ไฟล์ plc 50 ชั่วโมง การงานอาชีพ

รายงานผลการจัดกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี
( Professional Learning Community : PLC )

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ปีการศกึ ษา 2564

ของ
นายณรงค์ ไทยเรอื ง

ครผู ้สู อน

โรงเรียนเทศบาลเมอื งสุโขทยั
สังกดั เทศบาลเมืองสโุ ขทยั ธานี
อาเภอเมือง จังหวดั สโุ ขทยั

คานา

รายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional
Learning Community : PLC) จัดทาขึ้นเพ่ือนาเสนอแนวทางในการดาเนินงานของกลุ่ม “SC Team 1”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือแก้ไขปัญหาเร่ือง นักเรียนขาดแรงจูงใจ และขาดความ
กระตือรือร้นในการเรียน โดยความร่วมมือจากครูประจาวิชาและเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจเร่ืองการ
ปฏิบัติด้วยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรม รวมท้ังแลกเปล่ียนเรียนรู้ การติดตามและ
ประเมนิ ผลในการดาเนนิ งานของครผู ้สู อนในโรงเรียนเทศบาลเมืองสุโขทัย

หวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ี จะเกิดประโยชน์ต่อผู้ครผู ู้สอน ผู้บรหิ ารสถานศึกษาและบุคลากร
ทางการศึกษา รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ในการนาไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทาง
ดังกลา่ วไดเ้ ปน็ อย่างดี

กลมุ่ “SC Team 1”

ผลการดาเนนิ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ

1. หลกั การและเหตุผล
ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การ

รวมกลุ่มกันของครผู ู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชงิ วิชาการที่มเี ป้าหมายเพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกนั อยา่ งต่อเนอ่ื ง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558)

จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดาเนินการในรปู แบบ PLC นาไปสู่การ
เปล่ียนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพ และผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน โดย มีผลดีท้ังต่อครูผู้สอน และนักเรียน
ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือ ลดความรู้สึกโดดเด่ียวในงานสอนของครู เพิ่ม
ความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจ และเป้าหมายของโรงเรียนมากข้ึน โดยเพ่ิมความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติให้บรรลุ
พันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของ
นักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดีย่ิงข้ึน รวมทั้งเข้าใจบทบาท
และพฤติกรรมการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีท่ีสุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจใน
แงข่ องผลดตี อ่ ผู้เรยี นพบวา่ PLC สามารถลดอตั ราการตกซ้าช้นั และจานวนช้นั เรียนทีต่ ้องเลือ่ น หรือชะลอการ
จัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ประวัติศาสตร์
และวิชาการอ่านท่ีสูงขึ้นอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่ม
นกั เรยี นทม่ี ภี มู ิหลงั ไม่เหมือนกนั ลดลงอยา่ งชดั เจน

จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทาจึงเกิดความคิดที่จะนากระบวนการ PLC
(Professional Learning Community) มาเพื่อเป็นการปรับปรุง แก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน
และร่วมกันพฒั นานวตั กรรมทใ่ี ช้ในการแก้ปญั หาเก่ียวกับการจัดการเรยี นร้แู กน่ ักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้
ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านการเรียนวิชาการงานอาชีพของนักเรียนให้ดีย่ิงขึ้น โดยได้เร่ิมดาเนินกิจกรรมกับ
นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาและชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในห้องเรียน คือ ปัญหา
นักเรยี นขาดแรงจูงใจ ขาดความกระตือรือร้นในการเรียน ซง่ึ ส่งผลใหน้ กั เรียนไม่ประสบผลสาเร็จในการเรียน และ
เปน็ อปุ สรรคต่อการจดั การเรยี นการสอน

2. วตั ถุประสงค์
1. เพื่อใหน้ ักเรยี นมที ักษะในการฟัง และเห็นคุณค่าของการเปน็ ผ้ฟู งั ทดี่ ี
2. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเกดิ สมาธจิ ิตใจจดจ่อในการเรียน
3. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในระดบั ท่สี ูงขึน้
4. เพ่ือปรบั พฤติกรรมของนักเรียนท่มี ปี ญั หาให้เปล่ยี นไปในทางท่ดี ีขน้ึ
5. มีนวตั กรรม หรอื คู่มือการใชท้ ่มี คี วามเหมาะสม และเร้าความสนใจของผู้เรยี น

3. วธิ ีการดาเนินงาน
แนวทางการปฏบิ ัติกจิ กรรมการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
1. แบ่งกลุ่มยอ่ ยตามความเหมาะสม
2. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มคิดแนวทางแก้ไขปัญหา 1 เรื่องจากประเด็นตอ่ ไปน้ี
2.1 ปัญหาการเรยี นรูข้ องนักเรียน 1 เรือ่ ง/กล่มุ
2.2 ปัญหาด้านการจดั การเรยี นการสอนของครู หรอื เทคนคิ วธิ ีการสอนทีค่ รู
ควรพฒั นา 1 เร่อื ง/กลมุ่

3. จดั ทาโครงการ/กจิ กรรม การสร้างชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)

กระบวนการของ PLC
ขน้ั ตอนที่ 1 Community สร้างทีมครู
ขั้นตอนท่ี 2 Practice จัดการเรียนรู้ เชน่ การวเิ คราะห์หน่วยการเรยี นรู้ รว่ มกันออกแบบกจิ กรรมการ
เรยี นรู้ในการจดั ทาแผนการเรียนรู้ เพ่อื แกป้ ัญหา หรอื พฒั นา และนาสกู่ ารปฏิบตั ิ โดยมีการเปดิ หอ้ งเรยี น เพ่ือ
การสังเกตการณส์ อน

เครอ่ื งมอื ในการประเมิน
- แบบนิเทศ 01 แบบสงั เกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ขน้ั ตอนท่ี 3 Reflection สะท้อนคิดเพื่อการพัฒนาการปฏิบตั ิ
ขั้นตอนที่ 4 Evaluation ประเมิน เพื่อพัฒนาสมรรถนะครู
ขั้นตอนที่ 5 Network Development สรา้ งเครอื ข่ายการพฒั นา

บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชกิ กลุ่มตามกระบวนการ PLC
- Model Teacher หมายถึง ครูผู้รับการนิเทศ หรือครผู ้สู อน
- Buddy Teacher หมายถึง ครูคนู่ เิ ทศ หรือครรู ่วมเรยี นรู้
- Mentor หมายถงึ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
- Expert หมายถงึ ผู้เช่ยี วชาญ เช่น ครู คศ.3 นกั วิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัย ศึกษานเิ ทศก์
- Administrator หมายถงึ ผู้บริหารโรงเรยี น
- Recorder หมายถึง ผบู้ นั ทกึ รายงานการประชมุ

4. วนั เวลา สถานท่ี ในการดาเนนิ งาน

ระยะเวลา : ต้ังแต่ วันที่ 4 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 – 21 มนี าคม พ.ศ. 2565

สถานท่ี : โรงเรียนเทศบาลเมืองสโุ ขทยั

การวางแผนการดาเนินการ

ขน้ั ตอน ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ
(ว/ด/ป) สมาชิกกลุ่ม
สมาชกิ กล่มุ
1. ประชุมวางแผนการดาเนนิ การ 04/06/2564 สมาชิกกลุม่

2. ค้นหาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา 11/06/2564 สมาชิกกลมุ่

3. ศกึ ษาทฤษฎี และเอกสารท่เี กีย่ วข้องกับวธิ ีการแก้ปญั หาท่ี 14/06/2564 สมาชิกกลมุ่
เลอื ก 14/06/2564 สมาชกิ กลุ่ม
21/06/2564
4. ศกึ ษาทฤษฎี และเอกสารท่ีเกย่ี วข้องกบั วธิ กี ารแกป้ ัญหาที่ ครูผสู้ อน
เลอื ก

5. ออกแบบนวตั กรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหา

6. จัดทาแผนกิจกรรม 25/06/2564

7. ทดลองนานวัตกรรมทีพ่ ฒั นาขึ้น นาไปใช้ในการสอนจริง 07/07/2564
นิเทศการสอน สงั เกตช้นั เรยี น สะท้อนผล ครง้ั ท่ี 1 - 08/07/2564

8. ทดลองนานวตั กรรมทพี่ ัฒนาข้นึ นาไปใชใ้ นการสอนจรงิ 10/08/2564 ครผู ูส้ อน
นเิ ทศการสอน สังเกตชัน้ เรยี น สะท้อนผล ครง้ั ที่ 2 - 11/08/2564 ครูผู้สอน
9. ทดลองนานวตั กรรมท่ีพัฒนาขน้ึ นาไปใชใ้ นการสอนจรงิ 14/09/2564 ครูผู้สอน
นเิ ทศการสอน สังเกตชั้นเรียน สะทอ้ นผล ครง้ั ท่ี 3 - 15/08/2564 ครูผู้สอน
11. ทดลองนานวัตกรรมท่ีพัฒนาขน้ึ นาไปใชใ้ นการสอนจริง 01/02/2565 ครผู สู้ อน
นิเทศการสอน สังเกตชัน้ เรียน สะท้อนผล ครั้งท่ี 4 - 02/02/2565 สมาชิกกลุ่ม
12. ทดลองนานวัตกรรมท่ีพัฒนาข้นึ นาไปใชใ้ นการสอนจริง 22/02/2565 สมาชกิ กลุ่ม
นเิ ทศการสอน สังเกตชั้นเรียน สะทอ้ นผล ครง้ั ที่ 5 - 23/02/2565
13. ทดลองนานวัตกรรมที่พัฒนาขน้ึ นาไปใชใ้ นการสอนจริง 08/03/2565
นเิ ทศการสอน สังเกตชัน้ เรยี น สะทอ้ นผล ครัง้ ท่ี 6 - 09/03/2565
14. สรุปผลการดาเนนิ การ 14/03/2565

15. เขียนรายงาน 21/03/2565

รวม

5. สรุปผลการดาเนนิ งาน
ประเด็นด้านผ้เู รยี น
พฤติกรรมของนักเรียนที่มีปัญหาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นตามข้อตกลงท่ีต้ังไว้ นักเรียนมีความ

กระตือรือร้น และมีส่วนร่วมในช้ันเรียนมากขึ้น ซึ่งดูผลได้จากหลักฐานผลงานต่างๆ ที่แสดงถึงด้านความรู้
ความเขา้ ใจ กระบวนการคดิ กระบวนการเรยี นรู้ และผลการเรยี นตา่ งๆ ของนกั เรียน

ประเด็นดา้ นกจิ กรรม
- ลักษณะความเหมาะสม ประสิทธิภาพของกิจกรรม ข้ันตอนของกระบวนการเรียนการสอน

วธิ กี ารสอน เทคนิคการสอนต่างๆ มีประสทิ ธิภาพ
- กิจกรรมมีลาดบั ขนั้ ตอนและความตอ่ เนื่อง
- กิจกรรมมีความเหมาะสม สอดคล้องกับจุดประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดและ

ประเมินผล
- การบริหารจดั การชนั้ เรยี น การจัดช้นั เรยี น วธิ กี ารคมุ ชั้นเรยี น หรอื การจัดกลุ่มเพือ่ ทากิจกรรม
- ครแู ละผู้เรียนมปี ฏสิ มั พนั ธ์/การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
- กิจกรรมการเรยี นร้นู าไปสกู่ ารพัฒนาความสามารถของผูเ้ รียน
- การกาหนดเวลาและโครงสรา้ งเหมาะสมกับเน้ือหา บทเรยี น ระดบั ความสามารถของผูเ้ รียน

ประเด็นด้านครู
- ครมู กี ารใช้คาถาม คาส่ัง คาอธบิ าย หรอื การใชส้ ื่อ
- ครมู ีการเรยี งลาดับข้นั ตอนการนาเสนอประเด็นคาถาม คาสงั่ หรอื คาอธิบาย
- การเสริมแรงของครู
ประเด็นส่ือการสอน
- สอ่ื กิจกรรม และแหลง่ การเรยี นรู้มคี วามถูกตอ้ ง เหมาะสม มีประสิทธภิ าพ (ดา้ นคุณภาพ)
- ส่ือมีความเพียงพอ เหมาะสม (ด้านปริมาณ)

ประเดน็ ดา้ นบรรยากาศ
- สภาพแวดล้อมของช้ันเรียน หรือสถานที่เรียนมีผลต่อประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน

และการเรยี นร้ขู องผู้เรียน
- การยอมรบั ความคดิ เหน็ คาถาม และการชว่ ยเหลือของผเู้ รียน
- บทเรียนสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนสรา้ งความคิด คาถาม ขอ้ คาดเดา และ/หรอื ขอ้ เสนอ

6. อภปิ รายผลการดาเนนิ งาน
6.1 ผลลัพธ์ท่เี กิดจากกระบวนการ
1) มอี งคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเดน็ ความรทู้ ่นี ่าสนใจ ทเ่ี กิดขนึ้ จากการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ของ

สมาชกิ เครอื ข่ายทเ่ี ปน็ ประโยชนก์ ับครู และครูสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชนก์ ับผ้เู รียนได้อย่าง
เป็นรปู ธรรม (สมาชกิ เครือขา่ ยมีการนาไปใชไ้ ด้อยา่ งชดั เจน)

2) มีร่องรอยการรายงานผลการนาองค์ความรู้นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึน
ของสมาชิกเครือขา่ ยไปใช้ตลอดระยะท่ีดาเนนิ โครงการทุกครง้ั ที่มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนร้โู ดยสมาชกิ ทุกคน

6.2 ผลลพั ธท์ เ่ี กิดกบั ผู้เรยี น / ครู / สมาชิกท่ีเขา้ รว่ มเครอื ขา่ ย PLC
1) ผู้เรยี นได้การเรียนรตู้ ามเปา้ หมาย และวัตถุประสงคท์ ก่ี าหนดไวท้ ุกประการ และมีความชดั เจน

ท้งั เชงิ ปริมาณ และคุณภาพ
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทาให้ผู้เรียนได้พัฒนา และเกิดคุณลักษณะอย่าง

ชดั เจน
3) กิจกรรมทุกกิจกรรมของสมาชกิ ในกลุ่ม PLC ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจ เป็นผู้ใฝ่เรยี นรู้

มคี วามกระตอื รือร้นในการเรียน
4) สมาชิกท่ีเข้าร่วมเครือข่าย PLC ทุกคนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ และการ

ดแู ลผเู้ รียน
6.3 คุณค่าท่เี กิดตอ่ วงการศึกษา
1) มเี ครือขา่ ยท่ชี ัดเจน และการขยายเครือขา่ ยแลว้ และมีความชัดเจน เปน็ รูปธรรม และมี

แนวโน้มการเกดิ เครอื ข่ายเพิ่มขึ้น
2) การร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรยี น ให้ผลการเรยี นรู้ทต่ี ้องการเกิดข้นึ ในตัว

นักเรียน โดยครทู ี่เป็นสมาชกิ ในชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ทุกคนวางเป้าหมายร่วมกนั

7. ผลทีเ่ กดิ จากการดาเนนิ งาน
7.1 ได้นวตั กรรมในการแก้ไขปญั หา
7.2 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นดีขึ้น หรอื เปน็ ไปตามเกณฑ์ทต่ี กลงกนั ไว้
7.3 พฤตกิ รรมของนกั เรียนท่ีมปี ญั หาเปลีย่ นไปในทางท่ีดีข้นึ ตามขอ้ ตกลงทต่ี ั้งไว้
7.4 นาไปสกู่ ารอบรมคปู องพฒั นาครู และรวบรวมส่ง เพ่อื เกบ็ เปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

8. รอ่ งรอย/หลักฐาน
8.1 แบบสงั เกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของ Buddy Teacher
8.2 ภาพการพูดคยุ ปรึกษากับสมาชิกกลมุ่ PLC, ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน, ภาพการนิเทศการสอน

9. บทเรียนท่ไี ด้จากการดาเนนิ งาน
ครผู สู้ อนไดเ้ ลง็ เห็นถึงปญั หาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤตกิ รรมของนักเรยี นท่ีแตกต่างกันในแต่

ละบคุ คล รวมไปถงึ เรียนรู้ท่ีจะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีแตกตา่ งกันผ่านการอภปิ รายร่วมกัน
กับเพ่ือนครู และนกั เรยี น

10. ส่งิ ทจี่ ะดาเนนิ การตอ่ ไป
จากการแก้ปัญหาเบื้องต้นด้านนักเรียนขาดความกระตือรือร้น และขาดแรงจูงใจในการเรียน พบว่า

นักเรยี นตระหนกั ถงึ ความสาคัญในการเรียน และตัง้ ใจเรยี นมากข้ึน จึงตอ้ งการเผยแพร่เทคนคิ ในการดูแล และ
บริหารช้นั เรยี นใหก้ บั เพอื่ นครใู นช้นั เรียนอน่ื ๆ และผู้ทสี่ นใจต่อไป

11. ปัญหา /อปุ สรรค
การพบปะพูดคุยระหว่างครูผู้สอนประจาวิชาไม่ค่อยต่อเน่ืองเท่าท่ีควร เน่ืองด้วยคาบสอนตรงกัน

และในบางครงั้ ครูผสู้ อนมีภาระนอกเหนอื งานสอนมาก จึงไม่สะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

12. ขอ้ เสนอแนะ
1. ควรมีเครือข่ายออนไลน์เป็นสื่อกลางในการติดต่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ระหว่างครูท่ีทางาน

ร่วมกนั
2. เพ่ิมช่วั โมงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแตล่ ะระดับชนั้ นอกเหนือจากชวั่ โมงแลกเปล่ียนเรยี นรทู้ ท่ี างวิชาการ

จดั ให้ในแตล่ ะกลุม่ สาระ

บนั ทกึ กิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมืองสุโขทัย

ชื่อกลุ่ม “SC Team 1”

คร้งั ท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1/2564 วนั /เดือน/ปี : 4 มิถุนายน 2564

เร่มิ ดาเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสิ้น 2 ชั่วโมง - นาที

กิจกรรมครั้งนอ้ี ยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study)

(ทาเครือ่ งหมาย ลงในช่อง )

 ขัน้ ที่ 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)
 ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ัติ และสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)
 ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทเี่ ขา้ รว่ มกิจกรรม 3 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้

ที่ ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชอื่
หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ
1. นางเยาวรตั น์ อยูพ่ ุ่ม
ครผู ู้สอน
2. นายอคั รพล ทองเย้า ครูร่วมเรยี นรู้/เลขานุการ

3. นายณรงค์ ไทยเรอื ง

1. สภาพหรอื กลมุ่ ปญั หา เทคนิคการสอนที่ครูใช้ดึงดูดความสนใจผเู้ รยี นได้น้อย
2. งาน/กจิ กรรม ประชุมวางแผนการดาเนนิ การ
3. สมาชกิ ในกลุ่มประชุมวางแผนการดาเนินการจัดกจิ กรรม PLC

จากการศึกษากระบวนการ PLC (Professional Learning Community) มาเพ่ือเป็นการปรับปรุง
แก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และร่วมกันพัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาเก่ียวกับการจัด
การเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาทักษะต่างๆของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้เร่ิม
ดาเนินกิจกรรมกับนักเรยี นระดับช้ันประถมศึกษาตอนปลาย เพ่ือแกไ้ ขปญั หาที่เกิดขึ้นจรงิ ในห้องเรยี น
4. สมาชิกรว่ มกันเสนอแนวทางการปฏบิ ัติ

สมาชิกกลุ่มได้ประชุมวางแผนการดาเนินงานการจัดกิจกรรม PLC ร่วมกัน โดยเสนอแนวทางปฏิบัติ
เสนอวัน เวลา สถานที่ ในการดาเนินงาน เพอ่ื ให้เกิดความเข้าใจตรงกนั ของสมาชกิ ในกลุ่ม
5. ผลท่ไี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม

สมาชกิ ในกลุ่มได้กาหนดแนวทางปฏิบัติการจัดกจิ กรรม PLC ในคร้งั นี้ และประธานมอบหมายสมาชิก
ไปค้นหาปญั หาการจัดการเรียนการสอนในชัน้ เรยี นของตนเอง และแนวทางแก้ไขปัญหา แล้วนามาร่วมประชมุ
ครงั้ ตอ่ ไป นาผลการประชุมไปบันทึกใน PPR ของตนเอง

6. ผลท่ไี ด้จากการจัดกิจกรรม
นาผลการประชุมไปบันทกึ ใน PPR ของตนเอง และนาไปสูก่ ารอบรมพัฒนาครู

เลิกประชุมเวลา 17.30 น.

ลงช่อื ผบู้ นั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรอื ง )

ลงชื่อ ลงช่อื
(นางเยาวรตั น์ อย่พู ุ่ม) (นางสาวนิภาพร พรมมินทร)์
หวั หนา้ ฝ่ายวิชาการ
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงช่ือ ผรู้ ับรอง
(นางอมั พวัน สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวัดไทยชุมพลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสุโขทยั

บนั ทึกเพ่มิ เติม คร้งั ที่ 1/2564

จากการประชมุ PLC ของครผู สู้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ได้พบปัญหาที่ท่ีเกดิ กบั
นักเรยี น มีดงั นี้

1. นกั เรียนไมก่ ระตือรอื รน้ ท่ีจะเรียนรู้ อาจเพราะเรียนรูปแบบออนไลน์
2. นกั เรยี นชอบฟงั เพลง และเล่นเกมในห้องเรยี น
3. นกั เรียนไมใ่ ห้ความสนใจกบั ส่งิ ท่ีเรยี นเทา่ ทีค่ วร
4. นักเรยี นไม่ชอบวิชาทฤษฎี
5. นักเรยี นบางคนขาดเรยี น มีเกดิ ปัญหาในการทางาน และต่อยอดจากความรเู้ ดิม
6. นกั เรยี นจานวนบางส่วนปฏบิ ตั ชิ า้ กวา่ เพ่ือนคนอืน่ ในห้อง
7. นกั เรียนเขา้ เรยี นสาย ทาใหเ้ รียนไม่ทันเพ่ือน
8. นักเรยี นไมส่ ามารถเช่ือมโยงความรู้เดมิ และความรใู้ หม่ได้
โดยสมาชิกสว่ นใหญ่ไดเ้ สนอว่า ปัญหาที่พบในนกั เรียนสว่ นใหญ่จะมปี ัญหาทางด้านการขาดความ
สนใจในการเรียน ไม่มีความกระตือรือร้นในการเรียน อาจเพราะเรียนรูปแบบออนไลน์ ซ่ึงสมาชิกท่ีเหลือ
เหน็ ชอบตรงกนั กบั ปัญหานี้ โดยนักเรียนตอ้ งได้รับการแกไ้ ขอยา่ งเรง่ ด้วน
ประธานในท่ีประชุมได้เสนอให้สมาชิกในกลุ่มไปศึกษาแนวทางจากงานวิจัย นักการศึกษาทฤษฎีท่ี
เก่ยี วขอ้ ง สอื่ นวัตกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ทีป่ ระสบความสาเรจ็ เพือ่ จะไดน้ ามาเปน็ แนวทางในการแก้ปัญหาให้กับ
นักเรยี น

บันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสโุ ขทัย

ชื่อกลุ่ม “SC Team 1”

คร้งั ท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1/2564 วนั /เดือน/ปี : 11 มถิ นุ ายน 2564

เรมิ่ ดาเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ช่ัวโมง - นาที

กจิ กรรมครง้ั นีอ้ ยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study)

(ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ ง )

 ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)
 ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบัติ และสังเกตการณ์เรยี นรู้ (Do & See)
 ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคิด และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้

ที่ ช่อื -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอ่ื
หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ
1. นางเยาวรตั น์ อยูพ่ ุ่ม
ครผู ูส้ อน
2. นายอัครพล ทองเย้า ครูร่วมเรยี นรู้/เลขานกุ าร

3. นายณรงค์ ไทยเรอื ง

1. สภาพหรอื กลุ่มปัญหา เทคนคิ การสอนที่ครใู ชด้ ึงดูดความสนใจผูเ้ รยี นได้น้อย

2. งาน/กิจกรรม ค้นหาปัญหาและแนวทางแก้ไขปญั หา

3. สมาชกิ ในกลุ่มนาเสนอปัญหา/แนวทางการจัดการเรียนรู้

1) นายอัครพล ทองเย้า - นักเรยี นไม่ให้ความสนใจกับสิ่งทเ่ี รยี นเท่าท่ีควร

2) นางเยาวรัตน์ อย่พู ุ่ม - นักเรยี นบางคนไม่ตอบโตก้ ับครเู ลยขณะเรยี นแบบออนไลน์

3) นายณรงค์ ไทยเรือง - นกั เรียนยงั ขาดความกระตือรอื ร้นในการเรยี น และไม่สง่ งาน

4. สมาชิกเลอื กปญั หา ท่ีจะนามาแก้ไขร่วมกัน จานวน 1 ปัญหา

นกั เรียนสนใจนอ้ ย เทคนิคที่ครูสอนอาจไมด่ ึงดูดนกั เรียน

5. สมาชกิ เลือกแนวทางเทคนคิ การสอนท่ีใช้ในการแก้ปญั หา ดังนี้

5.1 เทคนิคการสอนแบบตงั้ คาถาม 5.2 เทคนคิ การสอนโดยใชเ้ กม

5.3 เทคนิคการสอนแบบแผนภมู ิกา้ งปลา 5.4 เทคนิคการสอนแบบ Storyline

5.5 เทคนคิ การสอนแบบ Discovery 5.6 เทคนคิ การสอนแบบ 5w1h

5.7 เทคนิคการสอนแบบสาธติ 5.8 เทคนคิ การสอนแบบเพ่ือนช่วยเพ่อื น

5.9 เทคนิคการสอนโดยใชแ้ บบจาลอง

6. ผลที่ไดจ้ ากการจัดกจิ กรรม
หวั หนา้ กล่มุ สาระมอบหมายสมาชิกไปศกึ ษาแนวทางการแกไ้ ขปัญหาจากงานวจิ ยั รูปแบบทม่ี ผี ู้พัฒนา

แล้วนามาร่วมประชมุ คร้ังตอ่ ไป นาผลการประชุมไปบนั ทึกใน PPR ของตนเอง

เลิกประชมุ เวลา 17.30 น.

ลงชอื่ ผู้บนั ทกึ
( นายณรงค์ ไทยเรอื ง )

ลงชื่อ ลงช่อื
(นางเยาวรตั น์ อยู่พุ่ม) (นางสาวนภิ าพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชื่อ ผ้รู ับรอง
(นางอัมพวนั สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลวัดไทยชุมพลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสุโขทยั

บนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย

ชอื่ กลุ่ม “SC Team 1”

ครัง้ ท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1/2564 วัน/เดอื น/ปี : 14 มิถนุ ายน 2564

เรม่ิ ดาเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ชั่วโมง - นาที

กิจกรรมครั้งนอ้ี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study)

(ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง )

 ขัน้ ที่ 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)
 ขนั้ ที่ 2 ปฏิบตั ิ และสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)
 ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ่เี ข้ารว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดงั น้ี

ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่อื
หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
1. นางเยาวรัตน์ อย่พู ุ่ม
ครผู สู้ อน
2. นายอัครพล ทองเยา้ ครรู ่วมเรียนรู้/เลขานกุ าร

3. นายณรงค์ ไทยเรือง

1. สภาพหรือกล่มุ ปัญหา เทคนิคการสอนที่ครูใช้ดงึ ดดู ความสนใจผ้เู รียนได้น้อย
2. งาน/กจิ กรรม ศึกษาทฤษฎี และเอกสารที่เกย่ี วข้องกับวิธกี ารแกป้ ัญหาท่ีเลือก
3. สมาชิกในกล่มุ นาเสนอแนวทางแก้ไขปญั หา

1) นาหลักการของการจัดการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ เช่น การเสริมแรงของ skinner และทฤษฎีการ
เรียนรู้ของ Robert Gagne โดยการจัดหาส่ือการเรียนสอน เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน และสร้าง
แรงจูงใจใหน้ ักเรียนอยากจะเรียนในส่ิงที่ครจู ะสอน สง่ เสริมปฏิสมั พันธ์ทีด่ รี ะหว่างครกู บั นักเรียน

2) นาหลักการของการจัดการเรียนรูม้ าประยุกต์ใช้ เช่น การเสริมแรงของ Clarkl.Hull โดยการจัดหา
สื่อ การเรียนสอนเพื่อให้นักเรียนได้ตอบคาถาม และเสริมแรงทางบวกทันทีจะช่วยให้นักเรียนมีความ
กระตอื รอื ร้น และเกิดความเข้มข้นในการเรยี นมากขนึ้

3) ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ฝึกการคิด ให้นักเรียนได้เล่น โดยหาส่ือท่ีเหมาะกับวัยของ
นักเรียน ใช้ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget ผสมผสานกับทฤษฎีลองผิดลองถูกของ Edward L
Thorndike

4) ใช้วิธีการสอนแบบสาธิต เช่น ให้ครูหรือนักเรียนคนใดคนหนึ่งแสดงให้นักเรียนหรือให้เพ่ือนดู
อาจเป็นการแสดงการใช้เครื่องมือ หรือวิธีการทางานให้ดู จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และเกิด
แรงจูงใจ ว่านกั เรียนทุกคนก็สามารถทาไดเ้ อง และถูกต้องดว้ ย

5) ครูควรพัฒนาส่ือการสอน ให้ทันสมัยยิ่งขึ้น ดูน่าสนใจ สะดวกกับการสอน รวมถึงแบบฝึกหัดด้วย
และควรมเี กมเลก็ ๆ คั่นระหวา่ งการสอน เพอ่ื ไม่ใหก้ ารเรยี นดนู ่าเบ่ือจนเกินไป

6) ควรจดั หาบคุ คลทีป่ ระสบความสาเรจ็ ทางด้านนัน้ ๆ มาเป็นตวั เสริมแรง ตามทฤษฎีของ Edward L
Thorndike ซึ่งได้ใหข้ อ้ สรุปว่าการเสรมิ แรงบวกทีม่ ากพอจะชว่ ยให้เกิดความกระหายใครร่ ู้ นาไปสู่ความสาเรจ็

4. ผลทีไ่ ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม
นาผลการประชมุ ไปบันทกึ ใน PPR ของตนเอง และนาไปส่กู ารอบรมพัฒนาครู

เลิกประชมุ เวลา 17.30 น.

ลงช่อื ผู้บันทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรอื ง)

ลงชื่อ ลงชอ่ื
(นางเยาวรัตน์ อยพู่ มุ่ ) (นางสาวนิภาพร พรมมนิ ทร์)
หวั หน้าฝา่ ยวิชาการ
หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชอ่ื ผู้รับรอง
(นางอัมพวัน สายใหม)

รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลวดั ไทยชุมพลฯ รักษำกำรในตำแหน่ง
ผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสุโขทัย

บนั ทึกกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย

ชอ่ื กลุ่ม “SC Team 1”

ครง้ั ท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1/2564 วัน/เดอื น/ปี 16 มถิ นุ ายน 2564

เร่ิมดาเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้นิ 2 ช่ัวโมง - นาที

กิจกรรมครงั้ นอ้ี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study)

(ทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ ง )

 ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)
 ขั้นที่ 2 ปฏิบตั ิ และสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)
 ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคิด และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู เ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้

ที่ ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่อื
หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ
1. นางเยาวรตั น์ อยพู่ ุ่ม
ครผู ู้สอน
2. นายอัครพล ทองเยา้ ครรู ่วมเรียนรู้/เลขานกุ าร

3. นายณรงค์ ไทยเรอื ง

1. สภาพหรือกลุ่มปญั หา เทคนคิ การสอนที่ครูใชด้ ึงดูดความสนใจผ้เู รียนได้น้อย
2. งาน/กิจกรรม ออกแบบนวัตกรรมท่ใี ชใ้ นการแก้ปัญหา และจดั ทาแผนกจิ กรรม
3. สมาชกิ ร่วมกันออกแบบกจิ กรรมในการแก้ไขปญั หา และจัดทาแผนกิจกรรม

ออกแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบตา่ งๆ เชน่ PBL, Active Learning, Model Based Learning,
Demonstrated Learning เป็นต้น

1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้เกม เป็นวิธีการสอนรูปแบบหน่ึงโดยท่ีครูผู้สอนสามารถ
เป็นผู้สร้างเกมข้ึน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด ได้ฝึกฝนเทคนิค
หรือทักษะพัฒนาการเรียนรู้ส่งิ ตา่ งๆ ด้วยตนเอง ผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์สัมผัสต่างๆ จาก
นามธรรมไปสรู่ ูปธรรม ช่วยให้ผูเ้ รยี นรจู้ ักสังเกต คดิ หาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด

2) จัดทานวัตกรรมหรือคู่มือการใช้ที่มีความเหมาะสมและเร้าความสนใจของผู้เรียน โดยมีผู้เชี่ยวชาญ
และหัวหน้ากลมุ่ สาระฯ เป็นผ้ใู หค้ าแนะนา และครทู า่ นอืน่ ๆ นาไปปรบั ใชใ้ นคาบสอนของตนเอง

จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้หัวข้อการพัฒนานักเรียนโดยการใช้
กระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติ (Active Learning) เพื่อกระตุ้นความ
สนใจในการเรยี น จงึ ได้มีการวางแผนงาน เพื่อจัดทาแผนกจิ กรรมดงั นี้

1. คณะครูผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เกี่ยวกับปัญหาในการจัดการเรียน
การสอน

2. ปัญหาทีท่ ุกคนมีเหมอื นกัน คือ เทคนคิ การสอนแบบเดิมดงึ ดดู ความสนใจของผูเ้ รยี นไดน้ ้อย
3. คณะครูได้ข้อสรุปร่วมกันคือ ควรจะมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้กระบวนการเรียน
การสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ที่ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนด ได้ฝึกฝนเทคนิค หรือทักษะพัฒนาการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง ผู้เรียนเรียนรู้จาก

ประสบการณ์สัมผัสต่าง ๆ จากนามธรรมไปสู่รูปธรรม ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักสังเกต คิดหาเหตุผล และเกิดความคิด
รวบยอด

4. ครูแตล่ ะทา่ นไดน้ าวิธีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยการใช้เกมไปออกแบบกจิ กรรมการเรียน
การสอนในรายวิชาของตนเอง

5. ครูจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยการใช้เกมไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนของตน
6. นาผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมมาอภิปราย และสรุปผลร่วมกันเพ่ือหาแนวทางในการปรับปรุง และ
พฒั นาต่อไป
4. ผลทไี่ ด้จากการจัดกิจกรรม
นาผลการประชุมไปบนั ทกึ ใน PPR ของตนเอง และนาไปส่กู ารอบรมพัฒนาครู

เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น.

ลงชอื่ ผูบ้ ันทึก
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงช่อื ลงชอ่ื
(นางเยาวรัตน์ อยู่พ่มุ ) (นางสาวนิภาพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงช่ือ ผรู้ ับรอง
(นางอัมพวนั สายใหม)

รองผูอ้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวัดไทยชุมพลฯ รักษำกำรในตำแหน่ง
ผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสุโขทัย

บันทึกเพิ่มเติม ครั้งที่ 4/2564

จากการประชมุ PLC กลุม่ “SC Team 2” ในสัปดาห์ทีผ่ ่านมาไดห้ ัวข้อการพัฒนานกั เรียน
คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใชก้ ระบวนการวิทยาศาสตร์ เพ่ือดึงดูดความสนใจในการเรยี น
คณะครจู งึ ไดม้ ีการวางแผนงาน เพอ่ื จัดทาแผนกิจกรรมดงั นี้
1. คณะครรู ว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ พดู คุย เกยี่ วกบั ปัญหาในการจดั การเรียนการสอนของครแู ตล่ ะท่าน
2. ปัญหาส่วนใหญ่ คือ การสอนแบบเดิมไมส่ ามารถดึงดดู ความสนใจในการเรียนของนักเรียนได้ เน่อื งจาก

เป็นการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบออนไลน์ (online)
3. คณะครูได้ข้อสรปุ รว่ มกัน ในการแกป้ ัญหาทเ่ี กิดขึ้น คอื ควรจะมีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้

กระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในรูปออนไลน์ และลงมือปฏบิ ัติ (Active Learning)
นกั เรียนเกดิ การเรยี นรู้ตามวัตถุประสงคท์ ก่ี าหนดไดฝ้ ึกฝนเทคนคิ หรอื ทักษะพฒั นาการผ้เู รยี นรู้จกั สังเกต
คดิ หาเหตผุ ล และเกดิ ความคดิ รวบยอด
4. ในที่ประชมุ ไดม้ ขี ้อตกลงรว่ มกนั โดยคดั เลอื กนางสาวภาวณิ ี หลาพรม เปน็ ครูตน้ แบบ (Model Teacher)
ใหค้ าแนะนาในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใชก้ ระบวนการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ให้ผเู้ รียน
มีสว่ นร่วมและลงมือปฏบิ ตั ิ (Active Learning) ในรปุ แบบออนไลน์
5. ใหค้ รูแตล่ ะคนได้ศกึ ษาขั้นตอนวิธกี ารจากครตู น้ แบบ และนาไปสร้างนวตั กรรมของตนเอง
แลว้ นามาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ถึงวธิ ีการขั้นตอน เพ่ือดาเนินการในขัน้ ต่อไป
6. คณะครูมีการนัดหมาย เพื่อไปสงั เกตการณ์การสอนของครูตน้ แบบ เพ่ือนามาใช้ในนวัตกรรมของตนเอง
ตอ่ ไป

บนั ทึกกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC)
กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมืองสุโขทัย

ช่อื กลุ่ม “SC Team 1”

ครงั้ ท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1/2564 วนั /เดอื น/ปี : 21 มิถนุ ายน 2564

เรม่ิ ดาเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 18.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 3 ช่ัวโมง - นาที

กจิ กรรมคร้ังนอ้ี ยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study)

(ทาเครื่องหมาย ลงในช่อง )

 ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)
 ขัน้ ที่ 2 ปฏิบตั ิ และสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)
 ขนั้ ท่ี 3 สะท้อนความคิด และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้

ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ
หวั หน้ากล่มุ สาระฯ
1. นางเยาวรตั น์ อยพู่ ุ่ม
ครผู ู้สอน
2. นางสาวภาวิณี หลาพรม ครรู ว่ มเรยี นรู้
ครูรว่ มเรยี นรู้
3. นางสาวสโรบล ศรศี ุภกร ครรู ่วมเรียนรู้/เลขานกุ าร

4. นายอิงครัตน์ ท่ีพึ่ง

5. นางสาวมนสิกานต์ สงวนธีรพงศ์

1. สภาพหรอื กลุ่มปญั หา เทคนิคการสอนท่ีครใู ชด้ ึงดูดความสนใจผู้เรียนได้น้อย
2. งาน/กิจกรรม ออกแบบนวัตกรรมท่ีใชใ้ นการแก้ปัญหา
3. สมาชิกร่วมกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแกไ้ ขปัญหา และจดั ทาแผนกจิ กรรม

ออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบต่างๆ เช่น เช่น PBL, Active Learning, Model Based
Learning, Demonstrated Learning, Play Way เปน็ ตน้

1) การสอนแบบเลน่ ปนเรียน (Play Way) เป็นวธิ สี อนแบบหน่ึงทคี่ รูสามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนในวิชาต่างๆ ได้ตามต้องการ Spodek (1985: 181) ได้
เสนอทฤษฎเี กยี่ วกับการเลน่ ไว้ 4 ทฤษฎี คอื
1. ทฤษฎีการระบายพลังงาน (Surplus energy theory) หลักการของทฤษฎีนี้บอกว่า
ปริมาณพลังงานท่ีมีน้ัน ร่างกายได้ใช้ไปกับการทางาน ส่วนการเล่นจะเกิดข้ึนในเวลาที่ร่างกายมี
พลงั งานมากเกนิ ความตอ้ งการ
2. ทฤษฎกี ารพกั ผ่อน (Relaxation theory) หลกั การนี้เชอ่ื วา่ การเล่นเปน็ การทาให้พลังงาน
ที่ใช้ไปคนื กลับมา หลงั การทางานท่ีเหนอื่ ยล้า รา่ งกายตอ้ งการกิจกรรมทผ่ี ่อนคลาย คือการเลน่
3.ทฤษฎีการเตรยี มออกกาลงั (Pre – exercise theory) การเล่นเป็นพฤติกรรมสัญชาติญาณ
เปน็ การสร้างกิจกรรมในอนาคต การเลน่ เปน็ การนกึ คดิ เตรียมบทบาทในการทางานในอนาคต
4. ทฤษฎีการสรุป (Recapitulation theory) การเล่นเป็นการรื้อฟ้ืนทบทวนย้อน
ทากิจกรรมที่ผ่านมาของชีวิตประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทาให้การเรียนรู้

เป็นไปอยา่ งมคี วามหมายและนาไปใชใ้ นสถานการณ์อ่นื ๆได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ (สถาพร พฤฑฒิ
กลุ , 2558)
2) จัดทานวัตกรรมหรือคู่มือการใช้ที่มีความเหมาะสมและเร้าความสนใจของผู้เรียน โดยมีผู้เชี่ยวชาญ
และหัวหน้ากลุ่มสาระฯ เป็นผใู้ หค้ าแนะนา และครทู า่ นอืน่ ๆ นาไปปรบั ใชใ้ นคาบสอนของตนเอง
จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ท่ีผ่านมาได้หัวข้อการพัฒนานักเรียน คือ
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยการใชโ้ ดยการใช้กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มและ
ลงมอื ปฏบิ ัติ เพ่ือดึงดูดความสนใจในการเรียน จงึ ไดม้ ีการวางแผนงาน เพ่ือจดั ทาแผนกจิ กรรมดงั น้ี
1. คณะครูผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เกี่ยวกับปัญหาในการจัดการเรียน
การสอน
2. ปัญหาที่ทุกคนมีเหมือนกัน คือ การสอนแบบเดิมไม่สามารถดึงดูดความสนใจในการเรียนของ
นักเรียนได้ เนื่องจากเปน็ การจดั การเรียนการสอนรปู แบบออนไลน์ (online)
3. คณะครูได้ข้อสรุปร่วมกันคือ ควรจะมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้กระบวนการเรียน
การสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติผ่านการเล่น (เรียนปนเล่น) ที่ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด ได้ฝึกฝนเทคนิค หรือทักษะพัฒนาการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง ผู้เรียนเรียนรู้จาก
ประสบการณ์สัมผัสต่าง ๆ จากนามธรรมไปสู่รูปธรรม ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักสังเกต คิดหาเหตุผล คิดวิเคราะห์
และเกิดความคิดรวบยอด
4. ครูแต่ละท่านได้นาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้กระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน้
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติผ่านการเล่น (เรียนปนเล่น) ไปออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
ในรายวิชาของตนเอง
5. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้กระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนร่วมและ
ลงมือปฏบิ ัตผิ ่านการเลน่ (เรียนปนเล่น) ไปใช้ในการจดั การเรียนการสอนของตน
6. นาผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมมาอภิปราย และสรุปผลร่วมกันเพ่ือหาแนวทางในการปรับปรุง
และพัฒนาตอ่ ไป

เลกิ ประชมุ เวลา 18.30 น.

ลงชอื่ ผู้บนั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรอื ง)

ลงช่อื ลงช่ือ
(นางเยาวรตั น์ อยูพ่ ุ่ม) (นางสาวนิภาพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หัวหน้ากลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชอ่ื ผูร้ บั รอง
(นางอมั พวนั สายใหม)

รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลวัดไทยชมุ พลฯ รักษำกำรในตำแหนง่
ผ้อู ำนวยกำรสถำนศกึ ษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสุโขทยั

บันทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย

ชื่อกลุ่ม “SC Team 2”

คร้งั ท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2/2564 วนั /เดือน/ปี : 25 มิถนุ ายน 2564

เริ่มดาเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 18.30 น. รวมระยะเวลาท้ังส้ิน 3 ช่ัวโมง - นาที

กิจกรรมคร้ังนี้อยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study)

(ทาเครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ ง )

 ขั้นที่ 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)
 ขน้ั ที่ 2 ปฏิบตั ิ และสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)
 ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคิด และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ี่เข้ารว่ มกิจกรรม 3 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดงั น้ี

ที่ ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชือ่
หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ
1. นางเยาวรัตน์ อย่พู ุ่ม
ครผู ู้สอน
2. นายอคั รพล ทองเย้า ครูร่วมเรยี นรู้/เลขานุการ

3. นายณรงค์ ไทยเรอื ง

1. สภาพหรือกลุ่มปญั หา เทคนคิ การสอนท่ีครใู ช้ดึงดดู ความสนใจผูเ้ รียนไดน้ ้อย
2. งาน/กิจกรรม จัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้เพื่อการนาสู่การปฏบิ ตั ิ
3. สมาชกิ ในกล่มุ ร่วมกันจดั ทาแผนกจิ กรรม

จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้คัดเลือก นายอัครพล ทองเย้า
เป็นครูต้นแบบ (Model Teacher) ในการให้คาแนะนาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้
กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติ จึงได้มีการร่วมวางแผนงาน เพ่ือจัดทา
และปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนร้รู ว่ มกัน ดงั น้ี

สมาชิกร่วมกันตัดสินใจเลือกแนวทางหรือเทคนิคการสอนที่น่าสนใจที่จะดึงดูดผู้เรียน วางแผน
การทาแผนการจัดการเรียนรู้ ปฏทิ นิ การสอนในแต่ละครง้ั ดงั นี้

คร้งั ที่ 1 สอนโดยใชเ้ ทคนคิ “การตงั้ คาถาม” จดั การเรียนรู้ในวนั ที่ 8 กรกฎาคม 2564 ใหแ้ ก่นักเรยี น
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2/2 ในรปู แบบออนไลน์ เร่ืองทใี่ ชส้ อน คือ “เทคโนโลยแี ละการเปลีย่ นแปลง”

คร้ังที่ 2 สอนโดยใช้เทคนคิ “แบบโครงสรา้ งความรู้ (Graphic Organizer)” จดั การเรียนร้ใู นวนั ท่ี 11
สิงหาคม 2564 ใหแ้ ก่นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/2 ในรูปแบบออนไลน์ เรอ่ื งที่ใชส้ อน คือ “Story line”

คร้ังที่ 3 สอนโดยใชเ้ ทคนิค “การสาธิต” จัดการเรยี นรใู้ นวนั ท่ี 15 กันยายน 2564 ให้แกน่ ักเรยี นช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/2 ในรปู แบบออนไลน์ เรื่องท่ใี ช้สอน คอื “ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี”

ครั้งที่ 4 สอนโดยใช้เทคนคิ “การสอนโดยใช้เกม” จัดการเรียนรใู้ นวันที่ 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ให้แก่ช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 2/2 โดยเรียนในชน้ั เรียนปกติ เร่ืองทใ่ี ชส้ อน คอื “กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมกรรม”

ครั้งท่ี 5 สอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบ “การเรียนรู้แบบค้นพบ” จัดการเรียนรู้ในวันที่ 23
กุมภาพันธ์ 2565 ให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โดยเรียนในชั้นเรียนปกติ เร่ืองท่ีใช้สอน คือ
“องคป์ ระกอบของเคร่ืองคอมพิวเตอร์”

คร้ังที่ 6 สอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบ “การเรียนรู้แบบค้นพบ” ซึ่งประเมินแล้วว่า ครั้งท่ี 1-5 ใช้
กับนักเรียนแล้วสามารถดึงดูดผู้เรียนได้ดีท่ีสุด นามาสอนซ้าในคร้ังที่ 6 เพ่ือยืนยันผลอีครั้งว่าสามารถดึงดูด
ผู้เรียนได้ดี สาหรับวิชาวิทยาการคานวณ ให้แก่นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/2 ในชั้นเรียนปกติ เร่ืองท่ีใช้สอน
คอื “หลกั การทางานของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์”
4. ผลท่ไี ด้จากการจดั กิจกรรม

ประธานมอบหมายให้สมาชิกศึกษารูปแบบการเรียนรู้ เทคนิคการสอนที่ได้ตกลงกันเพ่ือนามาวาง
แผนการจดั การเรียนรู้ และใช้สอนกับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/2 วชิ าวิทยาการคานวณต่อไป

สมาชกิ นาผลการประชุมไปบันทึกใน PPR ของตนเอง และนาไปสู่การอบรมพฒั นาครู

เลกิ ประชมุ เวลา 18.30 น.

ลงชื่อ ผู้บนั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงช่อื ลงช่อื
(นางเยาวรตั น์ อยพู่ มุ่ ) (นางสาวนิภาพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวิชาการ
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชอื่ ผู้รับรอง
(นางอัมพวัน สายใหม)

รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลวัดไทยชุมพลฯ รักษำกำรในตำแหนง่
ผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสโุ ขทัย

บนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสุโขทัย

ชื่อกลุ่ม “SC Team 1”

ครง้ั ที่ 7 ภาคเรยี นที่ 1/2564 วัน/เดือน/ปี : 7 กรกฎาคม 2564

เร่ิมดาเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิน้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสนิ้ 3 ช่วั โมง - นาที

กิจกรรมคร้งั นอ้ี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงใน

ช่อง )

 ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ัติ และสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)

 ขั้นที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู เี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้

ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอื่

1. นางเยาวรตั น์ อยู่พ่มุ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ

2. นายอัครพล ทองเยา้ ครผู ้สู อน

3. นายณรงค์ ไทยเรือง ครรู ว่ มเรียนรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรอื กล่มุ ปญั หา เทคนิคการสอนที่ครใู ชด้ ึงดูดความสนใจผเู้ รยี นได้น้อย
2. งาน/กจิ กรรม สังเกตการณส์ อน นายอัครพล ทองเยา้ รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี

เรอื่ ง เทคโนโลยีและการเปลยี่ นแปลง ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/2 โดยใชเ้ ทคนคิ การสอน แบบ
ตั้งคาถาม
3. ผลการสงั เกต
จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูอัครพล ทองเย้า ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการ
วิทยาการคานวณ โดยใช้เทคนิคการสอน แบบต้ังคาถาม พบว่า ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยมีกิจกรรมทายคาใบ้
จากบัตรภาพ โดยพลิกทีละภาพ เพ่ือกระตุ้นความสนใจอยากรู้อยากเห็นของนักเรียน ข้ันการดาเนินกิจกรรม
ครูใช้คาถามอย่างมีหลักเกณฑ์ สอดคล้องเน้ือหาบทเรียน และสามารถตอบได้โดยใช้ประสบการณ์ ครู
สอดแทรกคาถามในทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรม และในบางช่วงได้ถามคาถามเพ่ิมเติมจากที่ได้เตรียมไว้
ข้ึนอยู่กับบทสนทนาของผู้เรียนในขณะสอน ซ่ึงเป็นไหวพริบของครูผู้สอนเอง นักเรียนตอบคาถามจากการ
สงั เกต ยกตวั อย่าง และเชอื่ มโยงบทสนทนาต่อไปได้
ในข้ันตอนสรุปผล ครูใช้คาถามในการทดสอบความรู้ของผู้เรียนในช่ัวโมงนี้ ซ่ึงเป็นการตรวจสอบได้
ทนั ทีวา่ ผูเ้ รยี นเขา้ ใจเน้ือหาหรือไม่ มากน้อยเพียงใด

3.1 จดุ เดน่ ในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1) คาถามสามารถตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของผู้เรียน
2) เม่อื ทราบความรู้เดิมสามารถนาไปปรับกิจกรรมการเรียนการสอน ขณะสอนได้
3) นกั เรียนสามารถเช่อื มโยงความร้เู ดมิ กับความรู้ใหมไ่ ด้
4) นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการตอบคาถาม และสามารถตง้ั คาถามเพ่ิมได้
5) ช่วยให้สรุปบทเรยี นให้เข้าใจตรงกัน
6) ครูสามารถประเมนิ ผลนกั เรยี นได้ทนั ที

3.2 จดุ ทต่ี ้องพฒั นาในการจดั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

1) ครูผูส้ อนควรรอคอยคาตอบของผู้เรียน ยงั ไมต่ ้องรบี เฉลย
2) กาหนดให้มีการตอบทีละคน จานวนหลาย ๆ คน
3) ควรใชท้ า่ ทาง นา้ เสยี ง เพ่ือเร้าความสนใจ
4) ควรถามคาถามงา่ ยไปยาก
5) ควรอธิบายเพ่ิมเติม กรณีทนี่ กั เรียนไมเ่ ขา้ ใจคาถาม
4. ผลทีไ่ ดจ้ ากการจัดกจิ กรรม
นาไปปรับปรุงการสอนเพอื่ ดึงดูดผู้เรยี นโดยใช้เทคนคิ อ่นื เพิม่ เติม

เลิกประชมุ เวลา 18.30 น.

ลงช่อื ผ้บู ันทึก
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงช่ือ ลงชื่อ
(นางเยาวรัตน์ อยพู่ ุ่ม) (นางสาวนิภาพร พรมมนิ ทร)์
หัวหนา้ ฝา่ ยวชิ าการ
หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงช่อื ผ้รู บั รอง
(นางอมั พวนั สายใหม)

รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวัดไทยชมุ พลฯ รกั ษำกำรในตำแหน่ง
ผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสโุ ขทยั

บนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC)
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสโุ ขทัย

ช่ือกลุ่ม “SC Team 1”

ครงั้ ท่ี 8 ภาคเรยี นท่ี 1/2564 วนั /เดือน/ปี : 8 กรกฎาคม 2564

เร่ิมดาเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสนิ้ 2 ช่วั โมง - นาที

กิจกรรมครงั้ น้อี ยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเครอ่ื งหมาย ลงใน

ช่อง )

 ข้นั ท่ี 1 วิเคราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ข้นั ท่ี 2 ปฏิบัติ และสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคิด และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ี่เขา้ รว่ มกิจกรรม 3 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั น้ี

ที่ ช่อื -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชือ่

1. นางเยาวรัตน์ อยพู่ ่มุ หวั หน้ากล่มุ สาระฯ

2. นายอัครพล ทองเยา้ ครผู ้สู อน

3. นายณรงค์ ไทยเรือง ครรู ว่ มเรยี นรู้/เลขานุการ

1. สภาพหรือกลมุ่ ปญั หา เทคนคิ การสอนที่ครใู ช้ดงึ ดดู ความสนใจผู้เรียนได้น้อย
2. งาน/กิจกรรม รว่ มสะท้อนคดิ จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ของ นายอคั รพล ทองเยา้ รายวิชา
วิทยาการคานวณ เรื่อง เทคโนโลยีและการเปลีย่ นแปลง ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2/2 โดยใช้เทคนิคการสอน
แบบต้งั คาถาม
3. ครผู สู้ อนหลกั (Model Teacher) แสดงความรู้สึก/ความเหน็

การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใชค้ าถาม เพือ่ กระตุน้ และดงึ ดูดความสนใจของผูเ้ รียน เป็น
การตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียนเก่ียวกับเรื่องที่จะเรียน นักเรียนให้ความร่วมมือในการตอบคาถาม แสดง
ความคิดเห็นหรือยกตัวอย่างเพ่ิมเติมแก่เพ่ือน ๆ ได้ แต่ในบางคร้ังนักเรียนอาจจะยังไม่เข้าใจคาถามเน่ืองจาก
คาถามท่ตี ้ังไวไ้ มช่ ัดเจน อาจจะต้องทวนคาถาม หรอื เปลีย่ นโครงสรา้ งคาถามใหม่ให้ชัดเจนมากขน้ึ
4. สมาชิกร่วมกนั สะท้อนผล การจัดกจิ กรรม

เป็นกิจกรรมท่ีทาให้นกั เรยี นไดร้ ่วมคิด ร่วมตอบ แสดงความคิดเหน็ กันได้ดี ครูดึงดูดความสนใจในขนั้
นาเข้าสู่บทเรียนทาให้ผู้เรียนสนใจดีมาก ในข้ันการสอน ครูใช้คาถามในการสนทนาเกี่ยวกับเน้ือหา โดยถาม
เปน็ ระยะ ๆ ระหว่างสอน และใชค้ าถามอีกครง้ั ในการสรุปบทเรียนเพื่อประเมินความรผู้ ู้เรียน มีการสงั เกตของ
สมาชิก ดังน้ี

จดุ เดน่
1. คาถามมีความสัมพนั ธ์กบั เน้อื หา
2. นกั เรียนมคี วามตัง้ ใจในการตอบคาถาม
3. คาถามใดนกั เรยี นตอบไดจ้ ะตอบพร้อม ๆ กันอยา่ งมน่ั ใจ
4. นกั เรยี นใหค้ วามรว่ มมือในการตอบคาถาม

จดุ ทคี่ วรพัฒนา
1. ครูใช้คาถามตามท่ีเตรยี มมา ยังไม่มีความยดื หยนุ่ ในการปรบั คาถามตามสถานการณ์
2. เม่ือผู้เรียนตอบไม่ได้ ครูยังไม่มีการเช่ือมโยงหรือยกตัวอย่าง หรือเล่าประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นหาคาตอบเพมิ่ เตมิ
3. ครูควรเน้นย้าและอภิปรายเน้อื หาประกอบคาตอบของนักเรียนไม่ว่าจะตอบถูกหรือผิด เพ่ือให้เกิด
ความเข้าใจ
5. กจิ กรรมท่ีไดร้ ่วมทา
ครูผู้สอนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีและการเปล่ียนแปลง
จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับจุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา รวมท้ังให้คาแนะนาใน
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ครูผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนผล
หลังปฏบิ ตั ิการ (After Action Review : AAR) จากน้ันปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ และนาเทคนคิ การสอน
ทเี่ หมาะสมและดงึ ดูดความสนใจผู้เรียนมากขึน้ มาใช้ในการจดั การเรียนรู้
6. สมาชิกร่วมกนั ปรับปรุงแบบกิจกรรมตามท่ไี ดส้ ะทอ้ นผล และ ปรบั แผนกิจกรรม
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คาถาม เพ่ือกระตุ้นความสนใจในการเรียน ทาให้นักเรียนเกดิ
ความสนใจในการเรยี นนั้น ทาใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเน้ือหามากข้ึนและยังสามารถเพ่ิมเติมความรู้ในเร่ืองท่ีตนเองไม่
เข้าใจ ครูแต่ละคนสามารถนาแนวทางไปปรับใช้ในเหมาะสมกับรายวิชาของตนเอง และมีการแลกเปลี่ยนให้
คาแนะนาเก่ียวกบั การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรูข้ องแต่ละคนให้มีความถูกตอ้ งและเหมาะสมตอ่ ไป
7. ผลลพั ธท์ ีไ่ ด้จากกิจกรรม
ครูผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้เรียนรู้เก่ียวกับการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ
กจิ กรรมการใช้คาถามให้เหมาะสมว่าคาถามลักษณะใดท่ีนกั เรยี นสนใจ ครูควรใชค้ าถามลักษณะนน้ั บ่อยครัง้
8. แนวทางการนาความรูไ้ ปใช้
ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย
เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสาเร็จ จุดเด่นและจุดที่
ต้องพัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

9. ผลท่ไี ด้จากการจัดกิจกรรม
นาผลการประชุมไปบันทึกใน PPR ของตนเอง

เลิกประชุมเวลา 17.30 น.

ลงชอื่ ผู้บนั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงชื่อ ลงช่อื
(นางเยาวรตั น์ อยู่พุ่ม) (นางสาวนภิ าพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชื่อ ผ้รู ับรอง
(นางอมั พวัน สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวัดไทยชุมพลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสโุ ขทยั

บันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC)
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสโุ ขทัย

ชือ่ กลุ่ม “SC Team 1”

ครง้ั ที่ 9 ภาคเรยี นท่ี 1/2564 วัน/เดอื น/ปี : 10 สงิ หาคม 2564

เริ่มดาเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิน้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สิ้น 3 ช่ัวโมง - นาที

กจิ กรรมคร้งั น้ีอย่คู วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทาเครอ่ื งหมาย ลงใน

ชอ่ ง )

 ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ขัน้ ท่ี 2 ปฏบิ ัติ และสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ข้ันที่ 3 สะท้อนความคิด และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูที่เขา้ ร่วมกิจกรรม 3 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั น้ี

ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชือ่

1. นางเยาวรัตน์ อย่พู มุ่ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ

2. นายอคั รพล ทองเย้า ครผู สู้ อน

3. นายณรงค์ ไทยเรอื ง ครรู ว่ มเรยี นรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรอื กลมุ่ ปญั หา เทคนิคการสอนที่ครใู ช้ดึงดดู ความสนใจผู้เรยี นไดน้ ้อย
2. งาน/กจิ กรรม สงั เกตการณส์ อน นายอัครพล ทองเยา้ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี

เรอื่ ง การวเิ คราะห์ปญั หา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2/2
โดยใช้เทคนคิ การสอนแบบโครงสรา้ งความูร้ (Graphic Organizer)
3. ผลการสังเกต
จากการที่นาเทคนิคการสอนแบบโครงสร้างความูร้ (Graphic Organizer) ซ่ึงเป็นการสอนแบบ
โครงสร้างความรู้หรือแผนผังความคิด เป็นการฝึกให้ผู้เรียนรวบรวมข้อมูลหรือความรู้จากการศึกษาค้นคว้า
การอ่าน การฟังคาบรรยาย แล้วนาข้อมูลมาจัดกลุ่ม เขียนเป็นภาพแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างความคิด
กระบวนการคิด และความสัมพันธ์ของกระบวนการคิด โดยใช้รูปภาพ หรือแผนภาพ ไปใช้ในการจัดการเรียน
การสอนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เร่ือง การวิเคราะห์ปัญหา พบว่า ในข้ันนาเข้าสู่บทเรียนครูนา
รูปภาพที่ถ่ายภายในบริเวณโรงเรยี นใหน้ กั เรยี นในชั้นเรยี นดู

แลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกันระดมความคิด วา่ ปัญหาคืออะไร ทาไมจงึ เกิดปัญหา ปญั หาเกดิ ขนึ้ กับใคร ปัญหาเกิดข้ึน
เม่ือไร ปัญหาเกิดขึ้นที่ไหน และจะมีวิธีการแก้ปัญหาได้อย่างไร และในกิจกรรมนี้นักเรียนส่วนใหญ่สามารถ
ตอบคาถามตามประเด็นที่ครูกาหนดให้ได้ดี มคี วามกระตือรือร้นในการเสนอความคิด เนอื่ งสถานการณ์ปัญหา

เป็นเรื่องท่ีใกล้ตัวนักเรียนและเกิดข้ึนภายในโรงเรียน จากน้ันให้นักเรียนแบ่งกลุ่มแล้วให้แต่ละกลุ่ม คิดหา
สาเหตุของปัญหา ด้วยแผนผังก้างปลา (The Fish Bone) ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยในการหาสาเหตุของปัญหา
ในกิจกรรมนี้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดและแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม เสร็จแล้วให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน ซึ่งส่วนใหญ่แต่ละกลุ่มสามารถวเิ คราะห์สาเหตขุ อง
ปัญหาตามสถานการณ์ท่คี รูกาหนดให้ด้วยแผนผงั กา้ งปลา (The Fish Bone) ได้ดี

ในข้ันตอนสรปุ ผล ครใู ห้นักเรียนชว่ ยกนั ระดมความร้ทู ี่ได้เรียนรู้กันในชั่วโมงนี้ พบว่านกั เรียนสว่ นใหญ่
สรุปเนื้อหาทเ่ี รียนได้ดีและครอบคลุมเนอื้ หาท่เี รยี น

3.1 จดุ เด่นในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1) เปน็ การฝึกให้นักเรียนรู้จักการรวบรวมข้อมูลจาการศึกษาค้นควา้ การอา่ น การฟังบรรยาย
2) นักเรียนเขยี นโครงสรา้ งความรู้เป็นแผนภาพ หรอื รูปภาพได้
3) ครสู ามารถประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของนักเรยี นได้ชดั เจนจากแผนภาพ หรือ รูปภาพ

3.2 จดุ ท่ตี ้องพัฒนาในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1) ครูผู้สอนควรให้นกั เรยี นได้ศึกษารวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ข้อมลู ท่ีหลากหลาย
2) รูปภาพ หรือ แผนภาพ โครงสร้างความรู้มหี ลายรปู แบบ ครจู ะตอ้ งอธิบายการเขียนแผนภาพ

แตล่ ะรูปแบบใหน้ ักเรียนเข้าใจ เพือ่ ใหน้ ักเรียนสามารถเลือกรปู แบบทีเ่ หมาะสมได้
3) ควรใชท้ ่าทาง นา้ เสยี ง เพื่อเรา้ ความสนใจ

4. ผลท่ไี ดจ้ ากการจัดกจิ กรรม
นาไปปรบั ปรุงการสอนเพือ่ ดงึ ดูดผู้เรยี นโดยใช้เทคนิคอ่ืนเพ่ิมเติม

เลกิ ประชุมเวลา 18.30 น.

ลงช่อื ผ้บู นั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงชื่อ ลงช่ือ
(นางเยาวรตั น์ อยพู่ ุม่ ) (นางสาวนภิ าพร พรมมินทร์)
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชือ่ ผู้รบั รอง
(นางอมั พวนั สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวดั ไทยชุมพลฯ รักษำกำรในตำแหนง่
ผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสโุ ขทยั

บันทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC)
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสโุ ขทัย

ช่ือกลุ่ม “SC Team 1”

ครั้งที่ 10 ภาคเรียนท่ี 1/2564 วัน/เดือน/ปี : 11 สงิ หาคม 2564

เร่ิมดาเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้นิ 2 ชวั่ โมง - นาที

กจิ กรรมคร้งั นีอ้ ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study)

(ทาเครอ่ื งหมาย ลงในช่อง )

 ข้นั ที่ 1 วิเคราะห์ และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบัติ และสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคิด และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั นี้

ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอื่

1. นางเยาวรัตน์ อยู่พ่มุ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ

2. นายอัครพล ทองเยา้ ครผู ู้สอน

3. นายณรงค์ ไทยเรือง ครรู ่วมเรยี นรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรือกลมุ่ ปญั หา เทคนิคการสอนท่ีครใู ชด้ งึ ดูดความสนใจผเู้ รียนได้น้อย
2. งาน/กิจกรรม สงั เกตการณ์สอน นายอัครพล ทองเยา้ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี

เร่ือง การวเิ คราะห์ปญั หา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/2
โดยใชเ้ ทคนิคการสอนแบบโครงสร้างความูร้ (Graphic Organizer)
3. ครูผ้สู อนหลัก (Model Teacher) แสดงความรู้สกึ /ความเห็น
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบโครงสร้างความูร้ (Graphic Organizer)
เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนฝึกการคิดวิเคราะห์กาหนดประเด็นปัญหา และแยกแยะประเด็นปัญหาออกเป็น
ปัญหาหลัก และปัญหาย่อยทาให้สามารถกาหนดวิธีการแก้ปัญหาได้ตรงประเด็น นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กันใน
กลุ่มโดยการร่วมกันระดมความคิดในการแก้ปัญหา แล้วนามาเขียนเป็นแผนภาพโครงสร้างความรู้ ซึ่งนักเรียน
สว่ นใหญ่ในแตล่ ะกล่มุ มีความกระตือรือร้นในการทากจิ กรรม แตย่ ังมีนักเรยี บางคนในกลุ่มยงั ไม่กลา้ แสดงความ
คิดเห็นเท่าท่ีควร ซ่ึงครูจะต้องคอยกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนกล้าแสดงออกและมีส่วนร่วมในการเสนอความคดิ
เพอ่ื ใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนบรรลุตามเป้าหมาย

4. สมาชิกรว่ มกันสะท้อนผล การจัดกิจกรรม
เป็นการจัดกิจกรรมท่ีเน้นให้นักเรียนรู้จักรวบรวมข้อมูล ศึกษาข้อมูลความรู้ แล้วนาไปเขียนเป็น

รูปภาพหรอื แผนภาพความคิด ใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ การระดมสมอง ร่วมคดิ รว่ มตอบ แลกเปล่ยี นความ
คิดเห็นกันได้ดี ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยนาปัญหา หรือสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียนซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัว
นักเรียน ทาให้นักเรียนมีความสนใจและอยากท่ีจะทากิจกรรม ในขั้นการสอนครูได้แบ่งนักเรียนออกเป็นกล่มุ
เพ่ือช่วยกันระดมความคิดในการแก้ปัญหา ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีดีทาให้นักเรียนกล้าคิด กล้าแสดงออก และรู้จัก
การทางานเปน็ กลมุ่ มีการสังเกตของสมาชกิ ดังนี้

จดุ เดน่
1. สถานการณ์ตัวอย่างที่ครูกาหนดให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน และดึงดูดความสนใจของนักเรียน
ในการทากจิ กรรมได้เป็นอย่างดีเพอ่ื เปน็ เรอื่ งทเี่ กิดในโรงเรยี น และใกล้ตวั นักเรียน
2. นักเรียนมีความตง้ั ใจในการเสนอความคิดในกจิ กรรมระดมสมอง
3. ครอู ธบิ ายเพ่มิ เติมในหวั ขอ้ หรอื เนอื้ หาที่นักเรียนรว่ มกนั สรปุ ยังไม่ชัดเจน
จดุ ที่ควรพฒั นา
1. ครูควรใช้สถานการณ์ท่ีหลากหลาย โดยแต่ละกลุ่มได้สถานการณ์ไม่ซ้ากันเพื่อให้นักเรียนเห็น
ตวั อย่างการวิเคราะหป์ ญั หาจากสถานการณท์ ่ีหลากหลาย ซงึ่ จะทาใหน้ กั เรียนเกิดการเรยี นรเู้ พิม่ ข้ึน
2. ครคู วรกระตน้ ใหน้ กั เรียนทุกคนมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมมากข้ึน
3. ครคู วรเปดิ โอกาสให้นักเรียนศึกษาความรูจ้ ากสื่อทหี่ ลากหลาย เพอื่ นาไปวเิ คราะห์ในการแก้ปัญหา
เชน่ อนิ เตอร์เนต็ ส่ือ PowerPoint หนังสือเรียน ไม่ใช่ฟงั บรรยายเพยี งอยา่ งเดียว
5. กิจกรรมทไ่ี ดร้ ่วมทา
ครูผู้สอนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์ปัญหา จากนั้นครูร่วม
เรียนรู้ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ ให้ข้อคดิ เห็นเก่ยี วกับจุดเด่น จุดทคี่ วรพัฒนา รวมทัง้ ให้คาแนะนาในการพฒั นาการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เม่ือสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ครูผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนผลหลังปฏิบัติการ
(After Action Review : AAR) จากน้ันปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ และนาเทคนิคการสอนทเี่ หมาะสมและ
ดึงดดู ความสนใจผูเ้ รียนมากขึ้นมาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้
6. สมาชิกร่วมกันปรบั ปรุงแบบกจิ กรรมตามทีไ่ ดส้ ะท้อนผล และ ปรับแผนกจิ กรรม
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์ท่ีหลากหลาย ซ่ึงแต่ละกลุ่มได้สถานการณ์ไม่ซ้า
กัน ครูกระตุ้นความสนใจในการเรียนโดยให้นักเรียนทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม ทาให้นักเรียน
เกิดความสนใจในการเรียนนั้น และสามารถเขียนแผนภาพโครงสร้างความรู้ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ทาให้
นักเรียนเข้าใจเนื้อหามากข้ึนและยังสามารถเพ่ิมเติมความรู้ในเร่ืองท่ีตนเองไม่เข้าใจ ครูแต่ละคนสามารถนา
แนวทางไปปรับใช้ในเหมาะสมกับรายวิชาของตนเอง และมีการแลกเปลี่ยนให้คาแนะนาเก่ียวกับการจัดทา
แผนการจัดการเรียนรูข้ องแตล่ ะคนให้มคี วามถูกต้องและเหมาะสมต่อไป

7. ผลลพั ธ์ทีไ่ ดจ้ ากกจิ กรรม
ครูผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ

กจิ กรรมการสอนแบบโครงสร้างความรู้ (Graphic Organizer) ซ่ึงครูจะต้องฝึกให้นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์
การระดมสมอง ด้วยสถานการณแ์ ละประเดน็ ปัญหาทีห่ ลากหลาย แล้วนามาเขยี นเป็นแผนภาพความรู้ได้อย่าง
ถกู ต้อง
8. แนวทางการนาความรู้ไปใช้

ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่นและจุดท่ี
ตอ้ งพฒั นาในการจัดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
9. ผลท่ีได้จากการจัดกจิ กรรม

นาผลการประชมุ ไปบันทึกใน PPR ของตนเอง
เลิกประชุมเวลา 17.30 น.

ลงชอื่ ผู้บนั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงชื่อ ลงช่อื
(นางเยาวรตั น์ อยู่พุ่ม) (นางสาวนภิ าพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชื่อ ผ้รู ับรอง
(นางอมั พวัน สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวัดไทยชุมพลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสโุ ขทยั

บันทกึ กิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสโุ ขทัย

ชอื่ กลุ่ม “SC Team 1”

ครงั้ ท่ี 11 ภาคเรียนท่ี 2/2564 วนั /เดือน/ปี :14 กันยายน 2564

เรม่ิ ดาเนินการเวลา15.30 น.เสร็จสน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 2 ชั่วโมง-นาที

กจิ กรรมคร้ังน้อี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study)

(ทาเครื่องหมาย ลงในช่อง )

ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

ขนั้ ที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรยี นรู้ (Do& See)

ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้

ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ

1. นางเยาวรัตน์ อยู่พุ่ม หัวหน้ากล่มุ สาระฯ

2. นายอัครพล ทองเยา้ ครูผูส้ อน

3. นายณรงค์ ไทยเรือง ครรู ่วมเรยี นรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรอื กลุม่ ปัญหา เทคนคิ การสอนที่ครูใช้ดงึ ดดู ผู้เรียนได้นอ้ ย
2. งาน/กจิ กรรม รว่ มสะทอ้ นคดิ จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ของ นายอคั รพล ทองเย้า รายวิชา
วทิ ยาการคานวณ เร่ืองการคาดการณเ์ ทคโนโลยีในอนาคต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/2 โดยใช้เทคนิคการจัดการ
เรยี นการสอนแบบ Story line
3. ผลการสังเกต

จากการไปสงั เกตการณ์การสอนของครูอัครพลทองเย้า ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการ
ออกแบบและเทคโนโลยี ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/2 เรือ่ งการคาดการณเ์ ทคโนโลยีในอนาคต ข้อมลู พบว่า
ครูผู้สอนได้ใช้เทคนิคการจดั การเรยี นการสอนแบบ Story line กับนักเรยี น โดยครผู สู้ อนจะจัดกจิ กรรมการ
เรียนการสอน ทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นศูนย์กลาง จะมกี ารผูกเรือ่ งแต่ละตอนให้เกดิ ขึ้นอย่างต่อเนอ่ื ง และเรยี งลาดบั
เหตกุ ารณ์ หรือทเ่ี รยี กวา่ กาหนดเส้นทางเดินเร่ือง โดยใช้คาถามหลกั เปน็ ตัวนา สูก่ ารให้ผู้เรียนทากจิ กรรม
อย่างหลากหลาย เพ่อื สร้างความรู้ดว้ ยตนเอง เป็นการเรียนตามสภาพจริง ทม่ี ีการบูรณาการระหวา่ งวิชา เพ่ือ
เป้าหมายพัฒนาศักยภาพของผู้เรยี นท้งั ตัว และให้คาแนะนาในการทากิจกรรมอยหู่ ่าง ๆจากนน้ั ครผู สู้ อนทา
การติดตามและสังเกตพฤตกิ รรมและบันทึกข้อมูล เพ่ือเป็นประโยชน์ตอ่ การเรียนในครั้งตอ่ ๆไป ทั้งนคี้ รผู ู้สอน
และนักเรียนได้ร่วมกนั สรุปและอภปิ ราย โดยครผู ูส้ อนตัง้ ประเด็นการอภิปราย เพื่อให้เกดิ ความคิดรวบยอด
และเข้าใจในเนอื้ หาที่เรยี นได้อย่างถูกต้อง

3.1 จดุ เดน่ ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Story line
1) นักเรียนไดร้ ับความสนุกสนาน
2) นกั เรียนสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง โดยเน้นกระบวนการควบคู่กบั ความรู้
3) ยึดผ้เู รียนเป็นศนู ยก์ ลาง ให้มีส่วนรว่ มในกิจกรรมการเรียนมากทีส่ ุด

4) ครผู สู้ อนทาหน้าทใี่ นการเปน็ ที่ปรกึ ษาและให้คาแนะนา
5) นักเรียนได้ใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคอ์ ยา่ งอิสระ
3.2 จุดทต่ี ้องพฒั นาในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Story line
1) ค่อนข้างใช้เวลาในการเรยี นรู้
2) การจดั การเรยี นการสอนแบบ Story lineต้องเลือกเน้ือหาท่เี หมาะสม
3) กิจกรรมน้ีอาจเหมาะกับเดก็ เล็กมากกว่าเด็กโต

4. ผลทไี่ ด้จากการจดั กจิ กรรม
นาผลการประชุมไปบนั ทึกใน PPR ของตนเองและนาไปสู่การอบรมพัฒนาครู

เลิกประชมุ เวลา 17.30 น.

ลงชือ่ ผบู้ นั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรอื ง)

ลงชอ่ื ลงชื่อ
(นางเยาวรตั น์ อยพู่ ุ่ม) (นางสาวนภิ าพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวิชาการ
หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชอื่ ผู้รับรอง
(นางอมั พวัน สายใหม)

รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวดั ไทยชมุ พลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสุโขทัย

บันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย

ช่ือกลุ่ม“SC Team 1”

ครั้งที่ 12 ภาคเรียนที่ 1/2564 วัน/เดอื น/ปี : 15 กนั ยายน 2564

เริม่ ดาเนินการเวลา15.30น.เสร็จสน้ิ เวลา17.30น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 2 ชว่ั โมง -นาที

กจิ กรรมครงั้ นี้อยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study)

(ทาเครือ่ งหมาย ลงในช่อง )

ขั้นที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

ขั้นท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรียนรู้ (Do& See)

ขั้นที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี

ที่ ช่อื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชอ่ื

1. นางเยาวรตั น์ อยูพ่ ่มุ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ

2. นายอคั รพล ทองเย้า ครผู สู้ อน

3. นายณรงค์ ไทยเรอื ง ครรู ว่ มเรยี นรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรอื กล่มุ ปัญหา เทคนคิ การสอนที่ครูใช้ดึงดูดความสนใจผเู้ รยี นได้น้อย
2. งาน/กจิ กรรม รว่ มสะท้อนคดิ จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ของ นายอัครพล ทองเย้า รายวชิ า
วทิ ยาการคานวณ เร่ืองการคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/2 โดยใช้เทคนคิ การจัดการ
เรยี นการสอนแบบ Story line
3. ครูผสู้ อนหลกั (Model Teacher) แสดงความรู้สึก/ความเหน็

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้การสอนแบบ Story line นักเรียน โดยครูผู้สอนจะจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอน ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลาง จะมีการผกู เรื่องแต่ละตอนใหเ้ กิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง และ
เรียงลาดับเหตุการณ์ หรือที่เรียกว่า กาหนดเส้นทางเดินเร่ือง โดยใช้คาถามหลักเป็นตัวนา สู่การให้ผู้เรียนทา
กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อสร้างความรู้ด้วยตนเอง แต่ในบางครั้งนักเรียนอาจจะยังไม่เข้าใจในเนื้อหา
เนื่องจากเรียงลาดับเหตุการณ์ยังไม่เป็นข้ันตอน ครูอาจจะต้องเป็นผู้แนะนา หรือให้การติดตามและสังเกต
พฤตกิ รรมและบนั ทึกขอ้ มลู
4. สมาชิกร่วมกนั สะท้อนผล การจัดกจิ กรรม

เป็นกิจกรรมการเรียนการสอน ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง ครูดงึ ดดู ความสนใจในข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
ทาให้ผู้เรียนสนใจดีมาก ในข้ันการสอนครูใช้เรียงลาดบั เหตุการณ์ หรือที่เรียกวา่ กาหนดเส้นทางเดนิ เร่อื ง โดย
ใช้คาถามหลักเป็นตัวนา สู่การให้ผู้เรียนทากิจกรรม โดยถามเป็นระยะ ๆ ระหว่างสอน และให้คาแนะนาอีก
ครงั้ ในการสรุปบทเรียนเพ่อื ประเมินความรูผ้ ู้เรยี น มกี ารสังเกตของสมาชกิ ดงั นี้

จุดเดน่
1. ลาดบั เหตุการณม์ ีความสมั พันธก์ บั เน้ือหา
2. นักเรียนมคี วามต้งั ใจในการทาจดั กจิ กรรม
3. นักเรียนให้ความรว่ มมอื ในการเรยี นการสอน

จดุ ท่ีควรพฒั นา
1. ครใู ชค้ าถามตามท่ีเตรยี มมา ยังไมม่ ีความยืดหยุน่ ในการปรับคาถามตามสถานการณ์
2. เมือ่ ผู้เรียนแก้ไขปัญหาไม่ได้ ครูยังไม่มกี ารแนะนาเช่ือมโยงหรือยกตวั อย่าง หรือเลา่ ประสบการณ์ที่
เกีย่ วขอ้ งเพอื่ ใหน้ กั เรยี นเพ่มิ เตมิ ความรู้
3. ครูควรเน้นย้าและอภิปรายเนื้อหาประกอบคาตอบของนักเรียนไม่ว่าจะตอบถูกหรือผิด เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจ

5. กจิ กรรมที่ไดร้ ว่ มทา
ครูผู้สอนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองการคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต

จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา รวมทั้งให้คาแนะนาใน
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เม่ือสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ครูผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนผล
หลงั ปฏบิ ัติการ (After Action Review : AAR) จากนนั้ ปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้ และนาเทคนคิ การสอน
ที่เหมาะสมและดงึ ดูดความสนใจผ้เู รียนมากขนึ้ มาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้

6. สมาชิกร่วมกันปรบั ปรุงแบบกจิ กรรมตามท่ีได้สะท้อนผล และ ปรับแผนกิจกรรม
การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใช้การสอนแบบ Story line เพื่อกระตุ้นความสนใจในการเรียน

ทาให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนน้ัน ทาให้นักเรียนเข้าใจเน้ือหามากข้ึนและยังสามารถเพ่ิมเติมความรู้
ในเร่ืองที่ตนเองไม่เข้าใจ ครูแต่ละคนสามารถนาแนวทางไปปรับใช้ในเหมาะสมกับรายวิชาของตนเอง และมี
การแลกเปล่ียนให้คาแนะนาเกี่ยวกับการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละคนให้มีความถูกต้องและ
เหมาะสมต่อไป

7. ผลลัพธ์ที่ได้จากกจิ กรรม
ครูผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ

กจิ กรรมการใชค้ าถามใหเ้ หมาะสมว่าคาถามลักษณะใดท่ีนักเรียนสนใจ ครูควรใชค้ าถามลกั ษณะนนั้ บอ่ ยคร้งั

8. แนวทางการนาความรไู้ ปใช้
ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย

เพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็น โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่นและจุดท่ี
ตอ้ งพัฒนาในการจัดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

9. ผลท่ไี ด้จากการจดั กจิ กรรม
นาผลการประชมุ ไปบันทึกใน PPR ของตนเอง

เลิกประชุมเวลา 17.30 น.

ลงชอื่ ผู้บันทึก
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงช่อื ลงชอื่
(นางเยาวรตั น์ อยู่พุ่ม) (นางสาวนิภาพร พรมมนิ ทร)์
หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชื่อ ผู้รบั รอง
(นางอมั พวัน สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวดั ไทยชุมพลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสุโขทยั

บันทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสุโขทัย

ชื่อกลุ่ม “SC Team 1”

ครั้งท่ี 13 ภาคเรียนท่ี 2/2564 วนั /เดือน/ปี : 8 กมุ ภาพันธ์ 2565

เรม่ิ ดาเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสนิ้ 2 ช่ัวโมง - นาที

กิจกรรมครั้งนี้อยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study)

(ทาเครือ่ งหมาย ลงในช่อง )

 ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์ และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ขัน้ ที่ 2 ปฏิบัติ และสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคิด และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทเี่ ข้าร่วมกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี

ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่อื

1. นางอมั พวนั สายใหม ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา

2. นางเยาวรัตน์ อยูพ่ มุ่ หัวหน้ากล่มุ สาระฯ

3. นายอัครพล ทองเยา้ ครผู ู้สอน

4. นางสรุ างค์ จนั ทรผ์ กา ผเู้ ชี่ยวชาญ

5. นายทองสขุ มั่นประสงค์ ผเู้ ชย่ี วชาญ

6. นายณรงค์ ไทยเรือง ครูร่วมเรียนรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรือกลุ่มปัญหา เทคนคิ การสอนที่ครใู ช้ดึงดดู ความสนใจผู้เรียนไดน้ ้อย
2. งาน/กจิ กรรม สงั เกตการณ์สอน นายอัครพล ทองเย้า รายวิชาวทิ ยาการคานวณ เรือ่ ง แนวคิดเชิงคานวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/2 โดยใชเ้ ทคนคิ การสอน โดยการใช้เกม
3. ผลการสงั เกต

จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูอัครพล ทองเย้า ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา
วิทยาการคานวณ โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนโดยการใช้เกมพบว่า ครูผู้สอนมีการนาเข้าสู่บทเรียนท่ีทา
ให้นักเรียนเกิดความสนใจเป็นอย่างดี ซึ่งในชั่วโมงของการสงั เกตครผู ู้สอนใหต้ วั แทนนักเรยี น พูดคยุ แลกเปลย่ี น
ข้อคิดเห็นร่วมกันระหว่างในช้ันเรียน เก่ียวกับ การเล่นเกมต่าง ๆ ที่มีมากมายในออนไลน์ บางคร้ังมีการนา
เนื้อหาวิชาไปออกแบบในรูปเกม ซึ่งนักเรียนสามารถเข้าใจในเนื้อหาความรู้ เกิดความคิดรวบยอด และเข้าใจ
ในเนอ้ื หาทเ่ี รียนไดถ้ กู ต้อง ชดั เจน และครูผู้สอนไดร้ ว่ มกับผูเ้ รยี นประเมนิ ผลงาน และสรปุ อภปิ รายหลังการเล่น
เกม เพื่อสรุปผลการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนตั้งประเด็นคาถาม เพ่ือนาไปสู่การอภิปราย ประกอบไปด้วยประเด็น
ท่ัวไป และประเด็นเกี่ยวกับเนอ้ื หาความรู้

หลังจากที่อภิปรายผลแล้ว มีการสรุปร่วมกัน เพ่ือสรุปบทเรียน และมีการขยายความรู้เพิ่มเติมแก่
นกั เรยี น แตใ่ นขณะท่ีอภิปรายผล มนี ักเรยี นบางคนทย่ี งั ขาดความสนใจ ไมฟ่ ังเพือ่ น ซงึ่ ต้องให้นกั เรยี นกลุ่มน้ีได้
มีส่วนร่วมใน การทากิจกรรมมากยิ่งขึ้น และอาจมีการเพิ่มระยะเวลาในการอภิปราย เพ่ือให้นักเรียนสามารถ
สรปุ องคค์ วามร้รู ่วมกันได้

จดุ เดน่
1. นักเรียนมปี ฏิสมั พนั ธก์ ับเพ่ือนในกล่มุ พูดคยุ แลกเปลีย่ นขอ้ คิดเห็น

2. นักเรยี นมคี วามรว่ มมือ ร่วมใจ ในการแบ่งหน้าที่กนั ในการทางาน
3. ครผู ู้สอนทาหน้าท่ใี นการเปน็ ท่ีปรกึ ษาและให้คาแนะนา
4. นกั เรียนได้ใช้ความคดิ สร้างสรรคอ์ ย่างอสิ ระ
5. นักเรยี นมคี วามสนกุ สนาน ไมเ่ บื่อ
จุดที่ตอ้ งพฒั นา
1. ครผู ู้สอนควรเพิ่มหรือเผอ่ื เวลาใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนได้อภปิ รายกบั กลุม่ อน่ื ๆ ดว้ ย
2. ควรมีวิธีการจดั เขา้ กลมุ่ ทคี่ ละกัน เด็กเก่ง เดก็ ปานกลาง และเด็กออ่ น

4. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจัดกิจกรรม
นาไปปรบั ปรุงการสอนเพอื่ ดึงดดู ผเู้ รียนโดยใช้เทคนิคอ่นื เพม่ิ เติม

เลิกประชมุ เวลา 17.30 น.

ลงชื่อ ผู้บนั ทึก
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงชอ่ื ลงช่ือ
(นางเยาวรัตน์ อย่พู ุม่ ) (นางสาวนิภาพร พรมมินทร์)
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงช่อื ผรู้ ับรอง
(นางอัมพวัน สายใหม)

รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลวดั ไทยชมุ พลฯ รกั ษำกำรในตำแหน่ง
ผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสุโขทัย

บันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสุโขทัย

ช่ือกลุ่ม “SC Team 1”

คร้ังที่ 14 ภาคเรียนที่ 2/2564 วนั /เดอื น/ปี : 9 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

เร่มิ ดาเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สนิ้ 2 ช่ัวโมง - นาที

กจิ กรรมคร้ังนอ้ี ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study)

(ทาเครือ่ งหมาย ลงในช่อง )

 ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบัติ และสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคิด และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ี่เข้ารว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้

ที่ ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่ือ

1. นางอมั พวัน สายใหม ผอู้ านวยการสถานศึกษา

2. นางเยาวรตั น์ อยูพ่ ่มุ หวั หน้ากล่มุ สาระ ฯ

3. นางสุรางค์ จนั ทร์ผกา ผูเ้ ช่ียวชาญ

4. นายทองสุข มัน่ ประสงค์ ผเู้ ช่ยี วชาญ

5. นายอคั รพล ทองเยา้ ครผู ู้สอน

6. นายณรงค์ ไทยเรือง ครรู ่วมเรียนรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรือกล่มุ ปญั หา เทคนคิ การสอนท่ีครูใช้ดึงดูดความสนใจผเู้ รยี นไดน้ ้อย
2. งาน/กจิ กรรม รว่ มสะทอ้ นคดิ จากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ของ นายอคั รพล ทองเย้า รายวิชา
วทิ ยาการคานวณ เร่ือง แนวคิดเชิงคานวณ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2/2 โดยใชเ้ ทคนิคการสอน โดยใช้เกม
3. ครูผู้สอนหลัก (Model Teacher) แสดงความรู้สกึ /ความเหน็

ครใู ช้เกมในการเรยี นการสอน มกี ติกาในการเลน่ การอภิปรายเกีย่ วกบั ผลการเล่น วธิ ีการเลน่ อย่าง

ชัดเจน ออกแบบเกมท่นี ่าสนใจ ทันสมยั และพฤติกรรมการเลน่ ของผเู้ ล่นหลังการเล่น มีการเสริมแรงของครู

เลือกเกมท่ีเหมาะสมกับนกั เรียน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ไดม้ าก ผ้เู รียนได้รบั ความสนกุ สนาน

4. สมาชิกร่วมกนั สะท้อนผล การจัดกจิ กรรม
ประเด็นด้านครู
- ครูมกี ารใช้ช้แี จงการใช้ส่อื เกม คาอธบิ าย ชัดเจน
- ครูมีการเรียงลาดบั ขัน้ ตอนการเลน่ เกม การให้คะแนน การสรุปผล
- ครมู ีการเสรมิ แรง
- ผสู้ อนไมเ่ หน่ือยแรงมากขณะสอนและผเู้ รียนชอบ
ประเดน็ สอื่ การสอน
- เกมมคี วามเหมาะสมกบั วัยผูเ้ รยี น
- สอื่ มคี วามเพยี งพอกับจานวนผเู้ รยี น
- รปู แบบ สสี นั สวยงาม แขง็ แรง

ประเดน็ ดา้ นบรรยากาศ
- สถานท่ที ่ใี ชเ้ ล่นเกม ควรเปน็ ห้องทส่ี ามารถจัดนกั ศึกษานั่งเป็นกลุ่มได้
- การเรียนเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ โดยผู้สอนเป็นเพยี งผ้ชู ้แี นะ ในขณะเลน่ เกมเพ่ือเปน็ การผ่อน
จดุ เด่น
1. ส่ือมคี วามทนั สมัย
2. นกั เรียนไม่เบือ่ หนา่ ย มีความสนใจ
3. นักเรยี นมีความสามัคคี
จุดท่ีควรพฒั นา
1. สถาที่ท่ใี ช้เล่นเกม ควรเป็นห้องทส่ี ามารถจัดนักเรยี นเป็นกลมุ่ ได้
2. เน้นการกาหนดเวลาใหช้ ดั เจน
3. นาคะแนนท่ีไดจ้ ากการทากิจกรรมไปเป็นส่วนหน่ึงในการประเมินผเู้ รยี น เพอ่ื เป็นการเสริมแรง

5. กจิ กรรมทไ่ี ดร้ ว่ มทา
ครูผู้สอนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง แนวคิดเชิงคานวณ ของตนเอง

ประเมินจดุ เดน่ จุดท่ีต้องพฒั นา จากการสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรียน จากนั้นครูร่วมเรยี นรู้ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ
ผู้เช่ียวชาญ และผู้บริหาร ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา รวมทั้งให้คาแนะนาในการพัฒนาการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เม่ือสิ้นสุดข้ันตอนการสะท้อนคิดแล้ว ครูผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนผลหลังปฏิบัติการ
(After Action Review : AAR) จากนนั้ ปรับปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู้ และนาเทคนิคการสอนทีเ่ หมาะสมและ
ดึงดูดความสนใจผูเ้ รยี นมากข้ึนมาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้
6. สมาชิกร่วมกนั ปรบั ปรุงแบบกิจกรรมตามทไ่ี ดส้ ะท้อนผล และ ปรับแผนกิจกรรม

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เกม เพื่อกระตุ้นความสนใจในการเรียน ทาให้นักเรียนเกิด
ความสนใจในการเรยี นน้ัน การสอโดยใช้เกม มีข้อดี คือ เป็นวิธีสอนทช่ี ่วยให้ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้สูง
ผู้เรียนได้รับความสนุกสนาน และเกิดการเรียนรู้จากการเล่น เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดย
การเห็นประจักษ์แจ้งด้วยตนเองทาให้การเรียนรู้นั้นมีความหมายและอยู่คงทน และเป็นวิธีสอนที่ผู้สอนไม่
เหนื่อยมากขณะสอนและผู้เรียนชอบ ทาให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหามากขึ้นและยังสามารถเพิ่มเติมความรู้ในเร่ือง
ที่ตนเองไม่เข้าใจ ครูแต่ละคนสามารถนาแนวทางไปปรับใช้ในเหมาะสมกับรายวิชาของตนเอง และมีการ
แลกเปลี่ยนให้คาแนะนาเก่ียวกับการจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ของแต่ละคนใหม้ ีความถูกต้องและเหมาะสม
ตอ่ ไป
7. ผลลัพธ์ท่ไี ด้จากกิจกรรม

ครูผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
เกมวา่ มคี วามเหมาะสมเพยี งใด เกมใดทนี่ กั เรียนสนใจ แลทาใหเ้ ข้าใจเน้อื หาไดด้ ี ควรนามาใชซ้ า้
8. แนวทางการนาความรู้ไปใช้

ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา

อภิปราย เพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่น

และจุดที่ต้องพัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสอนโดยใช้เกม ครูผู้สอนสามารถนาแนวการ

จัดการเรียนรู้ไปใช้ควรสอดแทรกเนื้อหาได้ทุกสาระ เพ่ือกระตุ้นผู้เรียนให้มีความสนใจและการเรียนไม่น่าเบ่ือ

และเปน็ การพฒั นาดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ใหส้ ูงข้ึน

ครูผู้สอนควรเลือกเกมที่เหมาะสมกับวัยและความสนใจของผู้เรียน และเปิดโอกาสให้แสดงความ
คดิ เห็นไดอ้ ย่างเตม็ ที่ และใหก้ าลงั ใจในการทางาน ผเู้ รยี นจึงจะเกดิ การพฒั นาตนเองไดอ้ ย่างสงู สดุ

9. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม
นาผลการประชมุ ไปบนั ทกึ ใน PPR ของตนเอง

เลิกประชุมเวลา 17.30 น.

ลงช่อื ผ้บู ันทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงช่อื ลงช่ือ
(นางเยาวรตั น์ อยพู่ ุ่ม) (นางสาวนภิ าพร พรมมินทร์)
หัวหน้าฝา่ ยวิชาการ
หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชื่อ ผู้รับรอง
(นางอมั พวัน สายใหม)

รองผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลวดั ไทยชุมพลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสโุ ขทยั

บนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนเทศบาลเมืองสุโขทัย

ชอ่ื กลุ่ม “SC Team 1”

ครั้งท่ี 15 ภาคเรยี นที่ 1/2564 วนั /เดือน/ปี : 21 กุมภาพันธ์ 2565

เร่ิมดาเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้ิน 3 ชวั่ โมง - นาที

กจิ กรรมคร้ังนอ้ี ยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study)

(ทาเครือ่ งหมาย ลงในชอ่ ง )

 ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ขนั้ ท่ี 2 ปฏบิ ัติ และสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิด และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 3 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั นี้

ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชือ่

1. นางเยาวรัตน์ อยู่พมุ่ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ

2. นายอัครพล ทองเยา้ ครผู ู้สอน

3. นายณรงค์ ไทยเรือง ครรู ว่ มเรยี นรู้/เลขานกุ าร

1. สภาพหรือกลุม่ ปัญหา เทคนคิ การสอนท่ีครใู ชด้ งึ ดดู ความสนใจผ้เู รียนได้น้อย
2. งาน/กิจกรรม สังเกตการณส์ อน นายอัครพล ทองเย้า รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี

เรือ่ ง องค์ประกอบของคอพวิ เตอร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2/2
โดยใชเ้ ทคนิคการสอนแบบการจัดการเรียนรแู้ บบค้นพบ (Discovery Method)
3. ผลการสังเกต
จากการท่ีนาเทคนิคการสอนแบบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) ซ่ึงเป็นการ
สอนแบบเน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนจะเป็นผู้สร้างสถานการณ์ในลักษณะท่ี
ผู้เรียนจะเผชิญกับปัญหา ซึ่งในการแก้ปัญหานั้น ผู้เรียนจะใช้กระบวนการท่ีตรงกับธรรมชาติของวิชาหรือ
ปัญหานั้นท่ีนักเรียนใช้กระบวนการแก้ปัญหาแล้วนาไปสู่การค้นพบ มีการกาหนดปัญหา ตั้งสมมติฐานและ
รวบรวมข้อมูล ทดสอบสมมติฐานและสรุปข้อค้นพบ พบว่าในข้ันนาเข้าสู่บทเรียนครูได้ตั้งคาถามกระตุ้นความ
ความสนใจของนักเรียนว่า "เคร่ืองคอมพิวเตอร์จะสามารถทางานได้จะต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง" ซึ่งเป็น
เร่ืองท่ีใกล้ตัวนักเรียนและสอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียนทาให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการค้นหาคาตอบ
ในข้ันดาเนินกจิ กรรม ครแู บ่งกลุม่ นักเรยี นออกเปน็ กล่มุ ๆ แล้วศกึ ษาเรียนรูร้ ว่ มกันภายในกลุ่ม พร้อมทั้งครูแนะ
แนวทางค้นหาคาตอบให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ ค้นหาคาตอบด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น
จากส่ือ PowerPoint ,หนงั สอื เรยี น, อินเตอรเ์ น็ต ซ่ึงครคู อยให้คาปรกึ ษาอยา่ งใกล้ชดิ
ในข้ันตอนสรุปผล ครูใช้คาถามในการทดสอบความรู้ของผู้เรียนในชั่วโมงน้ี ซ่ึงเป็นการตรวจสอบได้ทันทีว่า
ผเู้ รียนเขา้ ใจเนือ้ หาหรอื ไม่ มากน้อยเพียงใด
3.1 จุดเด่นในการจดั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1) เป็นการฝึกให้นักเรยี นรู้จักการรวบรวมข้อมูลจาการศกึ ษาคน้ ควา้ การอ่าน การฟงั บรรยาย
2) ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นคิดอยา่ งมเี หตุผล
3) ปลกู ฝงั นิสยั รักการอ่าน ค้นควา้ เพ่ือหาคาตอบดว้ ยตนเอง

3.2 จุดท่ีต้องพัฒนาในการจัดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1) ครผู ู้สอนควรจดั สรรเวลาในการทากจิ กรรมใหเ้ หมาะสม เน่ืองจากการเรยี นรู้แบบการจัดการ

เรียนรแู้ บบคน้ พบ (Discovery Method) ใช้เวลาค่อนข้างมาก และผูเ้ รียนแตล่ ะคนใชเ้ วลาในการเรยี นรูไ้ ม่
เท่ากัน

2) ในการจัดกลุ่มใหน้ ักเรียนทากจิ กรรมควรแบง่ กลุ่มแบบ เกง่ กลาง อ่อน เพื่อให้กระบวนการ
จัดการเรยี นรเู้ ป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ

3) ครูควรแนะนาให้นักเรียนสืบคน้ ขอ้ มูลจากสื่อท่ีหลากหลาย ไมใ่ ช่ศึกษาจากสื่อเพียงแหล่งเดียว

4. ผลท่ไี ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม
นาไปปรบั ปรุงการสอนเพือ่ ดงึ ดูดผ้เู รยี นโดยใชเ้ ทคนคิ อื่นเพ่มิ เติม

เลิกประชุมเวลา 18.30 น.

ลงช่อื ผู้บันทึก
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงชื่อ ลงช่อื
(นางเยาวรัตน์ อยพู่ ุ่ม) (นางสาวนภิ าพร พรมมนิ ทร์)
หวั หนา้ ฝ่ายวิชาการ
หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชอ่ื ผู้รบั รอง
(นางอัมพวัน สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวัดไทยชมุ พลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผูอ้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำโรงเรียนเทศบำลเมืองสุโขทยั

บันทึกกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสุโขทัย

ชือ่ กลุ่ม “SC Team 1”

ครง้ั ท่ี 16 ภาคเรยี นที่ 1/2564 วนั /เดอื น/ปี : 22 กุมภาพันธ์ 2565

เร่ิมดาเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้ิน 2 ชว่ั โมง - นาที

กิจกรรมคร้ังนอี้ ยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study)

(ทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ ง )

 ข้ันที่ 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ข้นั ที่ 2 ปฏบิ ัติ และสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคิด และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 3 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี

ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชือ่

1. นางเยาวรตั น์ อยพู่ ุม่ หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ

2. นายอคั รพล ทองเยา้ ครผู ู้สอน

3. นายณรงค์ ไทยเรือง ครูร่วมเรียนรู้/เลขานุการ

1. สภาพหรือกลมุ่ ปญั หา เทคนคิ การสอนท่ีครูใชด้ งึ ดดู ความสนใจผู้เรยี นไดน้ ้อย
2. งาน/กจิ กรรม สงั เกตการณส์ อน นายอัครพล ทองเย้า รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี

เรอื่ ง องค์ประกอบของเครื่องคอมพวิ เตอร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/2
โดยใช้เทคนิคการสอนแบบการจดั การเรียนรแู้ บบคน้ พบ (Discovery Method)
3. ครูผ้สู อนหลกั (Model Teacher) แสดงความรู้สึก/ความเห็น
การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้สอนแบบการจดั การเรยี นรูแ้ บบคน้ พบ (Discovery Method)
ผูเ้ รยี นมีความกระตือรือรน้ ในการทากิจกรรมโดยเฉพาะคาถามท่ีครูใชน้ าเขา้ สู่บทเรยี นซึ่งเปน็ คาถามทนี่ ักเรียน
สนใจและอยากท่ีจะรู้คาตอบ นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มมีการแบ่งหน้าหน้าในการศึกษาคน้ คว้าหาคาตอบจากส่ือท่ีครู
ได้เตรียมไว้ทาให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย และในการนาเสนอหน้าช้ันเรียนของนักเรียนแต่ละกลุ่มสามารถสรุป
ข้อมลู ได้อย่างชัดเจน และตรงประเด็น แตย่ ังมนี ักเรียนบางคนในกลุม่ ยังไม่ค่อยมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมเท่าท่ีควร
ซึง่ ครูตอ้ งคอยกระตนุ้ เปน็ ระยะ เพอ่ื ให้ทุกคนในใช้เรียนมีสว่ นร่วมในการทากิจกรรม
4. สมาชิกรว่ มกันสะท้อนผล การจดั กิจกรรม
เป็นการจัดกิจกรรมท่ีเน้นให้นักเรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเอง เน้นการใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะต้องนาข้อมูลทาการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปเพื่อให้ได้ข้อค้นพบ
ใหม่หรือเกิดความคิดรวบยอดในเร่ืองน้ัน ครูผู้สอนจัดกิจกรรมได้ดีนักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน
เนือ่ งจากครผู สู้ อนตั้งคาถามและประเดน็ ปัญหาให้นกั เรยี นศึกษาคน้ คว้าได้ชัดเจน ตรงประเดน็ และน่าสนใจอีก
ท้ังยังเตรียมส่ือและแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนค่อยข้างหลากหลาย ๆ ทาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลได้
ครอบคลุมเน้ือหาวิชาท่เี รียน ในระหว่างทากิจกรรมครผู สู้ อนได้กระตนุ้ เตือนสมาชิกแต่ละกลุ่มให้มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมกลุ่ม เพ่ือให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ในข้ันตอนสรุปครูผู้ได้ช้ีแนะเพิ่มเติมในเน้ือหาที่
นกั เรยี นยังสรปุ สาระสาคัญไมช่ ัดเจน ซ่งึ ครผู สู้ อนสรุปเนอื้ หาวิชาท่ีเรยี นไดต้ รงประเด็นทานักเรียนเขา้ ใจเนื้อหา
มากขน้ึ มีการสังเกตของสมาชกิ ดงั น้ี

จดุ เดน่
1. ครเู ตรยี มสอ่ื การสอนและแหลง่ ข้อมลู ในการศึกษาค้นคว้าไวห้ ลากหลาย
2. นักเรียนมีมีความกระตอื รือรน้ ในการทากิจกรรม และสามารถศกึ ษาค้นควา้ ไดด้ ว้ ยตนเอง
3. นักเรียนสามารถสรุปความคิดรวมยอด ในกิจกรรมที่ครูกาหนดให้ได้อย่างถูกต้องตรงตาม
จุดประสงค์การเรยี นรู้
จดุ ท่คี วรพัฒนา
1. เวลาในการทากิจกรรมควรกาหนดให้เหมาะสม
2. ครคู วรกระต้นใหน้ กั เรียนทุกคนมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมมากข้นึ
3. นักเรยี นบางคนยงั ขาดทักษะในการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ครูควรดูแลใหค้ าแนะนาอย่างใกล้ชิด
5. กจิ กรรมที่ไดร้ ่วมทา
ครูผสู้ อนนาเสนอผลการปฏบิ ตั กิ ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ จากนนั้
ครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา รวมท้ังให้คาแนะนาในการ
พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อส้ินสุดข้ันตอนการสะท้อนคิดแล้ว ครูผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนผลหลัง
ปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และนาเทคนิคการสอนท่ี
เหมาะสมและดงึ ดดู ความสนใจผู้เรยี นมากข้นึ มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้
6. สมาชิกร่วมกันปรับปรุงแบบกจิ กรรมตามท่ีได้สะทอ้ นผล และ ปรบั แผนกิจกรรม
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์ท่ีหลากหลาย ซึ่งแต่ละกลุ่มได้สถานการณ์ไม่ซ้า
กัน ครูกระตุ้นความสนใจในการเรียนโดยให้นักเรียนทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม ทาให้นักเรียน
เกิดความสนใจในการเรียนน้ัน และสามารถเขียนแผนภาพโครงสร้างความรู้ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ทาให้
นักเรียนเข้าใจเน้ือหามากข้ึนและยังสามารถเพิ่มเติมความรู้ในเร่ืองที่ตนเองไม่เข้าใจ ครูแต่ละคนสามารถนา
แนวทางไปปรับใช้ในเหมาะสมกับรายวิชาของตนเอง และมีการแลกเปล่ียนให้คาแนะนาเกี่ยวกับการจัดทา
แผนการจดั การเรยี นรู้ของแตล่ ะคนใหม้ คี วามถูกต้องและเหมาะสมต่อไป
7. ผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ ากกิจกรรม
ครูผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้เรียนรู้เก่ียวกับการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ
กิจกรรมการสอนแบบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) ซ่ึงครูจะต้องฝึกให้นักเรียนรู้จัก
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ แล้วมาสรุปเป็นความคิดรวบยอดเพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาอยา่ งถกู ต้อง

8. แนวทางการนาความรู้ไปใช้
ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย

เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่นและจุดที่
ต้องพัฒนาในการจัดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
9. ผลท่ไี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม

นาผลการประชมุ ไปบนั ทึกใน PPR ของตนเอง

เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น.

ลงชอื่ ผู้บนั ทกึ
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงชื่อ ลงช่อื
(นางเยาวรตั น์ อยู่พุ่ม) (นางสาวนภิ าพร พรมมนิ ทร)์
หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลงชื่อ ผ้รู ับรอง
(นางอมั พวัน สายใหม)

รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลวัดไทยชุมพลฯ รกั ษำกำรในตำแหนง่
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสโุ ขทยั

บันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย

ชื่อกลุ่ม “SC Team 1”

คร้ังที่ 17 ภาคเรยี นท่ี 1/2564 วนั /เดอื น/ปี : 7 มีนาคม 2565

เร่มิ ดาเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 3 ช่ัวโมง - นาที

กิจกรรมคร้ังนอี้ ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study)

(ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ ง )

 ขัน้ ท่ี 1 วเิ คราะห์ และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)

 ขนั้ ที่ 2 ปฏิบัติ และสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)

 ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคิด และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครูทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้

ที่ ช่อื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชอื่

1. นางเยาวรตั น์ อยู่พุม่ หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ

2. นายอัครพล ทองเยา้ ครผู ูส้ อน

3. นายณรงค์ ไทยเรอื ง ครูร่วมเรียนรู้/เลขานุการ

1. สภาพหรอื กลุ่มปญั หา เทคนคิ การสอนท่ีครใู ช้ดึงดูดความสนใจผ้เู รยี นได้น้อย
2. งาน/กจิ กรรม สงั เกตการณส์ อน นายอัครพล ทองเยา้ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี

เรือ่ ง หลักการทางานของคอมเตอร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2/2
โดยใช้เทคนคิ การสอนแบบการจดั การเรียนรู้แบบคน้ พบ (Discovery Method)
3. ผลการสังเกต
จากการท่ีนาเทคนิคการสอนแบบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) ซ่ึงเป็นการ
สอนแบบเน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตนเอง และนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอดเพ่ือใช้ในการหาคาตอบหรือแก้ปัญหา พบว่าใน
ขั้นกอ่ นนาเขา้ ส่บู ทเรียนครูได้มีการทบทวนความร้เู ดมิ ในเร่ืองขององค์ประกอบของคอมพิวเตอรซ์ ่ึงเป็นเรื่องท่า
ดีเพราะเนื้อหาวิชามีความเก่ียวเนื่องกัน และในการนาเข้าสู่บทเรียนครูได้ตั้งคาถามกระตุ้นความความสนใจ
ของนักเรียนว่า "เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นักเรียนใช้อยู่มีหลักการทางานอย่างไร" ซ่ึงเป็นคาถามที่เน้ือหาสืบเน่ือง
จากชั่วโมงท่ีแล้วทาให้นักเรียนมีความสนใจในการท่ีจะค้นคว้าความรู้เพ่ิมเติม ในการแบ่งกลุ่มนักเรียนในการ
ทากิจกรรมครูได้มีการแบ่งคละ เก่ง กลาง อ่อน ทาให้แต่ละกลุ่มสามารถศึกษาค้นคว้าและช่วยเหลือกันเรยี นรู้
ภายได้กลุ่มได้ค่อยข้างดี ซ่ึงครูคอยกระตุ้นให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม ให้นักเรียนใน
กลมุ่ เกิดการเรยี นรู้ร่วมกนั และรจู้ ักการทางานเป็นทีม ในข้ันตอนสรปุ ผล ครใู ช้คาถามในการทดสอบความรู้ของ
ผู้เรยี นในชวั่ โมงนี้ ซึง่ เป็นการตรวจสอบไดท้ ันทีวา่ ผู้เรยี นเขา้ ใจเน้ือหาหรอื ไม่ มากน้อยเพียงใด
3.1 จุดเดน่ ในการจัดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
1) เป็นการฝึกให้นักเรียนคิดอย่างมเี หตุผล
2) ผู้เรยี นมีความม่นั ใจ เพราะไดเ้ รียนรูส้ ่งิ ใหม่อย่างเขา้ ใจจริง
3) ผเู้ รยี นรวู้ ธิ ีสร้างความรู้ด้วยตนเอง เชน่ การหาข้อมูล การวิเคราะห์และสรปุ ข้อความรู้
3.2 จดุ ทต่ี ้องพัฒนาในการจดั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

1) ครคู วรมีการเสริมแรงให้กับนักเรียนเม่ือนกั เรียนตอบคาถามได้ถูกตอ้ ง และให้กาลงั กับ
นักเรยี นทยี่ ังตอบคาถามไม่ได้ หรอื ตอบไม่ต้องประเด็น

2) ครูควรแนะนาใหน้ ักเรยี นสืบคน้ ข้อมลู จากส่ือที่หลากหลาย ไมใ่ ชศ่ ึกษาจากสื่อเพียงแหล่ง
เดยี ว
4. ผลท่ีไดจ้ ากการจดั กิจกรรม

นาไปปรบั ปรงุ การสอนเพือ่ ดึงดูดผู้เรียนโดยใช้เทคนคิ อน่ื เพ่ิมเติม

เลิกประชมุ เวลา 18.30 น.

ลงช่ือ ผูบ้ นั ทึก
(นายณรงค์ ไทยเรือง)

ลงชื่อ ลงช่ือ
(นางเยาวรตั น์ อยูพ่ มุ่ ) (นางสาวนภิ าพร พรมมินทร์)
หวั หนา้ ฝ่ายวชิ าการ
หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชอื่ ผู้รบั รอง
(นางอัมพวัน สายใหม)

รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลวัดไทยชมุ พลฯ รกั ษำกำรในตำแหน่ง
ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลเมืองสุโขทยั

บนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสุโขทัย

ชอื่ กลุ่ม “SC Team 1”

ครงั้ ท่ี 18 ภาคเรยี นที่ 1/2564 วัน/เดือน/ปี : 8 มีนาคม 2565

เร่มิ ดาเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ชว่ั โมง - นาที

กจิ กรรมครงั้ น้ีอยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเครอ่ื งหมาย ลงใน

ชอ่ ง )

 ขน้ั ท่ี 1 วิเคราะห์ และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)

 ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ัติ และสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)

 ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign)

จานวนครทู ่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม 3 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดงั น้ี

ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอื่

1. นางเยาวรตั น์ อยู่พ่มุ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ

2. นายอัครพล ทองเยา้ ครผู ูส้ อน

3. นายณรงค์ ไทยเรือง ครูร่วมเรียนรู้/เลขานุการ

1. สภาพหรอื กลุม่ ปัญหา เทคนิคการสอนที่ครใู ช้ดงึ ดูดความสนใจผ้เู รียนไดน้ ้อย
2. งาน/กิจกรรม สงั เกตการณส์ อน นายอัครพล ทองเยา้ รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี

เรอ่ื ง การวเิ คราะห์ปญั หา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2/2
โดยใช้เทคนิคการสอนแบบการจัดการเรียนรแู้ บบค้นพบ (Discovery Method)
3. ครูผู้สอนหลกั (Model Teacher) แสดงความรู้สกึ /ความเห็น
การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สอนแบบการจดั การเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method)
พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นมีความสนุกสนานในการเรียน มีความกล้าแสดงออกในการตอบ
คาถามหรือแสดงข้อคิดเห็น นักเรียนในแตล่ ะกลมุ่ รู้จักแบ่งหน้าท่ีในการทางานตามท่ตี นเองรับผิดชอบ และแต่
ละกลุ่มส่วนใหญ่สามารถสรุปความคิดรวบยอดได้ตรงประเด็นและถูกต้อง สามารถนาเสนอข้อมูลแนวคิดท่ีได้
ศึกษาค้นคว้าหน้าช้ันเรียนได้ ซ่ึงการสอนแบบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) ช่วยให้
ผู้เรียนค้นพบสิ่งที่ค้นพบได้นานและเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง เหมาะอย่างย่ิงในการนามาใช้ในการจัดการเรียนการ
สอนในปัจจุบนั เพราะมสี ือ่ และแหลง่ เรียนรู้ใหน้ ักเรียนได้ศึกษาคน้ ควา้ อย่างหลากหลาย

4. สมาชิกรว่ มกนั สะท้อนผล การจดั กจิ กรรม
เป็นการจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเอง นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์

สังเคราะห์ แล้วสรุปเป็นความคิดรวมยอด ครูมีจัดกิจกรรมได้ดี มือสื่อและแหล่งเรียนรู้ให้นกั เรียนสบื ค้นข้อมูล
ได้หลากหลาย ตามความถนัดของนักเรียน เน้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มมีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกคน นักเรียน
สามารถค้นคว้าข้อมูลตามที่ได้รับหมอบหมายได้ถูกต้อง และนักเรียนมีความกล้าแสดงออกในการนาเสนอ
ขอ้ มลู ทีก่ ลมุ่ ของตนเองไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ หนา้ ชนั้ เรยี น ซง่ึ มกี ารสงั เกตของสมาชิก ดังน้ี

จุดเด่น
1. ครเู ตรียมส่ือการสอนและแหลง่ ขอ้ มลู ในการศกึ ษาค้นควา้ ไว้หลากหลาย

2. นกั เรยี นมคี วามกล้าแสดงออกในการนาเสนอข้อมลู หน้าชน้ั เรยี น
3. นักเรียนสามารถสรุปความคิดรวมยอด ในกิจกรรมท่ีครูกาหนดให้ได้อย่างถูกต้องตรงตาม
จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ทีค่ วรพัฒนา
1. ควรมีการเสรมิ แรงใหก้ ับนกั เรยี นเพือ่ ใหน้ กั เรียนมีกาลังใจในการเรียนมากข้นึ
2. ในการให้ของรางวลั ไมค่ วรให้มากเกนิ ไป
3. นกั เรยี นบางคนยงั ขาดทักษะในการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ครคู วรดูแลให้คาแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด
5. กิจกรรมทีไ่ ดร้ ่วมทา
ครูผู้สอนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง หลักการของคอมพิวเตอร์ จากน้ันครู
ร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา รวมท้ังให้คาแนะนาในการ
พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เม่ือสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ครูผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนผลหลงั
ปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากน้ันปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และนาเทคนิคการสอนท่ี
เหมาะสมและดงึ ดูดความสนใจผู้เรียนมากขึน้ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้
6. สมาชิกร่วมกันปรบั ปรุงแบบกจิ กรรมตามที่ได้สะทอ้ นผล และ ปรับแผนกิจกรรม
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้การสอนแบบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery
Method) ซึ่งแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าข้อมูลตามท่ีได้รับมอบหมาย ครูกระตุ้นความสนใจในการเรียนโดยให้
นักเรียนทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม ทาให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนนั้น และสามารถ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปรวบยอดความรู้ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ทาให้นักเรียนเข้าใจเน้ือหามากขึ้นและยัง
สามารถเพ่ิมเติมความรู้ในเร่ืองที่ตนเองไม่เข้าใจ ครูแต่ละคนสามารถนาแนวทางไปปรับใช้ในเหมาะสมกับ
รายวิชาของตนเอง และมกี ารแลกเปลีย่ นให้คาแนะนาเกี่ยวกับการจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละคนให้
มีความถูกต้องและเหมาะสมต่อไป

7. ผลลพั ธ์ทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม
ครูผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ

กิจกรรมการสอนแบบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) ซึ่งครูจะต้องฝึกให้นักเรียนรู้จัก
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ แล้วมาสรุปเป็นความคิดรวบยอดเพื่อใช้ในการ
แก้ปญั หาอยา่ งถูกต้อง
8. แนวทางการนาความรู้ไปใช้

ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย
เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสาเร็จ จุดเด่นและจุดท่ี
ตอ้ งพฒั นาในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
9. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจัดกจิ กรรม

นาผลการประชมุ ไปบนั ทกึ ใน PPR ของตนเอง

เลิกประชุมเวลา 17.30 น.