แผนการสอนวิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 2560 สสวท

แผนการจัดการเรียนร
ู้

รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

รหัสวิชา ว22101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

จัดท าโดย

นายประสพโชค ประภา

ต าแหน่ง คร

โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

อ าเภอโคกโพธิ์ไชย จังหวัดขอนแก่น

ส านักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษาขอนแก่น

กระทรวงศึกษาธิการ

ค ำน ำ



พระราชบัญญัติการศกษาแห่งชาต พ.ศ. 2542 ก าหนดให้การจดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผเรียนเป็นสาคญซึ่ง


ู้
ู้





ี่
ส่งผลให้ผเรียนไดฝกทักษะ โดยผานกระบวนการเรียนรู้ทหลากหลาย สงเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทกษะภาษาในการ






สอสารในสถานการณตางๆ ในชวิตประจาวันไดอย่าง เตมศกยภาพ ซึ่งสอดคลองกับหลกสตรการศกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.



ื่



2551 (ฉบบปรับปรุง พ.ศ. 2560) มีหลกการพัฒนาคนไทยให้เป็นคนด มีวินัยในตนเอง ดาเนินชวิตอย่างมีคณธรรม และ



ั้
จริยธรรม มีความคดสร้างสรรค์ ก้าวทันสื่อเทคโนโลยีททันสมัย พร้อมทงปลูกฝังให้รักทองถิ่นและมีจิตส านึกในการอนุรักษ์


ี่



สิ่งแวดลอม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไดจดเนื้อหาทท าให้ผเรียนไดเรียนรู้สิ่งเหลานี้ ไดอย่างสมบูรณใน
ู้



ี่

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3)
ี่



แผนการจดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เลมนี้ ไดเสนอกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ทนักเรียนมีโอกาสไดฝก




ทักษะ ไดแสดงความคิดเห็น ปฏิบัตกิจกรรมอย่างอิสระ และสร้างสรรค์ มีความสขในการเรียน ซึ่งประกอบ ดวยแผนการ


ั่



จดการเรียนรู้วิชาคณตศาสตร์ จานวน 56 แผน ใชเวลา 60 ชวโมง โดยมีการวัดและประเมินผลทถูกตอง เพื่อประเมิน


ี่
ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักเรียน




ผู้จดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจดการเรียนรู้เลมนี้ คงเป็นประโยชน์ตอการจดกิจกรรมการเรียนการสอนใน



รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ทาให้เกิดผลสมฤทธิ์ทางการเรียนกับนักเรียน และเกิดผลดตอสถานศกษา ตลอดจนเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ

นายประสพโชค ประภา
ต าแหน่ง ครู

สารบัญ

หน้า
ค าน า

สารบัญ

ตอนที่ 1 ส่วนน า

วิสัยทัศน์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1

วิสัยทัศน์หลักสูตรโคกโพธิ์ไชยศึกษา 1

วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2

ี่
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 11

ค าอธิบายรายวิชา 20

โครงสร้างรายวิชา 21

ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารละลาย

ี่
แผนการจัดการเรียนรู้ท 1 - แผนการจัดการเรียนรู้ท 8 22
ี่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์

แผนการจัดการเรียนรู้ท 9 - แผนการจัดการเรียนรู้ท 29 75
ี่
ี่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แรงและการเคลื่อนที่

ี่
แผนการจัดการเรียนรู้ท 30 - แผนการจัดการเรียนรู้ท 56 202
ี่

1

วิสัยทัศน์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ู้





ตามหลักสตรแกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐานพุทธศกราช 2551 (ฉบบปรับปรุง พ.ศ. 2560) มุ่งพัฒนาผเรียนทก




ี่
ั้
คน ซึ่งเปนก าลงของชาติให้เป็นมนุษย์ทมีความสมดลทงดานร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจตสานึกในความเปนพลเมืองไทย


และเปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทกษะ

ั้




ี่



ู้

พื้นฐาน รวมทง เจตคต ทจ าเปนตอการศกษาตอ การประกอบอาชพและการศึกษาตลอดชวิต โดยมุ่งเน้นผเรียนเปนสาคญ

บนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่ส าคัญ ดังนี้

1. เป็นหลกสตรการศกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาตมีจดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปาหมายสาหรับ






พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศกษาที่สนองการกระจายอ านาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพ

และความต้องการของทองถิ่น

4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ


ุ่





6. เป็นหลกสตรการศกษาสาหรับการศกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศย ครอบคลมทกกลมเป้าหมาย

สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมาย


ู้

ตามหลกสตรแกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผเรียนให้เป็นคนด มีปัญญา มีความสข มีศกยภาพใน



การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงก าหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้


1. มีคณธรรม จริยธรรม และคานิยมทพึงประสงค์ เห็นคณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ
ี่

พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
3. มีสขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกก าลังกาย


4. มีความรักชาต มีจตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชวิตและการปกครองตามระบอบ



ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งท า
ประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

วิสัยทัศน์โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา






โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศกษา เป็นองคกรแห่งการเรียนรู้และเป็นศนย์กลางพัฒนาชมชน บริหารจดการศกษาดวย



ระบบคณภาพตามหลกธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่ความเป็นสากลตามวิถีความเป็นไทย ครูมีคุณภาพ



ตามมาตรฐานวิชาชพ นักเรียนมีคณลกษณะอันพึงประสงค มีความเป็นเลศทางวิชาการก้าวทนเทคโนโลยีและมีจตสานึก




รักษ์สิ่งแวดล้อม

2

พันธกิจ (MISSION)
1. ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนให้ให้ได้มาตรฐานการศึกษา

2. พัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล
3. พัฒนาครูและบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชีพมุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพ
4. เพิ่มประวิทธิภาพในการบริหารจัดการได้มาตรฐานโดยมีส่วนร่วม
5. ส่งเสริมให้ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียน ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิพอเพียง

เป้าประสงค์ (GOAL)
1. ผู้เรียนมีคุณธรรม น าความรู้ อยู่ร่วมสังคมอย่างมีความสุข
2. ผู้เรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของมาตรฐานสากล
3. ครู และบุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ


4. มีการบริหารจดการได้มาตรฐานอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการมีส่วนร่วม ผู้รับบริการพึงพอใจ
5. ผู้บริหาร ครู บุคลากร และนักเรียนมีทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์โรงเรียน
1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษา

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
3. ส่งเสริมครูและบุคลากรสู่มืออาชีพ
4. ส่งเสริมการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการมีส่วนร่วม

5. ส่งเสริมผู้บริหาร ครู บุคลากร และนักเรียนมีทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ู้
วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยตระหนักถึงศักยภาพของ
ู้

ู้

ผู้เรียน เน้นผู้เรียนเปนส าคัญ จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผเรียน เพื่อให้ผเรียนได้เรียนอย่างมีความสข และส่งเสริมผู้เรียน
ที่มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ และตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์
พันธกิจ

1. ส่งเสริมจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
2. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการคิดค านวณ และการแก้ปัญหา
3. มีสื่อและและอุปกรณ์การสอนที่ทันสมัยและเพียงพอ
4. จัดห้องพักครูให้มีบรรยากาศเอื้อต่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้
5. ปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค ์

6. ส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้าน ให้สามารถพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ
7. จัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เป้าประสงค์ของวิทยาศาสตร ์
ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุดเพื่อให้ได้ทั้งกระบวนการ




และความรู้จากวิธีการสงเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แลวน าผลทไดมาจัดระบบเป็นหลกการ แนวคด และองค ์

ี่

ความรู้การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมีเป้าหมายที่ส าคัญ ดังนี้

3

1. เพื่อให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎีและกฎที่เป็นพื้นฐานในวิชาวิทยาศาสตร์
2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจ ากัดในการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์

ี่
3. เพื่อให้มีทักษะทส าคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี
4. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมวลมนุษย์และสภาพแวดล้อมในเชิงที่มี
อิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน
5. เพื่อน าความรู้ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการ

ด ารงชีวิต

6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทกษะในการ
สื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ
ู้


7. เพื่อให้เป็นผที่มีจตวิทยาศาสตร์ มีคณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อย่างสร้างสรรค ์
กลยุทธ์
1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
2. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน

3. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

6. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด ซึ่งจะช่วยให้
ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส าคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังนี้


1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษาถ่ายทอด


ความคด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สก และทศนะของตนเองเพื่อแลกเปลยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณอันจะเป็น


ี่


ั้




ประโยชน์ตอการพัฒนาตนเองและสงคม รวมทงการเจรจาต่อรองเพื่อขจดและลดปัญหาความขัดแย้งตาง ๆ การเลอกรับ


หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึง

ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดวิเคราะห์ การคดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค การ


ู่





คดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดเป็นระบบ เพื่อน าไปสการสร้างองคความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตดสนใจเกี่ยวกับ
ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปนความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ทเผชญไดอย่างถูกต้อง
ี่



ี่




เหมาะสมบนพื้นฐานของหลกเหตผล คณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสมพันธ์และการเปลยนแปลงของ


ี่



เหตการณตาง ๆ ในสงคม แสวงหาความรู้ ประยุกตความรู้มาใชในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตดสนใจทมี



ประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

4



4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการตางๆ ไปใชในการดาเนิน



ชวิตประจาวัน การเรียนรู้ดวยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสงคมดวยการสร้างเสริม

ความสมพันธ์อันดระหว่างบุคคล การจดการปัญหาและความขัดแย้งตาง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวให้ทนกับการ






เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงคที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทกษะ







ื่

กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสงคมในดานการเรียนรู้ การสอสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ตามหลกสตรแกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาผเรียนให้มีคณลกษณะอันพึงประสงค เพื่อให้สามารถอยู่


ู้



ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

1. รักชาต ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการท างาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถก าหนดคณลักษณะอันพึงประสงคเพิ่มเตมให้สอดคล้องตามบริบทและจดเน้นของ




ตนเอง

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ
มีทักษะส าคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการท ากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับ
ระดับชั้นโดยก าหนดสาระส าคัญ ดังนี้


ิ่

ิ่

✧ วิทยาศาสตรชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชวิตในสงแวดล้อม องคประกอบของสงมีชวิตการด ารงชวิตของมนุษย์

และสัตว์การด ารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ี่
✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนท พลังงาน และ
คลื่น





✧ วทยาศาสตรโลก และอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องคประกอบของเอกภพ ปฏิสมพันธ์ภายในระบบสริยะ
ิ่

ี่
เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลยนแปลงทางธรณวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลตอสงมีชวิต


และสิ่งแวดล้อม

5

✧ เทคโนโลยี
 การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการด ารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง

รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา
งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลอกใชเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม



โดยค านึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
 วิทยาการค านวณ เรียนรู้เกี่ยวกับ การคิดเชิงค านวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ

ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาท ี่
พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สาระมาตรฐานการเรียนร ู้
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลง
แทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งน า
ความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การล าเลียงสารเข้าและออกจากเซลล
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ท างานสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กันรวมทั้งน าความรู้

ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความส าคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ

วิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร

การเกิด สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตของแรงในชีวิตประจ าวัน ผลของแรงที่กระท าต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนท ี่
แบบต่าง ๆ ของวัตถ รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่นปรากฏการณที่เกี่ยวข้องกับ

เสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

6

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซีดาวฤกษ์


และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใชเทคโนโลยี
อวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน โลก

และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลกรวมทั้งผลต่อ

สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการด ารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา
งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงค านวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การท างานและการแก้ปัญหาได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม

กระบวนการจัดการเรียนร ู้

ู้

ี่

ู้
แนวคิดส าคัญของการจัดศกษา ที่เน้นผเรียนเป็นส าคัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทเปดโอกาสให้ผเรียน คิดและ


ลงมือปฏิบตด้วยกระบวนการทหลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเตมตามศกยภาพ การประเมินการเรียนรู้
ี่


จงมีความสาคญและจาเป็นอย่างยิ่ง ตอการจดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนเพราะสามารถทาให้ผสอนประเมินระดบ


ู้

พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได และ





ถือว่าผเรียนมีความส าคญที่สด กระบวนการจดการศกษาต้อง สงเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตและเต็มตาม



ู้
ศักยภาพ ให้ความส าคัญ ของการบูรณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา ได ้
ระบุให้ผู้ที่เกี่ยวข้องด าเนินการ ดังนี้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ู้

1. จดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผเรียน โดยคานึงถึงความแตกตาง

ระหว่างบุคคล

2. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไข
ปัญหา







3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนไดเรียนรู้จากประสบการณจริง ฝกการปฏบัต ให้ทาได้คดเป็น ท าเป็นรักการอ่าน และเกิด
การใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง



ั้


4. จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ดานตาง ๆ อย่างไดสดสวนสมดลกัน รวมทงปลกฝงคณธรรม




ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
ู้
5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผสอนสามารถจดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สอการเรียน และอ านวยความสะดวกเพื่อให้

ื่

ู้

ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ทั้งนี้ผู้สอนและผเรียน
อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียน การสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ

7


ึ้
ี่
ู้
6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขนไดทุกเวลา ทุกสถานท มีการประสานความ ร่วมมือกับบิดา มารดาผปกครอง และบุคคล
ในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ

แนวการจัดการเรียนรู้วทยาศาสตร ์



ู้
ี่
การจดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้สอดคลองกับการพัฒนาผเรียน ในศตวรรษท 21 เพื่อพัฒนา
ี่


สมรรถนะของผู้เรียนให้พร้อมทจะดารงชีวิตและประกอบอาชพไดอย่างประสบความส าเร็จได้ในอนาคตนั้น จาเปนต้องเน้น

ี่
กระบวนการจดการเรียนรู้ทเน้นการพัฒนานักคด นักแก้ปัญหา และนักเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยจดการเรียนรู้ให้ผเรียนมีสวน
ู้



ร่วมในการเรียนรู้ของตนเองตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู้โดยท าได้ดังนี้


ู้


 จดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผเรียน โดยคานึงถึงความแตกตาง
ระหว่างบุคคล
 ผู้สอนกระตุ้นหรือจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้เกิดค าถามหรือข้อสงสัยที่อยากค้นหาค าตอบ
ี่


 ผู้เรียนใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อคนหาค าตอบทสงสย โดยเริ่มจากการลงมือสบเสาะหา



ั่

ความรู้ตามคาแนะน า จนกระทงสามารถออกแบบและวางแผนการสบเสาะเพื่อเก็บรวบรวม ข้อมูลและหลกฐาน

เชิงประจักษ์แล้วน ามาสร้างค าอธิบายด้วยตนเอง
 ผเรียนควรมีโอกาสไดฝกฝนและพัฒนาแนวคดทางวิทยาศาสตร์ตาง ๆ อย่างลมลกและเชอมโยงกันผานการทา


ุ่


ื่
ู้


กิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
 ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง สม่ าเสมอและเหมาะสมกับวัย


 ผู้เรียนสามารถใชเทคโนโลยีที่สอดคล้องตามยุคสมัยในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ใชในการ

สืบเสาะหาความรู้ ใช้สบค้นข้อมูลทงจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ ใช้จดกระท าและสื่อความหมายขอมูล ใช ้


ั้
สร้างแบบจ าลอง
 ผู้เรียนสามารถออกแบบและท าโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อฝกฝนและสามารถใช้ทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ทักษะ กระบวนการส าหรับการออกแบบและเทคโนโลยีและทักษะที่สาคญ ส าหรับศตวรรษท 21
ี่
มาแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ได ้

 ผเรียนไดเพิ่มพูนความรู้และประสบการณจากแหลงเรียนรู้ในทองถิ่น เพื่อขยายขอบเขตการเรียนรู้และสามารถ
ู้



ื่

เชอมโยงสิ่งทได้เรียนรู้ใน ห้องเรียนกับสงทเกิดขึ้นจริงในชวิตประจาวัน ตลอดจนเห็นความสาคัญ ของการเรียนรู้

ิ่

ี่
ี่
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


 ผู้เรียนควรมีโอกาสไดรู้จักและคุ้นเคยกับการวิเคราะห์ขอมูลที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งอาจเพิ่มระดับความซับซ้อนของข้อมูล
ให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เช่น ผู้เรียนระดับประถมศึกษาไดฝึกฝนการวิเคราะห์และสร้างคาอธิบายจากข้อมูลท ี่





เก็บไดจริงแตไม่มีความซับซ้อน ส่วนในระดบมัธยมศึกษาอาจให้ผู้เรียนได้ฝกการวิเคราะห์และอธิบายข้อมูล ขนาด
ี่
ใหญ่ (Big Data) ซึ่งเป็นข้อมูลทหลากหลาย ซับซ้อน มีปริมาณมาก และเปลยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงไม่สามารถ
ี่
น ามาจัดกระท า หรือจัดการได้ด้วยวิธีการหรือเครื่องมือแบบเดิม

ู้
 ผเรียนมีโอกาสน าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปบูรณาการกับความรู้จากแขนงวิชาอื่น ๆ เชน
คณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริง หรือเกิดขึ้นจริงโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

8

ู้
แนวทางการจัดการเรียนรวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความร ู้
ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนแห่งศตวรรษท ี่

21 และธรรมชาติการเรียนรู้ของมนุษย์นั้น ครูสามารถเลือกกลวิธีในจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายตามความเหมาะสมกับ




ี่
เนื้อหา เวลา บริบท และปัจจัยอื่น ๆ กลวิธีทสามารถน ามาใช้จดการเรียนรู้ในห้องเรียนได เชน การเรียนรู้แบบใชปัญหาเป็น
ฐาน (Problem-Based Learning) การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry-Based Learning)
การสืบเสาะ (Inquiry) เป็นกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยเลียนแบบวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์

ใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับธรรมชาต แม้ว่าจะมีการน าการเรียนรู้แบบสืบเสาะมาใช้ในการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายปี ปัจจุบันก็ยังปรากฏความสับสนหลายประการเกี่ยวกับการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะ ดังนี้
1. การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5E Learning Cycle) เป็นสิ่งเดียวกัน


2. การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ต้องจัดแบบสืบเสาะหาความรู้เทานั้น


3. การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้คอต้องให้ผเรียนเป็นผู้ตั้งคาถาม และท าการสืบเสาะเพื่อตอบคาถามที่ตนตั้งไว้
ู้
ด้วยตัวเอง



ู้

4. การเรียนรู้แบบสบเสาะหาความรู้คอการมุ่งเน้นให้ผเรียนได้ลงมือทากิจกรรม (hands-on activity) เพื่อฝกฝน
ทักษะกระบวนการมากกว่าการสร้างองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ื่


ู้

5. ความตนเตนสนุกสนานของผเรียนระหว่างท ากิจกรรมเป็นตวบ่งชี้ระดบของการเรียนรู้แบบสบเสาะหาความรู้

ทางวิทยาศาสตร์
ตามมาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (National Science Education Standards)
โดยสภาวิจยแห่งชาต (NRC, 1996) ไดนิยาม “การสบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์” (Scientific Inquiry) ว่าเป็น





ี่


ี่

กระบวนการสบเสาะหาความรู้ทนักวิทยาศาสตร์ใชเพื่อศกษาปรากฏการณตาง ๆทเกิดขึ้นในธรรมชาต และน าเสนอผล


การศึกษานั้นตามสารสนเทศ หรือหลักฐานต่าง ๆ ที่รวบรวมได้การจดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบสบ


เสาะหาความรู้ จึงหมายถึงการให้ผเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
ู้


ู่

ทางวิทยาศาสตร์ควบคไปกับทกษะกระบวนการตาง ๆ ระหว่างกระบวนการสบเสาะหาความรู้แบบเดยวกัน กับท ี่







นักวิทยาศาสตร์ใช้เพื่อทาความเข้าใจปรากฏการณตามธรรมชาต จงกลาวไดว่า หัวใจส าคญของการสบเสาะหาความรู้ทาง


ู้

ั้
วิทยาศาสตร์ในชนเรียนก็คอ การให้ผเรียนไดใชกระบวนการในการสารวจตรวจสอบ (Investigation Process) และ

รวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานต่าง ๆ มาใช้อธิบายปรากฏการณ์หรือแก้ปญหา ข้อสงสัยที่ตนมีเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน
หลกการหรือเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งการสบเสาะหาความรู้ทผเรียนไดทาระหว่างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีสวนท ี่


ี่
ู้



คล้ายคลึงกับวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
การสบเสาะหาความรู้ในห้องเรียนสามารถทาได้หลายระดับ ตั้งแตการทผสอนเป็นผู้ก าหนด การส ารวจตรวจสอบ

ู้
ี่


ี่
ิ่
ของผู้เรียน เพื่อตรวจสอบยืนยันสงทรู้มาแลวไปจนถึงการที่ผสอนเปิดโอกาสให้ผเรียนออกแบบการสารวจตรวจสอบอย่าง
ู้
ู้



อิสระเพื่อสารวจปรากฏการณทยังไม่สามารถอธิบายได การจดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยให้ผเรียนใชกระบวนการสบ

ู้


ี่
เสาะหาความรู้แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
1. การสืบเสาะแบบก าหนดโครงสร้าง
2. การสืบเสาะแบบกึ่งก าหนดโครงสร้าง
3. การสืบเสาะไม่ก าหนดโครงสร้างโดยบทบาทของผู้สอนและผู้เรียนแต่ละระดับมีความแตกต่างกัน

9

ี่




การจดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการสบเสาะหาความรู้แตละแบบนั้นมีข้อดและข้อจากัดทแตกตางกัน

ู้

ผสอนตองพิจารณาระดบของการสบเสาะหาความรู้ตามความเหมาะสมของเนื้อหา เวลาในการจดการเรียนรู้ตาม


ความสามารถของผู้เรียน บริบทของห้องเรียนและโรงเรียน รวมถึงความมั่นใจของตัวผู้สอนเอง

สื่อการจัดการเรียนร/แหล่งเรียนร ู้
ู้
สื่อการจัดการเรียนร ู้

1. แบบฝกหัด/ใบงาน/ใบกิจกรรม เป็นเครื่องมือทชวยให้นักเรียนฝกทากิจกรรมหรือทาการทดลองตามขั้นตอน

ี่





การตอบคาถามที่อยู่ในกิจกรรมหรือทายการทดลองจะชวยให้นักเรียนไดพัฒนาทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เชน

การสังเกต การวัด การค านวณ การจ าแนกประเภท การจัดกระท าข้อมูลและสื่อความหมายข้อมูล การตั้งสมมติฐาน
2. สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโสตทัศนูปกรณ เช่น ภาพต่าง ๆ ภาพโปสเตอร์ วีดิทัศน์ และ สื่อดิจิทัล

3. วัสดุสิ้นเปลือง เช่น ดินน้ ามัน แอลกอฮอล ไม้ขีดไฟ กระดาษเยื่อ เกลือ แป้ง ยางรัดของ ลูกแก้ว

4. อุปกรณสาเร็จรูป เป็นอุปกรณทพัฒนาขึ้นเพื่อใชกับเนื้อหาในการสอนนี้โดยเฉพาะ เชน ชดสาธิตทางเดนของ




ี่

แสง ชุดระบบสุริยะ ครูผู้สอนสามารถประดิษฐ์และสร้างให้เทียบเคียงเพื่อน ามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้

ี่






5. อุปกรณพื้นฐานตาง ๆ ททกโรงเรียนตองมีอยู่แลว เชน บีกเกอร์ ตะเกียงแอลกอฮอล ทกั้นลมหลอดทดลอง
ี่



หลอดหยด หลอดฉีดยา กรวย ฯลฯ หากไม่สามารถจดหาไดสามารถเลอกใช้วัสดอุปกรณ์อื่นทดแทนไดแต่ครูผู้สอนต้องทา


การทดสอบก่อนการน าไปใช ้


6. อุปกรณอื่นที่จาเป็นตองจดหาเพื่อใชในการจดการเรียนรู้ในแตละเรื่อง เช่น รูปภาพจากหนังสอพิมพ์ พืช สตว์





กระป๋องนม ดินและทราย ขวดน้ าพลาสติก
7. แหล่งเรียนรู้ สามารถเลือกใช้ได้ตามบริบทของตนเองให้เหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ นั้น

คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
❖ เข้าใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิตและการด ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตรอบตัว
❖ เข้าใจลักษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุที่ใช้ท าวัตถุและการเปลี่ยนแปลงของวัสด ุ
รอบตัว
❖ เข้าใจการดง การผลก แรงแม่เหลก และผลของแรงทมีตอการเปลยนแปลงการเคลอนทของวัตถุพลงงาน
ี่

ี่


ื่


ี่
ไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น
❖ เข้าใจการปรากฏของดวงอาทตย์ดวงจนทร์และดาว ปรากฏการณการขึ้นและตกของดวงอาทตย์การเกิด





กลางวันกลางคน การก าหนดทศ ลกษณะของหิน การจาแนกชนิดดนและการใชประโยชน์ลกษณะและ




ความส าคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม
❖ ตงคาถามหรือก าหนดปัญหาเกี่ยวกับสงทจะเรียนรู้ตามทก าหนดให้หรือตามความสนใจสงเกต สารวจ

ิ่

ั้

ี่
ี่
ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทก และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบดวยการเขียน




หรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเรื่อง หรือด้วยการแสดงท่าทางเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ

10

❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เบื้องตน

รักษาข้อมูลส่วนตัว
❖ แสดงความกระตอรือร้น สนใจทจะเรียนรู้มีความคดสร้างสรรคเกี่ยวกับเรื่องทจะศกษาตามทก าหนดให้




ี่
ี่
ี่
หรือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น

❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการท างานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบประหยัด ซื่อสัตย์จนงาน ล ล ว ง

เป็นผลส าเร็จ และท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใชความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชวิต ศกษาหาความรู้



เพิ่มเติม ท าโครงงานหรือชิ้นงานตามที่ก าหนดให้หรือตามความสนใจ

จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6



ิ่
ั้


ี่
❖ เข้าใจโครงสร้าง ลกษณะเฉพาะการปรับตวของสงมีชวิต รวมทงความสมพันธ์ของสงมีชวิตในแหลงทอยู่
ิ่

การท าหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช และการท างานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์
❖ เข้าใจสมบัตและการจาแนกกลมของวัสด สถานะและการเปลยนสถานะของสสารการละลาย การ


ุ่
ี่

เปลี่ยนแปลงทางเคมีการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้และการแยกสารอย่างง่าย
❖ เข้าใจลกษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลพธ์แรงเสยดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงตาง ๆ ผลทเกิด




ี่




ี่


จากแรงกระทาตอวัตถุความดน หลกการทมีตอวัตถุวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายปรากฏการณเบื้องตนของเสยง และ

แสง

❖ เข้าใจปรากฏการณการขึ้นและตก รวมถึงการเปลยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนทร์องคประกอบของ
ี่


ุ่


ระบบสริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ความแตกตางของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์การขึ้นและตกของกลม
ดาวฤกษ์การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคาพัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
❖ เข้าใจลกษณะของแหลงน้ าวัฏจกรน้ า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ าคางน้ าคางแข็ง หยาดน้ าฟ้า





กระบวนการเกิดหิน วัฏจกรหิน การใชประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดกดาบรรพ์การเกิดลมบก ลมทะเล


มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติธรณีพิบัติภัยการเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือน กระจก





❖ คนหาข้อมูลอย่างมีประสทธิภาพและประเมินความน่าเชอถือ ตดสนใจเลอกข้อมูลใชเหตผลเชงตรรกะใน

ื่



ี่
ื่
การแก้ปัญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอสารในการทางานร่วมกันเข้าใจสทธิและหน้าทของตน เคารพ


สิทธิของผู้อื่น
❖ ตงคาถามหรือก าหนดปัญหาเกี่ยวกับสงทจะเรียนรู้ตามทก าหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเนคาตอบ

ั้
ี่
ี่
ิ่

ี่

หลายแนวทาง สร้างสมมตฐานทสอดคลองกับคาถามหรือปัญหาทจะสารวจตรวจสอบ วางแผนและสารวจ
ี่
ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิง ปริมาณ
และคุณภาพ

❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสมพันธ์ของข้อมูลทมาจากการสารวจตรวจสอบในรูปแบบท ี่

ี่
เหมาะสม เพื่อสื่อสารความรู้จากผลการส ารวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตุผลและหลกฐานอ้างอิง

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของ

ู้
ตนเอง แสดงความคดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความคิดเห็นผอื่น

11

❖ แสดงความ รับผิดชอบดวยการทางานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่นรอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์จนงาน

ลุล่วงเป็นผลส าเร็จ และทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค ์

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใชความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน

การด ารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คดค้นและศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ท า
โครงงานหรือชิ้นงานตามที่ก าหนดให้หรือตามความสนใจ


❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤตกรรมเกี่ยวกับการใชการดแลรักษาทรัพยากรธรรมชาตและ



สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สาระที่ 2 วทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตของสสาร องคประกอบของสสาร ความสมพันธ์ระหว่างสมบัตของสสารกับ




ี่
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกและธรรมชาติของการเปลยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย

และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ี่
1. อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง ตวละลายและตวทาละลายทเป็นของเหลวทมีจดเดอด

ี่





ั่
การตกผลก การกลนอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบ ต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดย



กระดาษ การสกัดดวยตวทาละลาย โดยใชหลกฐาน ให้ความร้อนกับสารละลาย ของเหลวจะเดอดและกลายเป็นไอ




เชิงประจักษ์ แยกจากสารละลายแลวควบแน่นกลบเป็นของเหลวอีกครั้ง
ี่
ขณะทของเหลวเดอด อุณหภูมิของไอจะคงท โครมาโทกราฟี

ี่

แบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสารผสมทมีปริมาณน้อยโดยใชแยก
ี่

สารทมีสมบัติการละลายในตัวท าละลายและการถูกดดซับดวยตัว

ี่

ดูดซับแตกต่างกัน ท าให้สารแตละชนิดเคลื่อนทไปบนตัวดูดซับได ้
ี่




2. แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลกการ ต่างกัน สารจงแยกออกจากกันได อัตราสวนระหว่างระยะทางท ี่
ี่

ั่
กลนอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษการสกัด สารองค์ประกอบแต่ละชนิดเคลื่อนทไดบนตัวดูดซับ กับระยะทาง




ด้วยตัวท าละลาย ที่ตวท าละลายเคลื่อนที่ได้ เปนคาเฉพาะตวของสารแต่ละชนิดใน


ตัวท าละลายและตวดูดซับหนึ่ง ๆ การสกัดด้วยตัวท าละลาย เปน

วิธีการแยกสารผสมทมีสมบัตการละลายใน ตวทาละลายท ี่

ี่
ตางกันโดยชนิดของตวทาละลายมีผลตอชนิดและปริมาณของ




สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ า

12

ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3. น าวิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาใน • ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแยกสารบูรณาการกับ

ชีวิตประจ าวัน โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีโดยใช้กระบวนการทางวิศวกรรม สามารถ

คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ น าไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันหรือปัญหาที่พบในชุมชนหรือ
สร้างนวัตกรรม
- ระบุปัญหาในชีวิตประจ าวันที่เกี่ยวกับการแยกสารโดยใช ้

สมบัติทางกายภาพ หรือนวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา โดยใช ้
หลักการดังกล่าว
- รวบรวมข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับการแยกสารโดยใช ้

สมบัติทางกายภาพที่สอดคล้องกับปัญหาที่ระบุ หรือน าไปสู่การ
พัฒนานวัตกรรมนั้น
- ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา หรือพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวกับ


การแยกสารในสารผสม โดยใชสมบัตทางกายภาพ โดยเชื่อมโยง
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและกระบวนการ
ทางวิศวกรรมรวมทั้งก าหนดและควบคุมตัวแปรอย่างเหมาะสม
- วางแผนและด าเนินการแก้ปัญหา หรือพัฒนานวัตกรรม
ื่
รวบรวมข้อมูล จัดกระท าข้อมูลและเลือกวิธีการสอความหมายท ี่
เหมาะสมในการน าเสนอผล
- ทดสอบ ประเมินผล ปรับปรุงวิธีการแก้ปัญหาหรือ
นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่รวบรวมได ้
- น าเสนอวิธีการแก้ปัญหา หรือผลของนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น

และผลที่ได้โดยใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสมและน่าสนใจ
4. ออกแบบการทดลองและทดลองในการ - สารละลายอาจมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
อธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัวท าละลาย สารละลายประกอบด้วยตัวท าละลาย และตัวละลาย กรณ ี
อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมทั้ง สารละลายเกิดจากสารที่มีสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณมาก

อธิบายผลของความดันที่มีต่อสภาพละลายได้ของ ที่สุดจัดเป็นตัวท าละลาย กรณีสารละลายเกิดจากสารที่มีสถานะ
สาร โดยใช้สารสนเทศ ต่างกัน สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวท าละลาย
- สารละลายที่ตัวละลายไม่สามารถละลายในตัวท าละลายได ้
อีกที่อุณหภูมิหนึ่ง ๆ เรียกว่าสารละลายอิ่มตัว
- สภาพละลายได้ของสารในตัวท าละลาย เปนค่าที่บอก

ปริมาณของสารทละลายได้ในตัวท าละลาย 100 กรัม จนได ้
ี่
สารละลายอิ่มตัว ณ อุณหภูมิและความดันหนึ่ง ๆ สภาพละลาย
ได้ของสารบ่งบอกความสามารถในการละลายได้ของตัวละลาย
ในตัวท าละลาย ซึ่งความสามารถในการละลายของสารขึ้นอยู่กับ

ชนิดของตัวท าละลายและตัวละลาย อุณหภูมิ และความดัน

13


ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- สารชนิดหนึ่ง ๆ มีสภาพละลายได้แตกต่างกันในตัวท าละลายท ี่

แตกต่างกัน และสารต่างชนิดกัน มีสภาพละลายได้ในตัวท า
ละลายหนึ่ง ๆ ไม่เท่ากัน
- เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สารส่วนมาก สภาพละลายได้ของสารจะ
เพิ่มขึ้น ยกเว้นแก๊สเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นสภาพการละลายได้จะ
ลดลง ส่วนความดันมีผลต่อแก๊ส โดยเมื่อความดันเพิ่มขึ้น สภาพ

ละลายได้จะสูงขึ้น

- ความรู้เกี่ยวกับสภาพละลายไดของสาร เมื่อเปลี่ยนแปลงชนิด
ตัวละลาย ตัวท าละลาย และอุณหภูมิ สามารถน าไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจ าวัน เช่น การท าน้ าเชื่อมเข้มข้น การสกัดสารออก

จากสมุนไพรให้ได้ปริมาณมากทสุด
ี่

5. ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย ใน - ความเข้มข้นของสารละลาย เป็นการระบุปริมาณ ตว
หน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร ละลายในสารละลาย หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย ทนิยม
ี่
มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร ระบุเป็นหน่วยเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และ
มวลต่อปริมาตร

- ร้อยละโดยปริมาตรตอปริมาตร เป็นการระบุปริมาตรตว




ละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตรเดยวกัน นิยมใชกับ
สารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส


6. ตระหนักถึงความส าคัญของการน าความรู้ - ร้อยละโดยมวลตอมวล เป็นการระบุมวลตวละลายใน

ี่

เรื่องความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยยกตัวอย่างการ สารละลาย 100 หน่วยมวลเดยวกัน นิยมใชกับสารละลายทมี
ใช้สารละลายในชีวิตประจ าวันอย่างถูกต้องและ สถานะเป็นของแข็ง
ปลอดภัย - ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร เป็นการระบุมวล ตัวละลายใน
ี่


สารละลาย 100 หน่วยปริมาตร นิยมใชกับสารละลายทมีตว
ละลายเป็นของแข็ง ในตัวท าละลายที่เป็นของเหลว
- การใช้สารละลาย ในชีวิตประจ าวัน ควรพิจารณาจาก

ความเข้มข้นของสารละลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงคของการใช้งาน
และผลกระทบต่อสิ่งชีวิตและสิ่งแวดล้อม

14

ี่
สาระท 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

ี่

มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมพันธ์ระหว่าง




ี่

ื่

ื่

สสารและพลงงาน พลงงานในชวิตประจาวัน ธรรมชาตของคลน ปรากฏการณทเกี่ยวข้องกับเสยง แสง และคลน
แม่เหล็กไฟฟ้ารวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ี่
1. วิเคราะห์สถานการณ์และค านวณเกี่ยวกับ - เมื่อออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้วท าให้วัตถุเคลื่อนท โดยแรง
งานและก าลังที่เกิดจากแรงที่กระท าต่อวัตถุ อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่จะเกิดงาน งานจะมีค่ามากหรือ

โดยใช้สมการ = และ = น้อยขึ้นกับขนาดของแรงและระยะทางในแนวเดียวกับแรง
- งานที่ท าในหนึ่งหน่วยเวลาเรียกว่า ก าลัง หลักการของงาน
2. วิเคราะห์หลักการท างานของเครื่องกลอย่าง น าไปอธิบายการท างานของ
ง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได ้
3. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของ - เครื่องกลอย่างง่าย ได้แก่ คาน พื้นเอียง รอกเดี่ยว ลิ่ม สกรู
เครื่องกลอย่างง่าย โดยบอกประโยชน์และการ ล้อและเพลา ซึ่งน าไปใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน
4. ออกแบบและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมใน - พลังงานจลน์เป็นพลังงานของวัตถุที่เคลื่อนท พลังงานจลน์
ี่
การอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์ และ จะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นกับมวลและอัตราเร็ว ส่วนพลังงานศักย์

พลังงานศักย์โน้มถ่วง โน้มถ่วงเกี่ยวข้องกับต าแหน่งของวัตถ จะมีค่ามากหรือน้อย

ขึ้นกับมวลและต าแหน่งของวัตถ เมื่อวัตถุอยู่ในสนามโน้มถ่วง
วัตถุจะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้ม
ถ่วงเป็นพลังงานกล

ี่
5. แปลความหมายข้อมูลและอธิบายการเปลยน - ผลรวมของพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์เป็น
พลังงานระหว่างพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงาน พลังงานกล พลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ของวัตถุหนึ่ง

จลน์ของวัตถุโดยพลังงานกลของวัตถ มีค่าคงตัวจาก ๆ สามารถเปลี่ยนกลับไปมาได โดยผลรวมของพลังงานศักย์โน้ม

ข้อมูลที่รวบรวมได ้ ถ่วงและพลังงานจลน์มีค่าคงตัว นั่นคือพลังงานกลของวัตถุมีค่า
คงตัว
6. วิเคราะห์สถานการณ์และอธิบายการเปลี่ยน - พลังงานรวมของระบบมีค่าคงตัวซึ่งอาจเปลยนจากพลังงาน
ี่
และการถ่ายโอนพลังงานโดยใช้กฎการอนุรักษ์ หนึ่งเป็นอีกพลังงานหนึ่ง เช่น พลังงานกลเปลี่ยนเป็นพลังงาน
พลังงาน ไฟฟ้า พลังงานจลน์เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน พลังงานเสียง

พลังงานแสง เนื่องมาจากแรงเสียดทาน พลังงานเคมีในอาหาร

เปลี่ยนเป็นพลังงานที่ไปใช้ในการท างานของสิ่งมีชวิต
- นอกจากนี้พลังงานยังสามารถถ่ายโอนไปยังอีกระบบหนึ่ง
หรือได้รับพลังงานจากระบบอื่นได เช่น การถ่ายโอนความร้อน

ระหว่างสสาร การถ่ายโอนพลังงานของการสั่นของแหล่งก าเนิด
เสียงไปยังผู้ฟัง ทั้งการเปลี่ยนพลังงานและการถ่ายโอนพลังงาน
พลังงานรวมทั้งหมดมีค่าเท่าเดิมตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน

15

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบน

ผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


1. เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบัต และการ - เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ใช้ประโยชน์ รวมทั้งอธิบายผลกระทบจากการใช ้ ของซากสิ่งมีชีวิตในอดีต โดยกระบวนการ ทางเคมีและ
เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ จากข้อมูลที่รวบรวมได ้ ธรณีวิทยา เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ ได้แก่ ถ่านหิน หินน้ ามัน
และปิโตรเลียม ซึ่งเกิดจากวัตถุต้นก าเนิด และสภาพ แวดล้อม
การเกิดที่แตกต่างกัน ท าให้ได้ชนิดของเชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์
ที่มีลักษณะ สมบัต และการน าไปใช้ประโยชน์แตกต่างกันส าหรับ

ปิโตรเลียมจะต้องมีการผ่านการกลั่นลาดับส่วนก่อนการใช้งาน


เพื่อให้ได้ผลตภัณฑ์ที่เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์ เชื้อเพลิงซาก
ดึกด าบรรพ์เป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป

2. แสดงความตระหนักถึงผลจากการใช้เชื้อเพลิง - การเผาไหม้เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ในกิจกรรม ต่าง ๆ
ซากดึกด าบรรพ์ โดยน าเสนอแนวทางการใช ้ ของมนุษย์จะท าให้เกิดมลพิษทางอากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
ี่
เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมนอกจากนี้แก๊สบางชนิดทเกิดจากการ
เผาไหม้เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด ์


และไนตรัสออกไซด ยังเป็นแก๊สเรือนกระจกซึ่งส่งผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกรุนแรงขึ้น ดังนั้นจงควรใช ้

เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์ โดยค านึงถึงผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งมีชีวิต

และสิ่งแวดล้อม เช่น เลือกใช้พลังงานทดแทน หรือเลือกใช ้
เทคโนโลยีทลดการใช้เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์
ี่
3. เปรียบเทียบข้อดีและข้อจ ากัดของพลังงาน • เชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์เป็นแหล่งพลังงานที่ส าคัญใน

ทดแทนแตละประเภทจากการรวบรวมข้อมูลและ กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เนื่องจากเชื้อเพลิงซากดึกด าบรรพ์มี
น าเสนอแนวทางการใช้พลังงานทดแทน ที่เหมาะสม ปริมาณจ ากัดและมักเพิ่มมลภาวะในบรรยากาศมากขึ้น จึงมีการ
ในท้องถิ่น ใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม
พลังงานน้ า พลังงานชีวมวล พลังงานคลื่น พลังงานความร้อนใต ้
พิภพ พลังงานไฮโดรเจน

4. สร้างแบบจาลองที่อธิบายโครงสร้างภายในโลก • โครงสร้างภายในโลกแบ่งออกเป็นชั้นตามองค์ประกอบทาง
ตามองค์ประกอบทางเคมีจากข้อมูลที่รวบรวมได ้ เคมี ได้แก่ เปลือกโลก ซึ่งอยู่นอกสุด ประกอบด้วยสารประกอบ
ของซิลิกอน และอะลูมิเนียมเป็นหลัก เนื้อโลกคือส่วนที่อยู่ใต ้
เปลือกโลกลงไปจนถึงแก่นโลก มีองค์ประกอบหลักเป็น

สารประกอบของซิลิกอน แมกนีเซียม และเหล็ก และแก่นโลกคือ
ส่วนที่อยู่ใจกลางของโลก มีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็กและ
นิกเกิล ซึ่งแต่ละชั้นมีลักษณะแตกต่างกัน

16


ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ี่
ี่
5. อธิบายกระบวนการผุพังอยู่กับท การกร่อน - การผุพังอยู่กับท การกร่อน และการสะสมตวของตะกอน
และการสะสมตัวของตะกอนจากแบบจาลอง รวมทั้ง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ที่ท าให้ผิวโลกเกิด

ยกตัวอย่างผลของกระบวนการดังกล่าวที่ท าให้ผิว การเปลี่ยนแปลงเป็นภูมิลักษณ์แบบต่าง ๆ โดยมีปัจจัยสาคัญ คือ
โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง น้ า ลม ธารน้ าแข็ง แรงโน้มถ่วงของโลก สิ่งมีชีวิต สภาพอากาศ
และปฏิกิริยาเคมี

- การผุพังอยู่กับท คือ การที่หินผุพังท าลายลงด้วยกระบวน
ี่
การต่าง ๆ ได้แก่ ลมฟ้าอากาศกับน้ าฝน และรวมทั้งการกระท า
ของต้นไม้กับแบคทีเรีย ตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ซึ่งมี


การเพิ่มและลดอุณหภูมิสลบกัน เป็นต้น
- การกร่อน คือ กระบวนการหนึ่งหรือหลายกระบวนการท ี่
ท าให้สารเปลือกโลกหลดไป ละลายไปหรือกร่อนไปโดยมีตัวน า

พาธรรมชาต คือ ลม น้ า และธารน้ าแข็ง ร่วมกับปัจจัยอื่น ๆ

ได้แก่ ลมฟ้าอากาศ สารละลาย การครูดถู การน าพา ทั้งนี้ไม่

รวมถึงการพังทลายเป็นกลุ่มก้อน เช่น แผ่นดินถลม ภูเขาไฟ

ระเบิด
6. อธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดินและ - ดินเกิดจากหินที่ผุพังตามธรรมชาตผสมคลุกเคล้ากับ

กระบวนการเกิดดิน จากแบบจ าลอง รวมทั้งระบุ อินทรียวัตถุที่ได้จากการเน่าเปื่อยของซากพืช ซากสัตว์ทับถมเป็น
ี่
ปัจจัยทท าให้ดินมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน ชั้น ๆ บนผิวโลก ชั้นดินแบ่งออกเป็นหลายชั้น ขนานหรือเกือบ
ขนานไปกับ ผิวหน้าดิน แต่ละชั้นมีลักษณะแตกต่างกันเนื่องจาก
สมบัติทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และลักษณะอื่น ๆ เช่น สี

โครงสร้าง เนื้อดิน การยึดตัว ความเป็นกรด-เบส สามารถสังเกต
ได้จากการส ารวจภาคสนาม การเรียกชื่อชั้นดินหลักจะใช้อักษร
ภาษาอังกฤษตัวใหญ่ ได้แก่ O, A, E, B, C, R

ี่
- ปัจจัยทท าให้ดินแต่ละท้องถิ่นมีลักษณะและสมบัติแตกต่าง
กัน ได้แก่ วัตถุต้นก าเนิดดิน ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิตในดิน สภาพภูมิ
ประเทศ และระยะเวลา ในการเกิดดิน
7. ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใช ้ - สมบัติบางประการของดิน เช่น เนื้อดิน ความชื้นดิน ค่า

เครื่องมือที่เหมาะสมและน าเสนอแนวทางการใช ้ ความเป็นกรด-เบส ธาตุอาหารในดิน สามารถน าไปใช้ในการ
ประโยชน์ดินจากข้อมูลสมบัติของดิน ตัดสินใจถึงแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยอาจน าไปใช ้
ประโยชน์ ทางการเกษตรหรืออื่น ๆ ซึ่งดินที่ไม่เหมาะสมต่อการ
ท าการเกษตร เช่น ดินจืด ดินเปรี้ยว ดินเค็ม และดินดาน อาจ

เกิดจากสภาพดินตามธรรมชาติหรือการใช้ประโยชน์จะต้อง
ปรับปรุงให้มีสภาพเหมาะสม เพื่อน าไปใช้ประโยชน์

17


ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
7. ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใช ้ - สมบัติบางประการของดิน เช่น เนื้อดิน ความชื้นดิน ค่า

เครื่องมือที่เหมาะสมและน าเสนอแนวทางการใช ้ ความเป็นกรด-เบส ธาตุอาหารในดิน สามารถน าไปใช้ในการ
ประโยชน์ดินจากข้อมูลสมบัติของดิน ตัดสินใจถึงแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยอาจน าไปใช ้
ประโยชน์ ทางการเกษตรหรืออื่น ๆ ซึ่งดินที่ไม่เหมาะสมต่อการ
ท าการเกษตร เช่น ดินจืด ดินเปรี้ยว ดินเค็ม และดินดาน อาจ

เกิดจากสภาพดินตามธรรมชาติหรือการใช้ประโยชน์จะต้อง
ปรับปรุงให้มีสภาพเหมาะสม เพื่อน าไปใช้ประโยชน์
8. อธิบายปัจจัยและกระบวนการเกิดแหล่งน้ า - แหล่งน้ าผิวดินเกิดจากน้ าฝนที่ตกลงบนพื้นโลก ไหลจากท ี่

ผิวดินและแหล่งน้ าใต้ดิน จากแบบจ าลอง สูงลงสู่ที่ต่ าด้วยแรงโน้มถ่วง การไหลของน้ าท าให้พื้นโลกเกิดการ
กัดเซาะเป็นร่องน้ า เช่น ล าธาร คลอง และแม่น้ า ซึ่งร่องน้ าจะมี
ขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ าฝน ระยะเวลา
ในการกัดเซาะ ชนิดดินและหิน และลักษณะภูมิประเทศ เช่น

ี่
ความลาดชัน ความสูงต่ าของพื้นท เมื่อน้ าไหลไปยังบริเวณที่เป็น
แอ่งจะเกิดการสะสมตัวเป็นแหล่งน้ า เช่น บึง ทะเลสาบ ทะเล
และมหาสมุทร
- แหล่งน้ าใต้ดินเกิดจากการซึมของน้ าผิวดินลงไปสะสมตัวใต ้

พื้นโลก ซึ่งแบ่งเป็นน้ าในดินและน้ าบาดาล น้ าในดินเป็นน้ าที่อยู่
ร่วมกับอากาศตามช่องว่างระหว่างเม็ดดิน ส่วนน้ าบาดาลเป็นน้ า
ที่ไหลซึมลึกลงไปและถูกกักเก็บไว้ในชั้นหินหรือชั้นดิน จนอิ่มตัว

ไปดวยน้ า
9. สร้างแบบจ าลองที่อธิบายการใช้น้ า และ - แหล่งน้ าผิวดินและแหล่งน้ าใต้ดินถูกน ามาใช้ในกิจกรรม
น าเสนอแนวทางการใช้น้ าอย่างยั่งยืนในท้องถิ่นของ ต่าง ๆ ของมนุษย์ ส่งผลต่อการจัดการการใช้ประโยชน์น้ าและ
ตนเอง คุณภาพของแหล่งน้ า เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากร

การใช้ประโยชน์พื้นที่ในด้านต่าง ๆ เช่น ภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรม และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ท าให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงปริมาณน้ าฝนในพื้นที่ลุ่มน้ า และแหล่งน้ าผิวดินไม่
เพียงพอส าหรับกิจกรรมของมนุษย์ น้ าจากแหล่งน้ าใต้ดินจึงถูก

น ามาใช้มากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณน้ าใต้ดินลดลงมาก
จึงต้องมีการจัดการใช้น้ าอย่างเหมาะสมและยั่งยืน ซึ่งอาจท าได ้
โดยการจัดหาแหล่งน้ าเพื่อให้มีแหล่งน้ าเพียงพอส าหรับการ
ด ารงชีวิต

18

ตัวชี้วด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

10. สร้างแบบจ าลองที่อธิบายกระบวนการเกิด - น้ าท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม หลุมยุบ แผ่นดินทรุด

และผลกระทบของน้ าท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดิน มีกระบวนการเกิดและผลกระทบ ที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจสร้าง
ถล่ม หลุมยุบ แผ่นดินทรุด ความเสียหายร้ายแรง แก่ชีวิต และทรัพย์สิน
- น้ าท่วม เกิดจากพื้นที่หนึ่งได้รับปริมาณน้ าเกินกว่าที่จะกัก

เก็บได ท าให้แผ่นดินจมอยู่ใต้น้ า โดยขึ้นอยู่กับปริมาณน้ าและ
สภาพทางธรณีวิทยาของพื้นท ี่
- การกัดเซาะชายฝั่ง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
ชายฝั่งทะเลที่เกิดขึ้นตลอดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลม

ท าให้ตะกอนจากทหนึ่งไปตกทับถมในอีกบริเวณหนึ่ง แนวของ
ี่
ชายฝั่งเดิมจึงเปลี่ยนแปลงไป บริเวณที่มีตะกอนเคลื่อนเข้ามา
น้อยกว่าปริมาณที่ตะกอนเคลื่อนออกไป ถือว่าเปนบริเวณที่มีการ

กัดเซาะชายฝั่ง
- ดินถล่ม เป็นการเคลื่อนที่ของมวลดินหรือหินจ านวนมากลง

ตามลาดเขา เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกเป็นหลัก ซึ่งเกิดจาก
ปัจจัยสาคัญ ได้แก่ ความลาดชันของพื้นท สภาพธรณีวิทยา
ี่

ปริมาณน้ าฝน พืชปกคลุมดิน และการใช้ประโยชน์พื้นท ี่
- หลุมยุบ คือ แอ่งหรือหลุมบนแผ่นดินขนาดต่าง ๆ ที่อาจ
เกิดจากการถล่มของโพรงถ้ าหินปูนเกลือหินใต้ดิน หรือเกิดจาก
น้ าพัดพาตะกอนลงไปในโพรงถ้ าหรือธารน้ าใต้ดิน แผ่นดินทรุด
เกิดจากการยุบตัวของชั้นดิน หรือ หินร่วน เมื่อมวลของแข็งหรือ

ของเหลวปริมาณมาก

19

ค าอธิบายรายวิชา

ู้
รายวิชา ว 22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน จ านวน 1.5 หน่วยกิต


ศกษาเกี่ยวกับชนิดตวละลาย ชนิดตวทาละลาย อุณหภูมิทมีตอสภาพละลายไดของสาร ความดนทมีตอสภาพ



ี่

ี่




ละลายได้ของสาร ปริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเขมขนเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลตอมวล และ

มวลต่อปริมาตร ยกตัวอย่างการใช้สารละลายในชีวิตประจ าวันอย่างถูกต้องและปลอดภัย
ศกษาเกี่ยวกับอวัยวะทเกี่ยวข้องในระบบหายใจ กลไกการหายใจเข้าและออก กระบวนการแลกเปลยนแก๊ส
ี่

ี่




แนวทางในการดแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทางานเป็นปกต อวัยวะในระบบขับถ่ายในการก าจดของเสยทางไต


ี่


แนวทางในการปฏิบตตนทช่วยให้ระบบขับถ่ายทางานไดอย่างปกต โครงสร้างและหน้าทของหัวใจ หลอดเลอด และเลอด


ี่


การทางานของระบบหมุนเวียนเลอด เปรียบเทยบอัตราการเตนของหัวใจ ขณะปกตและหลงทากิจกรรม แนวทางในการ







ดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลอดให้ทางานเป็นปกต อวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการควบคมการทางาน




ต่าง ๆ ของร่างกาย แนวทางในการดูแลรักษารวมถงการป้องกันการกระทบกระเทอนและอันตรายตอสมองและไขสนหลง


อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิง ฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคมการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เมื่อ

ี่
เข้าสู่วัยหนุ่มสาว การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวโดยการดูแลรักษาร่างกายและจตใจของตนเองในช่วงทมี

การเปลี่ยนแปลง การตกไข่ การมีประจ าเดือน การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเป็นทารก วิธีการคุมก าเนิดท ี่
เหมาะสม ผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรโดยการประพฤติตนให้เหมาะสม
ี่

ศึกษาเกี่ยวกับการเคลอนทของวัตถุทเป็นผลของแรงลพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงทกระท าตอวัตถุในแนวเดยวกัน
ื่

ี่

ี่

ี่




แผนภาพแสดงแรงและแรงลพธ์ทเกิดจากแรงหลายแรงทกระทาตอวัตถุในแนวเดยวกัน ปัจจยทมีผลตอความดนของ
ี่
ี่
ของเหลว แรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุในของเหลว แผนภาพแสดงแรงที่กระท าต่อวัตถุในของเหลว แรงเสียดทาน
ี่
สถิตและแรงเสียดทานจลน์ ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน แผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอื่น ๆ ทกระท าตอ

วัตถุ ประโยชน์ของความรู้เรื่องแรงเสียดทานโดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสยดทาน

ี่






ทเป็นประโยชน์ตอการทากิจกรรมในชวิตประจาวัน โมเมนตของแรงเมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดลตอการหมุน แหลงของ




ี่
ี่


สนามแม่เหลก สนามไฟฟ้า และสนามโน้มถ่วง ทศทางของแรงทกระทาตอวัตถุทอยู่ในแตละสนาม แผนภาพแสดงแรง


ี่

แม่เหลก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถวงทกระทาต่อวัตถุ ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงแม่เหลก แรงไฟฟ้า และแรงโน้ม
ี่
ถ่วงทกระทาตอวัตถุที่อยู่ในสนามนั้น ๆ กับระยะห่างจากแหลงของสนามถึงวัตถุ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การ








สงเกต การสารวจตรวจสอบ การสบคนข้อมูล การทดลอง การอภิปราย การสร้างความคดรวบยอด การฝกปฏิบัต การ

ั้
ท างานกลุ่ม การเสริมสร้างค่านิยม การสื่อความ การน าเสนอผลงาน และการตงค าถามเพื่อให้รักการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มี
ี่

ื่


ิ่
ทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกิดความรู้ ความคด ความเข้าใจ มีจตวิทยาศาสตร์ สามารถสอสารสงทเรียนรู้




สามารถตดสนใจ มีทกษะในการดารงชวิต และน าความรู้วิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิชาอื่นและน าไปใชใน

ชีวิตประจ าวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัดชั้นปี
ว 2.1 ม.2/4–6 ว 1.2 ม.2/1–17 ว 2.2 ม.2/1–15

20

โครงสร้างรายวิชา


ู้
รายวิชา ว 22101 วิทยาศาสตรพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน จ านวน 1.5 หน่วยกิต

ชื่อ เวลา น้ าหนัก
หน่วยการเรียนร ู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ (ชั่วโมง) คะแนน

องค์ประกอบของสารละลายและปัจจัยที่มีผลต่อสภาพ 8 15
สารละลาย ว 2.1 ม.2/4–6 ละลายได ้
ว 1.2 ม.2/1–17 ความเข้มข้นของสารละลาย 10 20

ร่างกายมนุษย์ ว 2.2 ม.2/1–15 ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา 12 20
การเคลื่อนที่และ การเคลื่อนท ี่ 17 25
แรง แรงในชีวิตประจ าวัน 13 20

ั่
รวม ชวโมง/คะแนน ระหว่างภาค 80
ั่
รวม ชวโมง/คะแนน ปลายภาค 20
รวมทั้งสิ้น 100

22

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารละลาย จ านวน 10 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรียน เวลาสอน 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
-
2. ตัวชี้วดชั้นปี

-

3. จุดประสงค์การเรียนร ู้

1. มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เจตคตต่อวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี และการวัดและประเมินผลวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (K)
2. อธิบายธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ได้ (K)

3. ชี้แจงเจตคตที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ (A)

4. สื่อสารและน าความรู้ความเข้าใจเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ

การปฐมนิเทศเป็นการสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างครูกับนักเรียน เป็นการตกลงกันในเบื้องต้นก่อนที่จะเริ่มการเรียน
การสอน ครูได้รู้จักนักเรียนดียิ่งขึ้น รับทราบความต้องการ ความรู้สึก และเจตคตต่อวิชาที่เรียน ในขณะเดียวกันนักเรียนได ้


ทราบความต้องการของครู แนวทางในการจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล สิ่งต่างๆ ดังกลาวจะน าไปสู่การ

เรียนการสอนทมีประสิทธิภาพ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม ชวยให้นักเรียนคลายความวิตก
ี่
กังวล สามารถเรียนได้อย่างมีความสุข อันจะส่งผลให้นักเรียนประสบความส าเร็จบรรลุตามเป้าหมายที่ได้ก าหนดไว้
วิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศาสตร์ความรู้แขนงอื่นๆ ซึ่งเรียกว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี
ลักษณะส าคัญ คือ โลกในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และองค์กรทางวิทยาศาสตร์

ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์และผู้ทท างานทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า จตวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีการแสดงออกต่าง
ี่

ๆ เช่น การเห็นคณค่า ความส าคัญ ความชอบ
5. สาระการเรียนร ู้
การปฐมนิเทศ
– แนวทางการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

– เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
– ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และจตวิทยาศาสตร์

– การวัดและประเมินผลวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

23

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย

2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์
7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
1. ฝึกวิเคราะห์และสรุปการพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
2. สังเกตวัตถุปริศนา


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1) ครูแนะน าตนเองแล้วให้นักเรียนในห้องเรียนแนะน าตนเองทุกคน


ี่


ุ่
2) ครูอาจให้นักเรียนแนะน าทละกลมตวอักษร หรือตามลาดบหมายเลขประจาตว หรือตามแถวทนั่ง ตามความ

เหมาะสม
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้

1) ครูอธิบายข้อตกลงในการเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึงคาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ี่
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเนื้อหาทตองเรียนรู้ในรายวิชา
พื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 ว่ามีอะไรบ้าง
ิ่





ิ่

ี่
2) ครูถามความคดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับสงประดษฐของนักวิทยาศาสตร์ว่า สงประดษฐทนักเรียนใชอยู่ใน
ปัจจุบันมีอะไรบ้าง แล้วให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันว่า สิ่งประดิษฐ์ดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร


3) ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันว่า การเรียนด้วยวิธีการ ให้นักเรียนคนคว้าดวยตนเอง จากการทดลองและปฏิบัต ิ
จริงเหมือนนักวิทยาศาสตร์ นักเรียนคิดว่ามีประโยชน์หรือไม่
4) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามปัญหาเพื่อท าความเข้าใจร่วมกัน
5) ครูแนะน าวิธีการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ว่านักเรียนมีวิธีการเรียนรู้หลายแบบ เช่น
– ลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่บ้านและที่โรงเรียน
– ค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
– อภิปรายกลุ่มย่อย
– แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
6) ครูถามความคดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ว่า การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้ประสบ

ความส าเร็จต้องมีลักษณะนิสัยอย่างไร

24


7) ครูอธิบายเกี่ยวกับธรรมชาตของวิทยาศาสตร์ว่า วิทยาศาสตร์มีลกษณะเฉพาะตวทแตกต่างจากศาสตร์ความรู้

ี่

แขนงอื่นๆ ซึ่งเรียกว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะส าคัญ ดังนี้

– โลกในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์มีการมองปรากฏการณต่างๆในธรรมชาตแตกตางจากศาสตร์อื่นๆ เชน ใน



ิ่
มุมมองแบบวิทยาศาสตร์มองว่า สงตางๆ สามารถทาความเข้าใจได้โดยอาศยหลกฐานสนับสนุน การแปลผล และสรุปเป็น






องคความรู้ดวยสตปัญญาของมนุษย์ นอกจากนี้แนวคดทางวิทยาศาสตร์สามารถเปลยนแปลงได เมื่อมีหลกฐานเพิ่มเตมท ี่



ี่
เชื่อถือได้และน ามาสร้างค าอธิบายใหม่
– การสบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นการรวบรวมข้อมูลหลกฐานเพื่อน ามาสร้างคาอธิบายหรือตอบ

ค าถามในสิ่งที่สงสัย โดยใช้กระบวนการหรือวิธีการต่างๆ ที่เป็นระบบ แต่ไม่ตายตัว
ั้
– องคกรทางวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมของมนุษยชาต มีหลายมิติ ทงในระดับบุคคล สังคม หรือองค์กร แตก


แขนงเป็นสาขาต่างๆ แต่หลักการหรือค าอธิบายทางวิทยาศาสตร์ไม่มีขอบเขตแบ่งแยก
8) ครูอธิบายเกี่ยวกับจิตวิทยาศาสตร์ว่า จิตวิทยาศาสตร์เป็นลกษณะนิสยของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกนึกคด










ทางวิทยาศาสตร์ เชน การวิเคราะห์และให้เหตผลแตละข้อมูลก่อนการประเมินและตดสนใจ การไม่แสดงความคดเห็นตอ
สถานการณ์ต่างๆ ก่อนลงมือท าหรือได้ข้อมูลไม่เพียงพอ รวมถึงการเห็นคุณค่า ความส าคัญ และความสนใจต่อวิทยาศาสตร์
9) ครูให้นักเรียนฝกวิเคราะห์และสรุปการพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และการสร้างความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ตามลักษณะของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ โดยการปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้
(1) ครูแบงนักเรียนกลุ่มละ 5–6 คน ปฏิบัติกิจกรรม ฝึกวิเคราะห์และสรุปการพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตาม

ขั้นตอน ดังนี้



ุ่


– แตละกลมสบคนข้อมูลวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอมจากอดตจนถึงปัจจบัน จากหนังสอ วารสาร


สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต
– วิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของแบบจาลองอะตอม แลวเขียนแผนผงเชอมโยง

ื่

หลักฐานและข้อสรุปที่ค้นพบตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน

(2) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5–6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตวัตถปริศนา ตามขั้นตอน ดังนี้
ี่
– ครูเตรียมกล่องทึบทมีรูเล็กๆ 1 รู ด้านข้าง จากนั้นใส่วัตถุ 1 ชนิดลงในกลอง เช่น คลิปหนีบกระดาษตัวใหญ่

ลูกปิงปอง และดินน้ ามัน แล้วปิดกล่องให้สนิท

– แต่ละกลุ่มสังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลวัตถุในกล่อง โดยใช้ประสาทสมผัส จากนั้นลงความคิดเห็นข้อมูลว่า
วัตถุในกล่องคืออะไร


– สงเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลวัตถุในกลองอีกครั้ง โดยใชเครื่องมือตางๆ เชน เครื่องชง แม่เหลก และไม้




ั่
เสียบลูกชิ้น จากนั้นลงความคิดเห็นข้อมูลว่า วัตถุในกล่องคืออะไร
– แต่ละกลุ่มน าเสนอข้อสรุปสิ่งที่อยู่ในกล่อง พร้อมทั้งอธิบายแนวคิดและหลักฐานประกอบ



(3) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดรอบ ๆ หองเรียนและเปดโอกาสให้นักเรียน



ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
ุ่
(4) นักเรียนแต่ละกลมน าเสนอผลการปฏิบัตกิจกรรมหน้าห้องเรียน จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจาก

การปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

25

กิจกรรม ฝึกวิเคราะห์และสรุปการพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร ์


– องคความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของแบบจ าลองอะตอมไดมาอย่างไร (แนวคาตอบ การสงเกตและการทดลอง
เพื่อหาหลักฐาน จากนั้นน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และสร้างเป็นค าอธิบายที่สอดคล้องกับหลักฐาน)

ี่
– แบบจาลองอะตอมมีการเปลยนแปลงระหว่างทาการศกษาหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคาตอบ มีการ

เปลี่ยนแปลง เพราะเครื่องมือที่ทันสมัยขึ้น ทาให้นักวิทยาศาสตร์ค้นพบความรู้และหลักฐานใหม่เกี่ยวกับแบบจ าลองอะตอม
มากขึ้น)

– ผลผสรุปของกิจกรรมคออะไร (แนวคาตอบ ธรรมชาตของวิทยาศาสตร์มีลกษณะเฉพาะตวทแตกตางจาก





ี่







ศาสตร์อื่นๆ โดยมุมมองแบบวิทยาศาสตร์ตอปรากฏการณตางๆ มีลกษณะเฉพาะ เชน องคความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาศย


ข้อมูลหรือหลักฐานที่น่าเชื่อถือมาประกอบกันเพื่อสร้างค าอธิบาย โดยองค์ความรู้สามารถเปลี่ยนแปลงไดเมื่อมีหลกฐานใหม่
ที่น่าเชื่อถือมาสนับสนุนค าอธิบายใหม่)
กิจกรรม สังเกตวัตถุปริศนา
– ข้อมูลที่ได้จากการใช้ประสาทสัมผัสของแต่ละกลุ่มเหมือนหรือแตกต่างกัน (แนวค าตอบ แตกต่างกัน)





ี่
– ข้อมูลทไดจากการใชประสาทสมผสกับการใชเครื่องมือเหมือนหรือแตกตางกัน อย่างไร (แนวคาตอบ
แตกต่างกัน โดยการใช้เครื่องมือจะให้ข้อมูลที่มากกว่า)

– การปฏิบัตกิจกรรมสอดคลองกับธรรมชาตของวิทยาศาสตร์อย่างไร (แนวคาตอบ แสวงหาความจริงโดย






อาศยหลกฐาน การแปลผล และการสรุปเป็นองคความรู้ และเมื่อมีหลกฐานเพิ่มเตมทเชอถือได ก็สามารถสรุปเป็นองค ์

ื่

ี่
ความรู้ใหม่ได้)
(5) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัตกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ธรรมชาตของ


วิทยาศาสตร์ทาให้เราเกิดความรู้ทางวิทยาศาสตร์โดยอาศยขอมูลและหลักฐาน ซึ่งความรู้เดมอาจมีการเปลยนแปลงได้เมื่อ


ี่



ี่

คนพบหลกฐานใหม่ทน่าเชอถือ นอกจากนี้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาจสร้างขึ้นดวยตวคนเดยวหรือเกิดจากการทางาน


ื่
ร่วมกันได ้
ขั้นสรุป

1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการจดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เจต



คตตอวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ธรรมชาตของวิทยาศาสตร์ จตวิทยาศาสตร์ และการวัดและประเมินผลวิชา

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศกษาคนคว้าเนื้อหาของบทเรียนชวโมงหน้า เพื่อจดการเรียนรู้ครั้งตอไป โดยให้

ั่

นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อองค์ประกอบของสารละลาย
10. สื่อการเรียนร ู้
ี่
1. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

26


11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้
ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
ซักถามความรู้เรื่อง แนวทางการจัดการ 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะกระบวนการทาง

เรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัด
เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์และ วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง

เทคโนโลยี ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น วิทยาศาสตร์
จิตวิทยาศาสตร์ และการวัดและ รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ 2. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
ประเมินผลวิชาวิทยาศาสตร์และ วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สังเกตการท างานกลุ่ม

เทคโนโลยี 3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
โดยการสังเกตการท างานกลุ่ม
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย
กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน

กลุ่ม

27

บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................

2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………

3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………

4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

28

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้

4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………

ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

29

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารละลาย จ านวน 10 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย เวลาสอน 1 ชั่วโมง

ู้
1. มาตรฐานการเรียนร
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้าง

ี่

และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกและธรรมชาตของการเปลยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ

เกิดปฏิกิริยาเคมี
2. ตัวชี้วดชั้นปี


ี่

ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบายผลของชนิดตวละลาย ชนิดตวทาละลาย อุณหภูมิทมีตอสภาพ


ละลายได้ของสาร รวมทั้งอธิบายผลของความดันที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้สารสนเทศ (ว 2.1 ม. 2/4)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. อธิบายองค์ประกอบของสารละลายได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)

4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)

5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องสารละลายไปใช้ในชวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
สารละลายอาจมีสถานะเป็นของแขง ของเหลว และแก๊ส สารละลายประกอบดวยตัวละลายและตัวท าละลาย กรณ ี


สารละลายเกิดจากสารทมีสถานะเดียวกัน สารทมีปริมาณมากที่สดจัดเป็นตัวท าละลาย และกรณีสารละลายเกิดจากสารทมี
ี่
ี่

ี่
สถานะแตกต่างกัน สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวท าละลาย
5. สาระการเรียนร ู้
องค์ประกอบของสารละลาย
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใชทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

30

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
ส ารวจสารละลาย


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้

ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน
ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน

1) ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาแล้ว โดยใช้ค าถามต่อไปนี้
– สารละลายคืออะไร (แนวค าตอบ สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบในอัตราส่วนที่ไม่คงที่)
– ยกตัวอย่างสารละลายที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันมา 3 ตัวอย่าง (แนวค าตอบ น้ าปลา อากาศ และสเตนเลส)
2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง สารละลาย

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้

จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน



ั้

(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)



(1) ครูแบงกลุ่มนักเรียนแลวเปดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับองค์ประกอบของสารละลาย ที่ครู
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาน าเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนท าภาระงานทไดรับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทกของนักเรียน
ี่

และถามค าถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้




– องคประกอบของสารละลายมีกี่องคประกอบ อะไรบ้าง (แนวคาตอบ 2 องคประกอบ คอ ตวละลาย
และตัวท าละลาย)
ั้
– สารละลายมีสถานะเป็นของเหลวเท่านั้นหรือไม่ อย่างไร (แนวค าตอบ ไม่ สารละลายมีสถานะเป็นได้ทง
ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส)

– น้ าเกลอจดเป็นสารละลายหรือไม่ เพราะอะไร (แนวค าตอบ น้ าเกลือจัดเปนสารละลาย เพราะเป็นสาร


เนื้อเดียวที่ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ตัวละลาย ได้แก่ เกลือ และตัวท าละลาย ได้แก่ น้ า)

ั้
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตงประเดนค าถามที่นักเรียนสงสยจากการทาภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คาถาม ซึ่ง

ครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่าสารละลายประกอบด้วย 2
ี่



องค์ประกอบในอัตราส่วนทไม่คงที่ คอ ตัวละลายและตัวท าละลาย โดยสารละลายอาจมีสถานะเปนของแขง ของเหลว และ
แก๊ส
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)
(1) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่ององค์ประกอบของสารละลาย จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้

นักเรียนเข้าใจว่า สารละลายประกอบด้วย 2 องค์ประกอบในอัตราสวนที่ไม่คงที่ คือ ตัวละลายและตัวท าละลาย โดยเกณฑ์
ที่ใช้ในการระบุว่าสารใดเป็นตัวละลาย และสารใดเป็นตัวท าละลาย คอ สถานะของสารและปริมาณของสาร

(2) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม ส ารวจสารละลาย ตามขั้นตอน ดังนี้
– ส ารวจสารละลายบริเวณโรงเรียนว่า สารละลายมีสถานะใดบ้าง บันทึกผล
– ระบุตัวละลายและตัวท าละลายของสารละลายที่ส ารวจพร้อมทงระบุว่าใช้เกณฑ์ในการพิจารณาบันทึกผล
ั้

31

– น าข้อมูลที่ได้มาอภิปรายร่วมกัน แล้วน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม



(4) ครูคอยแนะน าชวยเหลอนักเรียนขณะปฏิบัตกิจกรรม โดยครูเดนดรอบ ๆ บริเวณทนักเรียนสารวจและเปิด
ี่




โอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– สารละลายมีสถานะใดบ้าง (แนวค าตอบ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส)

– นักเรียนใช้เกณฑ์ใดในการระบุตัวละลายและตัวท าละลายของสารละลาย (แนวคาตอบ สถานะของสารและ
ปริมาณของสาร)

– ยกตวอย่างสารละลายทใชเกณฑ์ในการระบุตวละลายและตวทาละลายของสารละลายแตกตางกัน (แนว



ี่


ค าตอบ น้ าเชื่อมใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ โดยน้ าเชื่อมมีน้ าตาลที่มีสถานะเป็นของแข็งเป็นตัวละลายและมีน้ าที่มีสถานะ
เป็นของเหลวเปนตวท าละลาย และแก๊สหุงตมใช้ปริมาณของสารเป็นเกณฑ์ โดยแก๊สหุงตมมีแก๊สมีเทนและแก๊สบิวเทนเปน





ตัวละลาย และมีแก๊สโพรเพนเป็นตัวท าละลาย)
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า สารละลายแต่ละชนิดมี




อัตราสวนของตวละลายและตวทาละลายแตกตางกัน และในบางครั้งตวละลายและตวทาละลายก็มีสถานะแตกตางกัน




ดังนั้นการที่จะระบุว่าในสารละลายชนิดหนึ่งมีสารใดเปนตัวละลายหรือสารใดเปนตัวท าละลาย สามารถพิจารณาไดโดยใช ้



สถานะของสารและปริมาณของสารเป็นเกณฑ์
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)



นักเรียนคนคว้าคาศพทภาษาตางประเทศเกี่ยวกับสารละลายจากหนังสอเรียนภาษาตางประเทศหรืออินเทอร์เน็ต


และน าเสนอให้เพื่อนฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง
ี่

มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่

ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น
– น้ าโซดาจดเป็นสารละลายหรือไม่ เพราะอะไร (แนวค าตอบ น้ าโซดาจดเป็นสารละลาย เพราะเปนสารเนื้อ



เดียวที่ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ตัวละลาย ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และตัวท าละลาย ได้แก่ น้ า)





– น้ าเกลอและนากใชเกณฑ์ในการระบุตวละลายและตวทาละลายแตกตางกันเพราะอะไร (แนวคาตอบ



เพราะองคประกอบของน้ าเกลอมีสถานะแตกตางกัน จงตองใชสถานะของสารเป็นเกณฑ์ สวนองคประกอบของนากมี






สถานะเหมือนกัน จึงต้องใช้ปริมาณของสารเป็นเกณฑ์)

32

ขั้นสรุป
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสารละลาย โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

ั่

2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศกษาคนคว้าเนื้อหาของบทเรียนชวโมงหน้า เพื่อจดการเรียนรู้ครั้งตอไป โดยให้



นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อความเข้มข้นของสารละลาย
3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นค าถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 ค าถาม เพื่อน ามาอภิปรายร่วมกันในห้องเรียน
ครั้งต่อไป
10. สื่อการเรียนร ู้
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต
3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

ี่
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1

5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เล่ม 1
6. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
ี่
11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซักถามความรู้เรื่องสารละลาย 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะกระบวนการทาง
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัด
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง

3. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบทดสอบ 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น วิทยาศาสตร์
ก่อนเรียน รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ 2. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
โดยการสังเกตการท างานกลุ่ม
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน

กลุ่ม

33

บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................

2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………

3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………

4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

34

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้

4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………

ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

35

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารละลาย จ านวน 10 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ความเข้มข้นของสารละลาย เวลาสอน 1 ชั่วโมง

ู้
1. มาตรฐานการเรียนร
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้าง

ี่


และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกและธรรมชาตของการเปลยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี

2. ตัวชี้วดชั้นปี
ระบุปริมาณตวละลายในสารละลาย ในหน่วยความเขมข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรตอปริมาตร มวลตอมวล และมวล




ต่อปริมาตร (ว 2.1 ม. 2/5)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายความเข้มข้นของสารละลายได้ (K)
2. ระบุความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละได้ (K)
3. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)

4. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
5. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)

6. สื่อสารและน าความรู้เรื่องความเข้มข้นของสารละลายไปใชในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ความเข้มข้นของสารละลาย เปนการระบุปริมาณตวละลายในสารละลาย หน่วยความเข้มข้นของสารละลายที่นิยม




ระบุ คอ หน่วยความเขมขนเปนร้อยละ ไดแก่ ร้อยละโดยมวลต่อมวล ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร และร้อยละโดยปริมาตร



ต่อปริมาตร
5. สาระการเรียนร ู้
ความเข้มข้นของสารละลาย
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้

3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์
7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร

2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

36

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นข้อมูลความเข้มข้นของสารละลาย


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1) ครูให้นักเรียนดูข้อมูลส่วนประกอบโดยประมาณข้างกล่องนมยูเอชที รสหวาน แล้วถามค าถามนักเรียนดังนี้
– ส่วนประกอบโดยประมาณมีอะไรบ้าง (แนวค าตอบ น้ านมโคร้อยละ 97 และน้ าตาลร้อยละ 3)



– การระบุสวนประกอบโดยประมาณมีข้อดหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคาตอบ มี เพราะทาให้เราทราบว่า
ผลิตภัณฑ์นั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง และมีในปริมาณเท่าใด)

– จากส่วนประกอบโดยประมาณ ตวละลายคือสารใด และตัวท าละลายคือสารใด (แนวคาตอบ ตัวละลาย คอ


น้ าตาล และตัวท าละลาย คือ น้ านมโค)

ู่

ื่
2) นักเรียนร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคดเห็นเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชอมโยงไปสการเรียนรู้เรื่อง ความ
เข้มข้นของสารละลาย
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)

ุ่

(1) ครูแบ่งกลมนักเรียนแล้วเปดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความเข้มขนของสารละลาย ทครู
ี่
มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาน าเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนท าภาระงานทไดรับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทกของนักเรียน

ี่

และถามค าถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้
– ความเข้มข้นของสารละลายคืออะไร (แนวค าตอบ การระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย)

ี่

– การระบุความเข้มข้นของสารละลายมีความสาคญอย่างไร (แนวคาตอบ ทาให้ผู้ทน าสารละลายไปใชทราบ
ว่าในสารละลายมีปริมาณตัวละลายและตัวท าละลายเทาใด เพื่อที่จะน าสารละลายไปใช้ได้ตรงตามจุดประสงค์)

– หน่วยความเข้มข้นของสารละลายที่นิยมคืออะไร (แนวค าตอบ หน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ)
ั้

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตงประเดนค าถามที่นักเรียนสงสยจากการทาภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คาถาม ซึ่ง


ครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูชวยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ความเข้มข้นของ

สารละลายเป็นการระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)
(1) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5–6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความเข้มข้นของสารละลาย ตามขั้นตอนดังนี้


ี่
ุ่




– แตละกลมวางแผนการสบคนข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพื่อนสมาชกชวยกันสบคนตามทสมาชกกลม

ุ่

ช่วยกันก าหนดหัวข้อย่อย เช่น หน่วยความเข้มข้นของสารละลายเปนร้อยละ การระบุหน่วยความเข้มข้นของสารละลายท ี่

เหมาะสม และหน่วยความเข้มข้นของสารละลายหน่วยอื่นๆ



– สมาชกกลมแตละคนหรือกลมย่อยชวยกันสบคนข้อมูลตามหัวข้อย่อยทตนเองรับผดชอบ โดยการสบคน


ี่

ุ่

ุ่

จากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต

37

ี่

ุ่

– สมาชกกลุ่มน าข้อมูลทสืบคนได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลมฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปรายซักถามจน
คาดว่าสมาชิกทุกคนมีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน

– สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ทั้งหมดเปนผลงานของกลุ่ม และชวยกันจดท ารายงานการศกษาค้นคว้า



เกี่ยวกับความเข้มข้นของสารละลาย
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม





(3) ครูคอยแนะน าชวยเหลอนักเรียนขณะปฏิบัตกิจกรรม โดยครูเดนดรอบ ๆ บริเวณห้องเรียนและเปิดโอกาสให้
นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– หน่วยความเข้มข้นของสารละลายเป็นร้อยละมีหน่วยอะไรบ้าง (แนวค าตอบ ร้อยละโดยมวลต่อมวล ร้อยละ
โดยมวลต่อปริมาตร และร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร)




– ถ้าตวละลายและตวทาละลายมีสถานะเดยวกันควรใชหน่วยความเข้มข้นของสารละลายหน่วยใด (แนว

ค าตอบ ร้อยละโดยมวลต่อมวลเมื่อมีสถานะเป็นของแข็ง และร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเมื่อมีสถานะเป็นของเหลว)
ี่

– การเตรียมสารละลายทมีความเข้มข้นตามตองการตองค านึงถึงสิ่งใด (แนวคาตอบ ปริมาณและสถานะของ
ตัวละลายและตัวท าละลาย)
– นอกจากหน่วยความเข้มข้นของสารละลายเป็นร้อยละ เราสามารถระบุความเข้มข้นของสารละลายเป็น
หน่วยใดได้อีก (แนวค าตอบ ส่วนในล้านส่วน และส่วนในพันล้านส่วน)



(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเขาใจว่า หน่วยความเขมขนของ

สารละลายเป็นร้อยละ ได้แก่ ร้อยละโดยมวลต่อมวล ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร และร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร ซึ่งแต ่
ละหน่วยเหมาะกับสารละลายที่มีองค์ประกอบของตัวละลายและตัวท าละลายแตกต่างกัน
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
(1) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเข้มข้นของสารละลายเป็นร้อยละให้นักเรียนเข้าใจว่า
– หน่วยร้อยละโดยมวลต่อมวล เปนการระบุมวลตวละลายในสารละลาย 100 หน่วยมวลเดยวกัน นิยมใช้กับ



สารละลายที่มีสถานะเป็นของแข็ง
– หน่วยร้อยละโดยมวลตอปริมาตร เป็นการระบุมวลตัวละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร นิยมใช้กับ

สารละลายที่มีตัวละลายเป็นของแข็งในตัวท าละลายที่เป็นของเหลว


– หน่วยร้อยละโดยปริมาตรตอปริมาตร เป็นการระบุปริมาตรตวละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร
เดียวกัน นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส
– หน่วยอื่นๆ ที่ใช้บอกความเข้มข้นของสารละลาย เช่น ส่วนในล้านส่วน และส่วนในพันล้านส่วน

(2) ครูยกตวอย่างโจทย์การคานวณความเข้มข้นของสารละลายเพื่อให้นักเรียนไดลงมือทาและฝกทกษะการคด



ค านวณ โดยครูเน้นให้นักเรียนเขาใจหลักการของการคานวณความเข้มข้นของสารละลายว่า เป็นอัตราส่วนของตัวละลายใน
สารละลาย ดังตัวอย่างต่อไปนี้

38

ตัวอย่างที่ 1 สารละลายนากประกอบด้วยทองค า 10 กรัม ละลายอยู่ในทองแดง 300 กรัม สารละลายนากมีความ
เข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยมวลต่อมวล

วิธีท า
มวลของตัวละลาย = 10 กรัม
มวลของตัวท าละลาย = 300 กรัม
มวลของสารละลาย = มวลของตัวละลาย + มวลของตัวท าละลาย

= 10 + 300 = 310 กรัม
10
ความเข้มข้นของสารละลาย = ×100 = 3.23
310
ดังนั้น สารละลายนากมีความเข้มข้นร้อยละ 3.23 กรัม/กรัม
ตัวอย่างที่ 2 การเตรียมน้ าเชื่อมต้องใช้น้ าตาลทราย 10 กรัม ใส่ลงในน้ า แล้วท าให้เป็นสารละลาย 100

ลูกบาศก์เซนติเมตร น้ าเชื่อมนี้มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยมวลต่อปริมาตร
วิธีท า
มวลของตัวละลาย = 5 กรัม
ปริมาตรของสารละลาย = 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5
ความเข้มข้นของสารละลาย = ×100 = 5
100
ดังนั้น น้ าเชื่อมมีความเข้มข้นร้อยละ 5 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร

ตัวอย่างที่ 3 แอลกอฮฮล์ล้างแผลมีส่วนผสมของเอทานอล 25 ลูกบาศก์เซนติเมตรกับน้ า 600 ลูกบาศก์


เซนติเมตร แอลกอฮอลล้างแผลมีความเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยปริมาตรต่อปริมาตร
วิธีท า
ปริมาตรของตัวละลาย = 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ปริมาตรของตัวท าละลาย = 600 ลูกบาศก์เซนติเมตร

ปริมาตรของสารละลาย = ปริมาตรของตัวละลาย + ปริมาตรของตัวท าละลาย
= 25 + 600 = 625 กรัม
25
ความเข้มข้นของสารละลาย = × 100 = 4
625
ดังนั้น แอลกอฮอล์ลางแผลมีความเข้มข้นร้อยละ 4 ลูกบาศก์เซนติเมตร/ลูกบาศก์เซนติเมตร


(3) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องดัชนีคุณภาพอากาศ ให้นักเรียนเข้าใจว่า ดชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index–

AQI) เป็นการรายงานข้อมูลคุณภาพอากาศในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจ โดยดัชนีคณภาพอากาศ 1 ค่า ใชเป็นตัวแทนค่า

ความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศ 6 ชนิด ดังตารางต่อไปนี้

39

ตารางค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทียบเท่ากับค่าดัชนีคุณภาพอากาศ
PM 2.5 PM 10 O3 CO NO2 SO2

(มคก./ (มคก./ (ppb) (ppm) (ppb) (ppb)
AQI
ลบ.ม.) ลบ.ม.)
เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง เฉลี่ย 1 ชั่วโมง
0–25 0 – 25 0 – 50 0 – 35 0 – 4.4 0 – 60 0 – 100

26–50 36 – 37 51 – 80 36 – 50 4.5 – 6.4 61 – 106 101 – 200
51–100 38 – 50 81 – 120 51 – 70 6.5 – 9.0 107 – 170 201 – 300

101–200 51 – 90 121 – 180 71 – 120 9.1 – 30.0 171 – 340 301 – 400
มากกว่า 200 91 ขึ้นไป 181 ขึ้นไป 121 ขึ้นไป 30.1 ขึ้นไป 341 ขึ้นไป 401 ขึ้นไป


หมายเหต : มคก. คือ ไมโครกรัม ลบ.ม. คือ ลูกบาศก์เมตร
ppm คือ ส่วนในล้านส่วน ppb คือ ส่วนในพันล้านส่วน

0 – 25 26 – 50 51 – 100 101 – 200 มากกว่า 200

ความหมายของสี เริ่มมีผลกระทบ มีผลกระทบ
ดีมาก ดี ปานกลาง
ต่อสุขภาพ ต่อสุขภาพ

(4) ครูเชื่อมโยงความรู้เข้ากับบูรณาการอาเซียน โดยครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ประสบปัญหาฝุ่นละอองจากการเผาไหม้ในที่โล่ง ท าให้ในช่วงเปลี่ยนฤดหรือช่วงที่เกิดลมแรง ฝุ่นละอองจากประเทศ


ี่
ี่

ทเป็นตนก าเนิดฟุ้งกระจายข้ามแดนเข้าไปในเขตพื้นทของประเทศเพื่อนบ้าน สงผลให้ความเข้มข้นของสารมลพิษทาง

อากาศเพิ่มขึ้นจนกระทบต่อสขภาพของคนในประเทศ และเกิดเป็นกรณีพิพาทระหว่างประเทศได ประเทศสมาชิกอาเซียน

จึงมีการเจรจาและลงนาม ความตกลงอาเซียนว่าดวยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน เพื่อบรรเทาสถานการณฝุ่นหมอกควัน


ี่
ี่

โดยมีการร่วมมือป้องกันไม่ให้เกิดการเผาป่าเพื่อเปดพื้นทท าการเกษตรใหม่ และมีการอบรมการจัดการพื้นทท าการเกษตร
และการสร้างงานนอกพื้นที่การเกษตรให้กับประชาชน
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
ี่
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง

มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่
ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น

– ถ้าผสมทองแดงกับเหล็ก นักเรียนจะใช้หน่วยความเข้มข้นของสารละลายหน่วยใด เพราะอะไร (แนวค าตอบ
ั่

หน่วยร้อยละโดยมวลตอมวล เพราะทองแดงกับเหลกมีสถานะเป็นของแข็ง จงเหมาะกับการชงมวลเพื่อน ามาใชเตรียม



สารละลาย)

40



– ถ้าตองเตรียมสารละลายสผสมอาหารในเอทานอล 250 ลกบาศก์เซนตเมตร ให้มีความเข้มข้นร้อยละ 20


กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร นักเรียนตองใช้สีผสมอาหารกี่กรัม (แนวค าตอบ 50 กรัม)

ขั้นสรุป

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความเข้มข้นของสารละลาย โดยร่วมกันเขียนเปนแผนทความคดหรือผงมโน
ี่


ทัศน์
10. สื่อการเรียนร ู้
1. หนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต
2. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
ี่
3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
4. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เล่ม 1

ี่
5. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซักถามความรู้เรื่องความเข้มข้นของ 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
สารละลาย รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ สังเกตการท างานกลุ่ม

2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กลุ่ม

41

บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................

2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………

3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………

4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

42

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้

4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………

ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

43

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารละลาย จ านวน 10 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเตรียมสารละลาย (1) เวลาสอน 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนร
ู้

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้าง

ี่
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกและธรรมชาตของการเปลยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ

เกิดปฏิกิริยาเคมี
2. ตัวชี้วดชั้นปี

ระบุปริมาณตวละลายในสารละลาย ในหน่วยความเขมข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรตอปริมาตร มวลตอมวล และมวล




ต่อปริมาตร (ว 2.1 ม. 2/5)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. เตรียมสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)

4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องการเตรียมสารละลายไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ความเข้มข้นของสารละลายทมีหน่วยร้อยละโดยมวลตอปริมาตรเป็นการระบุมวลตวละลายในสารละลาย 100
ี่


ี่
หน่วยปริมาตร นิยมใชกับสารละลายทมีตวละลายเป็นของแข็งในตวทาละลายทเป็นของเหลว โดยความเข้มข้นของ


ี่
สารละลายแปรผันตามปริมาณของตัวละลาย
5. สาระการเรียนร ู้
ความเข้มข้นของสารละลาย
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

44

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
1. ฝึกการเตรียมสารละลาย (1)
2. ฝึกเตรียมสารละลายจุนส ี


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1) ครูถามนักเรียนถึงสิ่งต่างๆ ที่พบในชีวิตประจ าวัน เช่น


– สารละลายชนิดใดในชวิตประจาวันของนักเรียนทมีตวละลายเป็นของแข็งและตวทาละลายเป็นของเหลว


ี่
(แนวค าตอบ น้ าปลาและน้ าหวาน)
– หน่วยความเข้มข้นที่เหมาะกับสารละลายชนิดนี้คือหน่วยใด (แนวค าตอบ ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร)
2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคดเหนเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง การเตรียม


สารละลาย
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูให้นักเรียนดูโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตและน้ ากลั่นที่ครูเตรียมมา แล้วถามค าถามนักเรียนดังนี้

– ถ้าน าโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตผสมกับน้ ากลั่น สารละลายที่ได้จะมีสีอะไร (แนวค าตอบ สีม่วง)


ี่

– ถ้าผสมโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตในน้ ากลั่นดวยปริมาณทแตกตางกัน สารละลายทได้จะแตกตางกันใน
ี่
เรื่องใด (แนวค าตอบ ความเข้มข้นของสารละลายและความเข้มสีของสารละลาย)


– ถ้าตองเตรียมสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตความเข้มข้นร้อยละ 1 กรัมตอลกบาศก์เซนตเมตร


นักเรียนจะเตรียมอย่างไร (แนวค าตอบ ชงโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต 1 กรัม และตวงน้ ากลั่น 100 ลูกบาศก์เซนตเมตร

ั่
จากนั้นน ามาผสมกัน)
(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)
(1) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม ฝึกการเตรียมสารละลาย (1) ตามขั้นตอน ดังนี้
– ชั่งโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต 1 กรัม โดยใช้บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร





ั่
– เตมน้ ากลน 20 ลกบาศก์เซนตเมตร ใชแทงแก้วคนสารคนให้โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตละลายจนหมด
แล้วเทลงในกระบอกตวงขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร


ี่
– ใชขวดฉีดน้ ากลน ฉีดน้ ากลนจานวนเลกน้อยรอบๆ บีกเกอร์เพื่อลางโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตทตดอยู่

ั่
ั่

ภายใน จากนั้นน าไปเทในกระบอกตวง ฉีดน้ ากลั่นล้างบีกเกอร์ซ้ า 2 – 3 ครั้ง

– เติมน้ ากลั่นลงในกระบอกตวงจนถึงขีด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วคนให้เป็นเนื้อเดยวกัน จากนั้นสังเกต
สีของสารละลาย บันทึกผล

ั่

ี่
– ด าเนินการเชนเดยวกับขั้นตอนท 1 – 4 แตชงโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต 2 กรัม แลวเปรียบเทยบกับส ี



ของสารละลายในครั้งแรก
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม

45






(3) ครูคอยแนะน าช่วยเหลอนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดรอบ ๆ ห้องเรียนและเปดโอกาสให้นักเรียน

ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

– ตวละลายและตวทาละลายของกิจกรรมนี้คออะไร (แนวคาตอบ ตวละลาย คอ โพแทสเซียมเปอร์แมงกา


เนต และตัวท าละลาย คือ น้ ากลั่น)
– ความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตมีค่าแตกต่างกันหรือไม่ เพราะอะไร (แนวค าตอบ

แตกตางกัน เพราะสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตทเตรียมแตละครั้งมีมวลของโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
ี่

แตกต่างกันในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตรเท่ากัน)
– สีใช้เปรียบเทียบความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตไดหรือไม่ สงเกตจากอะไร (แนว



ค าตอบ ใช้ได้ โดยสังเกตจากสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะมีสเข้มกว่า)

ี่
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า สารละลายทมีตวละลาย
มากกว่าจะมีความเข้มข้นของสารละลายมากกว่า และถ้าตัวละลายมีสี เราอาจเปรียบเทียบความเขมข้นของสารละลายโดย

สังเกตจากสีได้ โดยสารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะมีสีของสารละลายเข้มกว่า
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)

ุ่




ี่
ครูแบ่งนักเรียนกลมละ 5 – 6 คน เพื่อฝกเตรียมสารละลายจนสทมีความเข้มข้นแตกตางกัน 3 คา จากนั้นน าผล
การเตรียมสารละลายมาอภิปรายร่วมกันในหัวข้อความเข้มข้นและสีของสารละลายที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
ี่

(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง
มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่
ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น

– หน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเหมาะกับการเตรียมสารละลายลกษณะใด (แนวค าตอบ สารละลายที่มีตว

ละลายเป็นของแข็งและตัวท าละลายเป็นของเหลว)

– ถ้าตองการเตรียมน้ าเชอม 50 ลกบาศก์เซนตเมตรทมีความเข้มข้นของน้ าตาลทรายร้อยละ 8 กรัมตอ
ื่

ี่


ลกบาศก์เซนตเมตร ตองเตรียมน้ าตาลทรายและน้ าเทาใด (แนวคาตอบ น้ าตาลทราย 4 กรัม และน้ า 50 ลกบาศก์




เซนติเมตร)
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเตรียมสารละลาย โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

46

10. สื่อการเรียนร ู้
1. โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต

2. จุนส ี
3. น้ ากลั่น
4. บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5. กระบอกตวงขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร

6. ขวดฉีดน้ ากลั่น
7. เครื่องชั่งสาร
8. ช้อนตักสาร
9. แท่งแก้วคนสาร

10. ใบกิจกรรม ฝึกการเตรียมสารละลาย (1)
11. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
ั้
12. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เล่ม 1

ี่

13. แบบฝึกทกษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1

14. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เล่ม 1

11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซักถามความรู้เรื่องการเตรียม 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
สารละลาย รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ สังเกตการท างานกลุ่ม
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กลุ่ม

47

บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................

2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………

3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………

4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

48

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้

4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………

ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา