน ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดในเดือนที่ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน
หากสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 และไม่ได้มีการกลับเข้าทำงานกับนายจ้างมาตรา 33 อีก จะสมัครได้แต่มาตรา 40  แนะนำรีบดำเนินการชำระเงินสมทบให้เป็นปัจจุบัน

ผู้ประกันตนมาตรา 40 เงินทดแทนการขาดรายได้
กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจะได้รับสิทธิเมื่อนำส่งเงินสมทบครบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือ ภายใน 4 เดือนย้อนหลัง มีการส่งเงินสมทบรวมกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตราย หรือ เจ็บป่วย
1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตนมาตรา 40 (สปส. 2-01/ม.40)
2. บัตรประจำตัวประชาชนตัวจริง พร้อมสำเนา
3. ใบรับรองแพทย์ตัวจริง หรือ สำเนาเวชระเบียน (ต้องให้เจ้าหน้าที่เวชระเบียนเซ็นรับรองสำเนาถูกต้อง พร้อมประทับตราสถานพยาบาล)
4. สำเนาสมุดบัญชีธนาคาร ประเภทออมทรัพย์
- ยื่นเรื่องได้ที่สำนักงานประกันสังคมพื้นที่ ที่สะดวก (ยกเว้นสำนักงานใหญ่ภายในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

ที่มา - สำนักงานประกันสังคม