วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่

    รวมคำศัพท์ที่ยากค่อนข้างยากตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พร้อมคำอ่าน คำแปล และความหมายที่เข้าใจง่าย พร้อมแบบทดสอบที่หลากหลายในแต่ละบท โดยมีแบบเฉลยให้ได้ตรวจสอบความถูกต้องด้วยตนเอง เพื่อทบทวนและทำความเข้าใจในเนื้อหาให้มีความแม่นยำมากยิ่งขึ้น เหมาะสำหรับใช้สอบในระดับต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

วรรณคดีลำนำ
ใบงานวรรณคดีลำนำ ป.2 บทที่ 2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่ ใบงานฟรี
 ID: 2414469
Language: Thai
School subject: ภาษาไทย ประถมศึกษา
Grade/level: P.2
Age: 6-8
Main content: วรรณคดีลำนำป.2 บทที่ 2
Other contents: นิทานอ่านใหม่

วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่
 Add to my workbooks (0)
วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่
 Download file pdf
วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่
 Add to Google Classroom
วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่
 Add to Microsoft Teams
วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่

sheetPosh


วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่

What do you want to do?

วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่
วรรณคดี ลํา นํา ป.2 เรื่อง นิทานอ่านใหม่
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชวี ติ วรรณคดลี �านา� ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สา� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวติ วรรณคดลี �านา� ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ลิขสทิ ธิ์ของสา� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ถนนราชดา� เนินนอก เขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพทแ์ ละโทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๔๓ ส�านกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษาดา� เนนิ การจดั พมิ พ์ ISBN 978-616-317-033-0 พิมพค์ รง้ั ท่ีสาม พ.ศ. ๒๕๕๕ จา� นวน ๖๐๐,๐๐๐ เล่ม พิมพท์ ี่โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ๒๒๔๙ ถนนลาดพรา้ ว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๘ ๓๐๓๓, ๐ ๒๕๑๔ ๔๐๓๓ โทรสาร ๐ ๒๕๓๙ ๙๙๕๖ www.suksapan.or.th

ค�านา� หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีล�าน�า ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ เป็นหนังสือที่ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจัดท�า ข้ึนส�าหรับนักเรียนใช้ในการเรียนรู้และครูใช้ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยแตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทา� หนงั สอื เรยี นภาษาไทย กลมุ่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ซ่ึงมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญญา สังขพันธานนท์ เป็นประธาน กรรมการ และจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นของศึกษานิเทศก์และครูภาษาไทยจาก เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาทง้ั ๔ ภมู ภิ าค ในดา้ นการนา� ไปใช้ ดงั รายนามทา้ ยหนงั สอื น้ี หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่ือชีวิต วรรณคดีล�าน�า ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ มเี นอื้ หามงุ่ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นไดศ้ กึ ษาวรรณคดที ก่ี า� หนดไวใ้ นประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง วรรณคดีส�าหรับจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศ ณ วนั ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๑ และท่องจ�าบทประพันธ์ท่ีไพเราะอย่างเห็นคุณค่า รู้จักใช้กระบวนการคิดน�าไปสู่ความเข้าใจ ในการอา่ นและเกดิ ความซาบซง้ึ ในวรรณคดแี ละวรรณกรรม วฒั นธรรมทางภาษา ความเปน็ ไทย ความเปน็ คนดขี องสงั คมไทยและสงั คมโลก รวมทงั้ รจู้ กั นา� ความรู้ ความคดิ ความซาบซงึ้ จาก การศกึ ษาวรรณคดไี ปชว่ ยกลอ่ มเกลาพฒั นาอารมณแ์ ละจติ ใจของนกั เรยี นในการดา� เนนิ ชวี ติ ต่อไป การน�าเสนอเนื้อหาได้เรียบเรียงเน้ือหาขึ้นใหม่ให้น่าสนใจ โดยเช่ือมโยงกับวรรณคดี และวรรณกรรมทใี่ หเ้ รียน เพื่อใหน้ กั เรียนอา่ นอยา่ งมคี วามสุขและเพลิดเพลิน สา� นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐานหวงั ว่า หนงั สอื เลม่ นี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักการและบรรลุ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หากมีข้อเสนอแนะใดๆ กรุณาแจ้งส�านักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบคุณคณะกรรมการฯ และผ้มู ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งในการจัดทา� หนังสือเรียนนี้ใหส้ า� เรจ็ ลลุ ว่ งด้วยดไี ว้ ณ โอกาสน้ี (นายชนิ ภทั ร ภูมริ ัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๓

คำ� แนะนำ� สำ� หรบั ครูภำษำไทย การวางแผนจัดการเรยี นร้ภู าษาไทย ครูจา� เป็นตอ้ ง ๑. ศกึ ษาหลกั สตู รและเอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั หลกั สตู รฉบบั ปจั จบุ นั เพอื่ เขา้ ใจสาระและ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง และสงิ่ อนั พงึ ประสงคใ์ ห้ เกดิ แกน่ กั เรยี น ๒. ศึกษาหนังสอื เรยี น ภาษาพาที หนังสอื เรียน วรรณคดีลา� น�า และแบบฝึกหัด ทักษะภาษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ทกุ เล่ม ทุกบทอยา่ งละเอียด ซ่งึ ใชเ้ ป็นสอื่ หลัก ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย แล้วจดั หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละแผนการจดั การ เรียนรู้ตามความเหมาะสม ท้ังนี้ได้จัดท�าคู่มือเป็นแนวทางไว้ให้แล้ว ๓. ศกึ ษาพน้ื ฐานความรคู้ วามสามารถภาษาไทย และอนื่ ๆ ของนกั เรยี น ซง่ึ อาจใชว้ ธิ ี ทดสอบ สมั ภาษณ์ ฯลฯ และก่อนเรม่ิ บทเรยี นควรเตรียมความพรอ้ มอย่างน้อย ๑-๒ สัปดาห์ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ภาษาไทย โดยใช้หนงั สือเรยี น วรรณคดีลา� น�า ครูจ�าเปน็ ต้อง ๑. เขา้ ใจแนวการนา� เสนอเนือ้ หาแตล่ ะบทของหนังสอื เรียน วรรณคดีล�าน�า ซึง่ ประกอบด้วย เนอ้ื หาสว่ นน�าวรรณคดี : นา� เสนอในลกั ษณะสรา้ งเรือ่ งข้ึนใหม่ เพื่อเป็นเครอื่ งมอื หรือสื่อในการน�าเสนอวรรณคดี จูงใจให้นักเรียนสนุกท่ีจะอ่าน พร้อมๆ กับ ช่ืนชมและรื่นรมย์กับวรรณคดีโดยไม่รู้ตัว สร้างความรู้สึกว่าวรรณคดีมิใช่งานเขียน ท่ีอ่านยากหรือพ้นสมัย นักเรียนสามารถเข้าถึงความคิดของผู้แต่งและน�ามาใช้ให้ เป็นประโยชน์ในการดา� เนนิ ชวี ติ ในปัจจบุ นั ได้ เนือ้ หาวรรณคดี : ไดค้ ดั เลือกวรรณคดีและวรรณกรรมทม่ี ีคณุ ค่า ซึง่ กา� หนดให้ เรยี นและเสนอใหเ้ ลอื กเรยี น รวมทงั้ บทอาขยาน ตามประกาศของกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร ครูควรใหค้ วามส�าคัญเปน็ พเิ ศษกับเนอื้ หาสว่ นน้ี ใหน้ ักเรยี นอา่ น และคิดอย่างสนุก สนทนาร่วมกนั ทา� กจิ กรรมทน่ี า่ สนใจ และพิจารณานา� ไป ประยุกตใ์ ช้ให้เปน็ ประโยชนต์ ามควรแกว่ ยั รวมท้งั ขยายความสนใจในการอา่ น วรรณคดแี ละวรรณกรรมเร่อื งอื่นๆ ต่อไปดว้ ย

๒. ค�านึงถึงและส่งเสริมความสามารถในการอ่านของนักเรียนก่อนท่ีจะให้นักเรียน อา่ นหนังสือเรยี นแต่ละบท เชน่ ครอู ่านให้นักเรียนฟังดว้ ยลลี าเป็นธรรมชาติ นา่ สนใจ ใหน้ กั เรยี นอา่ นตามเปน็ กลมุ่ ใหญแ่ ละอา่ นเปน็ กลมุ่ เลก็ อา่ นเปน็ รายบคุ คล ทง้ั อ่านออกเสยี งและอา่ นในใจ ครูชวนนักเรียนสนทนาเกยี่ วกบั เรอื่ งทเี่ รยี น ครใู ห้ นกั เรยี นทา� กิจกรรมทา้ ยบทเรยี น ฯลฯ เหลา่ นี้จะช่วยใหน้ กั เรียนอ่านและเขา้ ใจ บทเรยี นไดโ้ ดยไมย่ าก หากใหน้ กั เรยี นอา่ นบทเรยี นทนั ที โดยมไิ ดเ้ ตรยี มความพรอ้ ม จะเกดิ อปุ สรรคในการเรียนร้ภู าษา วรรณคดีและวรรณกรรมไทยตอ่ ไป ๓. เข้าใจจุดมุ่งหมายของกิจกรรมแต่ละบทของหนังสือเรียน ซึ่งมุ่งขยายความรู้ และประสบการณเ์ พม่ิ เตมิ จากทไี่ ดศ้ กึ ษาวรรณคดี ชวนใหฟ้ งั พดู ดู อา่ น เขยี น คดิ และ ทา� กจิ กรรมทสี่ นกุ นา่ สนใจในเรอื่ งราวทใ่ี กลต้ วั โดยบรู ณาการทกั ษะและสาระการเรยี นรู้ อนื่ ๆ เนน้ ใหร้ จู้ กั คา� ในภาษาไทย คา� คลอ้ งจอง คา� ทป่ี ระณตี สละสลวย คา� ทส่ี รา้ งความรสู้ กึ นึกคิดต่างๆ มากขึ้น ตลอดจนเกิดจินตนาการท่ีเหมาะสมกับวัย ครูควรค�านึง ในการจดั กจิ กรรมดงั น้ี • ควรใหน้ ักเรยี นฝกึ ทา� กิจกรรมทุกขอ้ และฝกึ ร้องเพลงจากซดี ี เพื่อความสนกุ และรนื่ รมยใ์ จในการเรยี นวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่างไรก็ตาม อาจ สร้างสรรค์กิจกรรมเพิ่มเติมให้หลากหลายยิ่งขึ้น ตลอดจนปรับเปล่ียนได้ ตามความเหมาะสม เช่น ครแู ละนักเรยี นร่วมกันใส่ท�านองใหมใ่ นบทเพลงและ บทอา่ นต่างๆ • ควรสง่ เสริมใหน้ ักเรยี นอ่านหนงั สอื ท่เี หมาะสมอยา่ งหลากหลาย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งหนังสือท่ีกระทรวงศึกษาธิการหรือส�านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพน้ื ฐานกา� หนด เชน่ ชดุ นทิ านชาดก ชุดนทิ านอีสป ชดุ อมตนทิ านลกู สัตว์ ควรให้นักเรียนได้มีโอกาสอ่านอย่างท่ัวถึงทุกเล่ม เพื่อพัฒนาความสามารถ การอา่ นและปลกู ฝงั นิสยั รักการอา่ นดว้ ย • ควรจดั ทา� หรอื จดั หาหนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ น และหนงั สอื อา่ นเพม่ิ เตมิ ทน่ี า่ สนใจ เพอ่ื ชว่ ยเสรมิ และบูรณาการการเรียนรู้ของนกั เรยี นอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะ เร่ืองราวเกยี่ วกบั ทอ้ งถ่นิ และเรอ่ื งอ่ืนๆ • ควรสง่ เสรมิ นกั เรยี นใหส้ ามารถเขยี นขอ้ ความ หรอื เรอ่ื งอยา่ งงา่ ยๆ ของตนเองได้ หากนักเรียนเขียนได้ตามวัตถุประสงค์ และเพ่ิมพูนความสามารถมากข้ึน จะท�าใหร้ ักการเรียนภาษาไทยอยา่ งย่งั ยนื ชวนรอ้ ง เล่น เรยี น อ่าน เขยี น คิด

๔. เข้าใจความพร้อมและพัฒนาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นแตล่ ะคน เชน่ • จัดกจิ กรรมบางกิจกรรมในช้ันเรียนแตกต่างกนั ตามความสามารถ • ศกึ ษาสาเหตขุ องปญั หาทนี่ กั เรยี นบางคนยงั ไมพ่ รอ้ มทจ่ี ะเรยี นรู้ หรอื เรยี นไดช้ า้ • ให้ความรัก ความเมตตา เสยี สละเวลาแนะน�า ซ่อมเสรมิ นกั เรยี นที่เรียนชา้ ใหพ้ ัฒนาอย่างเต็มความสามารถ • ไม่ควรให้เดก็ ท่ีมปี ัญหาเรยี นช้าและปญั หาอืน่ ๆ เกดิ ความรสู้ ึกวา่ ตนมีปมด้อย ด้วยวาจาและการกระท�า ไมว่ ่าจะโดยต้ังใจหรือไม่ตงั้ ใจ • ส่งเสริมเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษให้มีความรู้ความสามารถทางภาษาสูงข้ึน เต็มตามศกั ยภาพ • จัดชั้นเรียนใหเ้ หมาะสมเออื้ ต่อการพัฒนาการเรยี นรู้ เชน่ ทนี่ ั่งเรียน สอ่ื ใน หอ้ งเรียนต้องเปลย่ี นแปลงอย่เู สมอสอดคลอ้ งกบั การเรียนในช่วงเวลาน้ัน ๕. ศึกษาหาความรู้ความเข้าใจเพ่ิมเติมเกี่ยวกับวรรณคดีเร่ืองที่สอน และเร่ืองอื่นๆ ที่เก่ียวข้องเพื่อน�าเรื่องราวหรือสิ่งท่ีน่าสนใจมาสนทนาเพ่ิมพูนความรู้แก่นักเรียน เช่น หนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด แนวการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม ชุด บรรทดั ฐานภาษาไทย ของกระทรวงศกึ ษาธิการ หมายเหตุ : วรรณกรรมหรอื วรรณคดที เี่ ปน็ บทเรยี นไดจ้ ดั ทา� คา� อธบิ ายคา� ศพั ทย์ ากไวท้ า้ ยบทเรยี น โดยเรยี งลา� ดบั ตามพจนานกุ รม และไดพ้ มิ พค์ า� ศพั ทด์ ว้ ยตวั สนี า้� เงนิ เขม้ ไวท้ ว่ี รรณกรรม หรอื วรรณคดนี ั้น เพอ่ื เปน็ ท่ีสงั เกตด้วย ค�ำแนะนำ� สำ� หรับผูป้ กครอง ผู้ปกครองมีความส�าคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ของบุตรหลานซ่ึงอยู่ในวัยเรียน มีผล การศึกษาชี้ชัดว่านักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีย่ิงข้ึน ถ้าผู้ปกครองร่วมดูแลเอาใจใส่ด้วย ความรักและความเข้าใจ เช่น ชักชวนให้ฝึกอ่านเขียนเพิ่มเติมท่ีบ้านอย่างเต็มใจมิได้บังคับ อ่านหนังสือร่วมกับบุตรหลานของตนอยู่เสมอ ท�าความเข้าใจค�าแนะน�าส�าหรับครูในการ ใช้หนังสือเรียนเล่มนี้ และเพิ่มเติมความสามารถแก่นักเรียนในการใช้ภาษา ความเข้าใจ วรรณคดวี รรณกรรม รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ใหน้ า� ไปใชใ้ นชีวติ ไดต้ ามควรแกก่ รณี ผู้ปกครองควรสังเกตความสามารถของนักเรียน ให้ข้อมูลประสานสัมพันธ์กับ ครผู ู้สอน เพอ่ื ร่วมกนั ส่งเสริมพัฒนาการเรยี นรู้ภาษาไทยของนักเรยี นให้ดีย่งิ ข้ึน

สำรบัญ หนา้ ๑ บทที่ ๑ ดอกสรอ้ ยแสนงาม ๑๔ บทอาขยาน กาด�า ๒๘ ๔๔ บทดอกสร้อย นกขมนิ้ เหลอื งออ่ น ๕๘ นิทานอีสป กากับเหยอื กน�้า ๗๒ บทที่ ๒ นทิ านอ่านใหม่ นิทานอสี ป ราชสหี ก์ ับหนู บทท่ี ๓ ร่นื รสสักวา บทอาขยาน สกั วาหวานอน่ื มีหม่ืนแสน บทสกั วา สกั วาดาวจระเข้ก็เหหก บทที่ ๔ ไก่แจแ้ ซเ่ สียง บทอาขยาน ไกแ่ จ้ บทดอกสร้อย ไกแ่ ก้ว บทท่ี ๕ ภาพวาดของสีเทยี น บทอาขยาน รกั ษาปา่ บทท่ี ๖ ยายกะตา นิทานไทย ยายกะตา บทอาขยาน ความดี ความชวั่ บทรอ้ ยกรอง เหน็ ผิด เห็นถกู

ñº··Õè ´Í¡ÊÃŒÍÂáʹ§ÒÁ

บทท่ี ๑ ดอกสร้อยแสนงาม บา่ ยวนั หนง่ึ คณุ ครใู จดนี งั่ คยุ กบั เดก็ ๆ ใตร้ ม่ ไม้ คุณครพู ดู ว่า “วันน้ีแดดไมร่ ้อน ลมพัดเยน็ สบาย บนต้นไม้กม็ นี กน้อยมาอาศัย ฟงั ส.ิ ..เสียง นกรอ้ งเพลงชา่ งไพเราะ เรามารอ้ งเพลงกนั ดไี หม” เด็กๆ พากันย้ิมดใี จ รีบเข้ามาใกล้ รมุ ลอ้ ม คุณครู เดก็ ชายมใี จพดู วา่ “ผมอยากรอ้ งเพลง กาเอย๋ กา ครับ” แล้วลุกขึ้นทา� ท่าทาง พลางร้องเพลง 2 หน้าสอง

วรรณคดลี �าน�า ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ กาเอ๋ยกา บนิ มาไวไว มาจับต้นโพ โผมาต้นไทร เด็กชายมีใจร้องเพลงไป ทา� ท่าบินมาบินไป เพื่อนๆ ไม่รอช้า ต่างร้องเพลง กาเอย๋ กา แล้ว ท�าท่าบนิ มาบินไป คุณครใู จดยี ิ้มสดใส ชอบใจเพลง กาเอย๋ กา แล้วทา� ทา่ บินมาบนิ ไป คณุ ครูบอกว่า “ครูก็มีเพลง กาดา� จะมาร้อง ให้ฟงั ” เด็กๆ รบี พากันน่งั รอฟังเพลงจากคุณครู หนา้ สาม 3

บทที่ ๑ ดอกสร้อยแสนงาม กาดาํ กาเอย กาด�า รู้จ�าร้จู กั รักเพือ่ น ได้เหยอ่ื เผ่อื แผไม่แชเชอื น รีบเตอื นพวกพอ้ งร้องเรยี กมา เกลอ่ื นกลุมรุมลอ้ มพรอ มพรัก น่ารักนา้� ใจกระไรหนา การเผื่อแผแ่ นะ่ พ่อหนูจงดกู า มันโอบอารีรักดีนักเอย (นายแก้ว, ดอกสรอ ยสุภาษติ , กระทรวงศกึ ษาธิการ.) บทอาขยาน บทหลัก ๔ หนา้ ส่ี

วรรณคดีลา� น�า ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ พอคณุ ครรู อ้ งเพลงจบ เดก็ ๆ พากนั ปรบมอื ให้ แลว้ ถามวา่ “คณุ ครรู อ้ งเพลงอะไร ทา� ไมไมเ่ หมอื น เพลงทเ่ี คยฟงั ละ่ ครบั ” คุณครใู จดบี อกวา่ “เพลง กาดา� ที่ครรู อ้ ง เป็น บทดอกสร้อยของเก่า ตอนเดก็ ๆ ครูเคยอา่ นเปน็ ท�านองเสนาะ ถ้าอา่ นออกเสียงให้ไพเราะ บท ดอกสร้อยก็จะน่าฟัง” เดก็ ๆ ขอใหค้ ณุ ครชู ว่ ยสอนอา่ นบทดอกสรอ้ ย หน้าห้า 5

บทท่ี ๑ ดอกสร้อยแสนงาม ชวนรอ้ ง เลน่ เรียน อา่ น เขียน คิด ๑. “นกอะไรเอย่ สดี ำ� ทง้ั กำยำ รอ้ ง กำ กำ กงั วำนไกล” ๒. ม ำรอ้ งเพลง กำเอย๋ กำ พร้อมท�ำทำ่ ไปตำมเพลง ๓. ใครรู้จัก นกกำ บ้ำง เล่ำให้กนั ฟัง กำ หรอื กำดำ� กา เป็นช่ือนกชนิดหน่ึง พบเห็นได้หลายถิ่น ของโลกและในประเทศไทย เสยี งร้อง กา กา นา่ จะ เป็นท่ีมาของการเรียกช่ือว่า กา และยังนิยมเรียกว่า อีกา หรอื กาด�า ตามสขี น คนไทยคงติดตาขนสีด�า สนทิ ของกา จนกลา่ วเปน็ สา� นวนเปรยี บเทยี บคนใจดา� ว่า “ใจดา� เหมอื นอกี า” กาสามารถส่อื สารท�าท่าทาง ทา� เสยี งรอ้ งไดแ้ ตกตา่ งตามทตี่ อ้ งการ และเลยี นเสยี ง คา� พดู ไดด้ ไี ม่แพน้ กขนุ ทอง ๔. ฝกึ อำ่ นบทดอกสรอ้ ย กำดำ� เปน็ ทำ� นองเสนำะพรอ้ มกนั 6 หนา้ หก

วรรณคดลี า� น�า ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๕. เมอื่ อ่ำนบทดอกสรอ้ ย กำดำ� แล้วลองศึกษำธรรมชำติ ของกำเพ่มิ เติม เด็กๆ คดิ วำ่ นสิ ัยของกำเป็นอยำ่ งไร “กำ ใจดำ� ” หรอื “กำใจดี” หนตู อบอยำ่ งนี้มเี หตุผลใด ๖. อำ่ นคำ� ตอ่ ไปน ี้ เลอื กไดห้ รอื ไมว่ ำ่ อยำกเปน็ เพอื่ นกบั คนทมี่ ี “ใจ” แบบใด ใจดี ใจรา้ ย ใจด�า ใจกว้าง ใจแคบ ใจซ่ือ ใจคด ใจงาม ใจทราม ใจโอบอ้อมอาร ี ใจเอือ้ เฟื้อเผอ่ื แผ ่ ใจเมตตากรุณา ๗. มำรจู้ กั บทดอกสรอ้ ย ดอกเอยดอกสร้อย ๗ ทกุ บาทบทเรียงรอ้ ยเลิศลา้� ค่า “กาเอ๋ยกาด�า” ด่งั ต�ารา เปยี มนา�้ ใจนักหนาหนอกาด�า กลอนดอกสรอ้ ยมี “เอ๋ย” ในวรรคแรก สัมผสั แทรกสรรคารมช่างคมข�า ครบแปดวรรคจบพจนบ์ ทลา� น�า อย่าลมื ค�าสุดท้ายใหใ้ ชเ้ อย หนา้ เจด็

บทที่ ๑ ดอกสร้อยแสนงาม ๘. บทดอกสร้อยที่ไพเรำะและให้ข้อคิดดีๆนอกจำกบท กำดำ� แลว้ ยงั มีอกี จำ� นวนมำก เชน่ มดแดง แมวเหมยี ว เดก็ นอ้ ย ลองอำ่ นบท นกขมน้ิ เหลอื งออ่ น แลว้ ชว่ ยกนั บอก ควำมดขี องนกขมนิ้ วำ่ เปน็ แบบอยำ่ งในเรอ่ื ง “พำกเพยี รชอบ” คอื ควำมขยนั หมน่ั เพยี รอยำ่ งเหมำะสม อยำ่ งไรบำ้ ง นกขมิน้ เหลืองอ่อน ปักเอย๋ ปักษิน นกขมิน้ เรื่อเรืองเหลืองอ่อน ถงึ เวลาหากนิ ก็บนิ จร ครนั้ สายัณหผ์ ันรอ่ นมานอนรัง ความเคยคุ้นสกุณาอุตสาหะ ไมเ่ ลยละพุ่มไมท้ ี่ใจหวัง เพราะพากเพียรชอบท่ีมีก�าลงั เป็นทต่ี ้งั ตนรอดตลอดเอย (หลวงมลโยธานโุ ยค [นก], ดอกสร้อยสุภาษิต, กระทรวงศึกษาธกิ าร.) ๘ หนา้ แปด

วรรณคดีลา� นา� ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๙. อำ่ นนทิ ำนอสี ปสนกุ นกั หนำ เรอื่ ง กำกบั เหยือกน้ำ� มำ ตดิ ตำมกนั วำ่ กำตวั นดี้ อี ยำ่ งไร แลว้ ลองตงั้ ชอ่ื เรอื่ งใหมใ่ ห้ เหมำะสม กำกบั เหยือกน้ำ� กาตัวหนึง่ รสู้ ึกกระหายน้�ามาก จึงบินออกไป หานา้� มาประทงั ชวี ติ ไปพบเหยอื กน�า้ ใบหน่งึ เหน็ มี น้า� อยู่ รูส้ ึกยินดีมาก แต่พอจะกนิ ก็รวู้ า่ ในเหยอื กมี นา�้ อยู่นอ้ ยเหลอื เกนิ กาพยายามผลักเหยือกจะให้ เอยี งล้มลง เพอื่ จะได้กนิ นา�้ แตเ่ หยือกหนักเกินไป จนผลกั ไม่ไหว ในทีส่ ดุ กค็ ิดขนึ้ ได้ จึงใช้ปากคาบหนิ ก้อนเลก็ ๆ ใส่ลงไปในเหยอื กทีละกอ้ นๆ ทา� ให้ระดบั นา�้ สูงขึน้ จนสามารถกนิ น�้าไดด้ ังท่หี วัง (นิทานอสี ป ฉบับโครงการนวัตกรรมสือ่ การเรยี นรู้ภาษาไทย, กระทรวงศึกษาธกิ าร.) หนา้ เกา้ 9

บทที่ ๑ ดอกสร้อยแสนงาม ๑๐. บอกไดห้ รอื ไม ่ ภำพตอ่ ไปนต้ี รงกบั สำ� นวนเกยี่ วกบั นก ในขอ้ ใด ใครตอบไดถ้ กู ตอ้ งและรวดเรว็ ทสี่ ดุ เปน็ ผชู้ นะ ๑) ก. นกปีกหกั ๒) ข. นกมีหู หนมู ปี ีก ๓) ค. สงสารลูกนกลูกกา ๔) ง. นกสองหวั ๕) จ. เสียงนกเสียงกา ๖) ฉ. ปล่อยนก ปล่อยกา ๗) ช. ยงิ ปนื นดั เดยี ว ไดน้ กสองตวั ๘) ซ. นกน้อยทา� รังแตพ่ อตวั ๙) ฌ. ชนี้ กเปน็ นก ช้ีไมเ้ ป็นไม้ 10 หน้าสบิ

วรรณคดีลา� น�า ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ กลุม้ ค�าศัพท์ เกลอื่ น รุมกนั เขา้ ไป มักใช้ซ้อนกับค�าว่า แชเชือน รุม เป็น กลุ้มรุม และค�าว่า รุม ตน้ ไทร มกั ใชซ้ อ้ นกบั คา� วา่ ลอ้ ม เปน็ รมุ ลอ้ ม กระจัดกระจายอยู่ทว่ั ไป ชักชา้ , เถลไถล (อ่านว่า ต้น - ไซ) ชือ่ ไมย้ ืนตน้ ขนาดใหญ่ ใบหนาทึบ ตน้ ไทรมหี ลายชนดิ บางชนดิ มรี ากหอ้ ยย้อยออกมาจากกงิ่ ตน้ โพ ชอ่ื ไมย้ นื ตน้ ขนาดใหญ ่ มใี บรปู หวั ใจ ปลายใบเรียวยาวคล้ายหาง นยิ มปลกู ในวดั ทา� นองเสนาะ (อา่ นวา่ ทา� - นอง - สะ - เหนาะ) วิธีการออกเสียงอย่างไพเราะตาม ลลี าของรอ้ ยกรองแตล่ ะชนดิ หน้าสบิ เอ็ด 11

บทที่ ๑ ดอกสร้อยแสนงำม ธรรมชาต ิ (อ่านว่า ท�า - มะ - ชาด) ความเปน ไปเปน อยตู่ ามปกตธิ รรมดา ของสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ เชน่ ธรรมชาตขิ อง นก ธรรมชาตขิ องคน ธรรมชาตขิ อง ปา ไม ้ เปน ตน้ นกขมิน้ (อ่านว่า นก - ขะ - ม่ิน) ชอื่ นก มีหลายชนดิ หลายส ี แตท่ ่ี คนไทยรู้จักดีคือนกขมิ้นสีเหลือง อ่อนๆ นกขนุ ทอง ชอื่ นกในวงศเ ดยี วกบั นกเอยี้ ง ขนสี ดา� เลอื่ มเปน มนั ทปี่ ก มขี นสขี าวแซม ปากสีแสด ขาและตีนสีเหลืองจัด ร้องเลียนเสียงคนหรือเสียงอ่ืนๆ บางอยา่ งได้ ปรบมอื ใช้ฝามือสองข้างตบกันหลายๆครั้ง เพ่ือแสดงความพอใจหรือยนิ ดี เผ่ือแผ ่ เอ้ือเฟ้อื 1๒ หน้ำสบิ สอง

วรรณคดลี �ำนำ� ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ พร้อมพรัก รวมอยพู่ รอ้ มหนา้ กัน วรรค (อ่านว่า วัก) ตอนหนงึ่ ๆ ของคา� ทเ่ี ขยี นตอ่ เนอื่ งกนั เหยอื่ ในท่ีนี้หมายถึง อาหารที่หามาได้ เหยอื ก ภาชนะใสน่ า�้ มขี นาดใหญแ่ ละสงู กวา่ ถว้ ย มหี ูจับขา้ งเดียว อาร ี มาจาก โอบออ้ มอาร ี หมายถงึ มีน้า� ใจเอ้อื เฟื้อเผ่อื แผ่ อุตสาหะ (อา่ นวา่ อุด - สา - หะ) บากบ่นั , อดทน, ไมย่ ่อทอ้ หนำ้ สบิ สำม 13

òº··èÕ ¹·Ô Ò¹ÍÒ‹ ¹ãËÁ‹

บทท่ี ๒ นิทานอา่ นใหม่ น่คี อื เรื่องของเกง่ ใหญก่ บั เกง่ เล็ก และเพอื่ นๆ ของเขา เก่งใหญ่เป็นเด็กชายตัวใหญ่ เก่งเล็กเป็น เด็กชายตัวเล็ก ทั้งสองชอบเล่นสนุกกับเพื่อนๆ เกง่ ใหญช่ อบเลน่ ไลล่ า่ เกง่ เลก็ ชอบเลน่ ซอ่ นหา เกง่ ใหญ่คิดวา่ เขาเก่งกว่า จึงไม่อยากคบหากับ เก่งเลก็ เกง่ ใหญอ่ ยากเปน็ ผยู้ งิ่ ใหญ่ อยากมเี พอ่ื นมาก เวลาจะท�าส่งิ ใด กอ็ ยากให้ใครๆ มาช่วยท�า 16 หน้าสบิ หก

วรรณคดีล�านา� ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เกง่ เลก็ อยากเปน็ เพ่ือนกบั เกง่ ใหญ่ แต่ตอ้ ง เสยี ใจเพราะเกง่ ใหญไ่ มช่ อบเกง่ เลก็ เกง่ ใหญบ่ อก วา่ “ฉันเปน็ คนตวั ใหญ่ ฉนั ไมอ่ ยากเปน็ เพื่อน กบั คนตัวเล็ก เธอชอบเลน่ แบบเดก็ ๆ แต่ฉนั ชอบ เล่นแบบผใู้ หญ่” เก่งเลก็ นง่ั รอ้ งไห้ คิดวา่ ตัวเองไมน่ า่ สนใจ เกง่ ใหญจ่ งึ ไมอ่ ยากเปน็ เพอ่ื น คณุ ครใู จดเี ดนิ ผา่ นมา เหน็ เกง่ เลก็ จึงถามวา่ “ทา� ไมไม่ไปเลน่ กับเพ่ือน” เกง่ เลก็ บอกวา่ “ผมเปน็ คนตวั เลก็ ไมม่ คี ่า ไม่มีใครอยากคบหาเปน็ เพ่อื นครบั ” คุณครใู จดีเรยี กเด็กๆ มารวมกนั ท่ีใตต้ น้ ไม้ ใบหนา และบอกว่า “ครจู ะเล่านทิ านใหฟ้ งั ” เกง่ ใหญถ่ ามวา่ “วนั น้ี คณุ ครจู ะเลา่ เรอื่ งอะไร ครับ” คณุ ครใู จดบี อกวา่ “ครจู ะเลา่ นทิ านอสี ป เรอื่ ง ราชสหี ์กบั หน”ู เด็กๆ ว่งิ กรกู นั มาน่ังลอ้ มหน้าล้อมหลงั ตั้งใจ คอยฟงั นทิ านจากคุณครู หน้าสิบเจ็ด 17

บทท่ี ๒ นิทานอ่านใหม่ ราชสหี ์กบั หนู ราชสหี ต์ วั หนง่ึ นอนหลบั อยใู่ ตต้ น้ ไม้ ในเวลา นน้ั หนตู ัวหนงึ่ ขน้ึ ไต่ขา้ มตวั ราชสหี ์ ราชสหี ร์ สู้ กึ ตัว ตน่ื ขนึ้ กระโดดตะครบุ เอาหนูตัวนน้ั ไวไ้ ด้ ราชสหี ์ นกึ โกรธ จะขยา้� หนตู วั นน้ั เสยี หนจู งึ รอ้ งวงิ วอนวา่ “ข้าพเจา้ ขอชีวติ ไวส้ กั คร้ังหนึง่ เถิด อยา่ เพอ่ ฆา่ ข้าพเจา้ เสยี เลย ถ้าท่านปล่อยข้าพเจ้าไป ข้าพเจา้ จะมลิ ืมคุณของท่านเลย” 18 หน้าสบิ แปด

วรรณคดีลา� นา� ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ ราชสีห์หวั รอ่ แลว้ วา่ “ตวั เอง็ เล็กเท่าน้ี เอ็งจะ มาตอบแทนคณุ เราอยา่ งไรได้” วา่ แล้วก็ปล่อย หนไู ป อยมู่ ามชิ า้ มนิ าน ราชสหี ต์ วั นนั้ ไปตดิ บว่ งแรว้ ทน่ี ายพรานเขาดักไว้ จะดิ้นรนเทา่ ไรกไ็ ม่หลุด ราชสีหส์ น้ิ ปญั ญา ลงร้องครวญครางกอ้ งไปทัง้ ป่า ฝา่ ยหนูตัวนัน้ ได้ยินเสียงราชสีห์ร้องจ�าได้ จงึ วิง่ มาปนี ขึน้ ไปบนคันแร้ว เอาฟันแทะเชือกขาด ให้ ราชสีห์หลุดรอดพ้นจากความตายไปได้ หนจู งึ รอ้ งไปแกร่ าชสหี ว์ า่ “แตเ่ ดมิ ท่านก็หัวร่อเยาะข้าพเจ้าว่าเอ็งตัวเล็ก เพยี งเท่าน้ี จะแทนคุณท่านอยา่ งไร ได้ มาบดั นี้ ขา้ พเจ้ากไ็ ด้แทนคุณ ของท่านซ่ึงเป็นสัตว์ใหญ่และมี กา� ลงั มาก ใหเ้ หน็ ประจกั ษแ์ กต่ า ท่านอยเู่ องแล้ว” (มหาอ�ามาตยโ์ ท พระยาเมธาธบิ ดี [สาตร สุทธเสถยี ร], นิทานอีสป, กระทรวงศกึ ษาธิการ.) หน้าสบิ เก้า 19

บทที่ ๒ นิทานอา่ นใหม่ คุณครใู จดีเลา่ นิทานจบแล้ว เดก็ ๆ ยงั ไม่ลกุ ไปไหน บางคนนัง่ ยมิ้ พอใจ บางคนนั่งคิดไปตาม นทิ าน คุณครูใจดีอธิบายเพิ่มเติมวา่ “นิทานเร่อื ง ราชสีห์กบั หนู มาจากนิทานของอสี ป อีสปเปน็ นกั เลา่ นทิ านผยู้ งิ่ ใหญ่ นทิ านของอสี ปมคี ตสิ อนใจ ให้ขอ้ คิด ให้เราใชป้ ญั ญา ฟังนิทานเร่ือง ราชสหี ์ กบั หนู แลว้ ลองคดิ ดวู า่ เธอไดข้ อ้ คดิ อะไร” เดก็ ๆ ช่วยกันคิด ชว่ ยกันใชป้ ัญญา เกง่ เลก็ กค็ ดิ เกง่ ใหญ่ก็คดิ ทกุ คนต่างคิด เกง่ ใหญห่ นั มา สะกดิ บอกเกง่ เลก็ วา่ “ฉันคิดไดแ้ ล้ว” เกง่ เล็กถามเกง่ ใหญว่ า่ “เธอคดิ อะไร” เก่งใหญ่พูดว่า “เรามาเปน็ เพ่อื นกันดไี หม” เกง่ เลก็ ย้ิมดีใจ เก่งใหญ่ยอมเปน็ เพื่อนกบั เขาแล้ว คณุ ครใู จดยี มิ้ ชอบใจ ถามเดก็ ๆ วา่ “เธอรไู้ หม วา่ เกง่ ใหญ่คิดอะไรได้แลว้ ” 20 หน้าย่ีสบิ

วรรณคดีล�านา� ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ชวนรอ้ ง เลน่ เรียน อ่าน เขยี น คดิ ๑. อา่ นนทิ านอสี ปเรอื่ ง ราชสีหก์ ับหน ู แลว้ มาเลน่ เปน็ ราชสหี ก์ บั หนกู นั ดกี วา่ ทกุ คนลองทา� ทา่ ทางตอ่ ไปน้ี ราชสีหน์ อนหลบั หนูไตข่ ้ามตัวราชสีห์ ราชสหี ์รู้สึกตัวต่นื ข้นึ ราชสหี ก์ ระโดดตะครบุ หนู ราชสหี น์ ึกโกรธ ราชสหี จ์ ะขย�า้ หนู หนวู ิงวอนขอชวี ติ ราชสหี ์หัวรอ่ ราชสหี ์ติดบ่วงแร้ว ราชสหี ์ดิ้นรน ราชสหี ์สน้ิ ปญั ญา ราชสหี ร์ ้องครวญคราง หนแู ทะเชือกขาด หน้าย่ีสิบเอ็ด 21

บทท่ี ๒ นิทานอา่ นใหม่ ๒. เดก็ ๆ คดิ วา่ เพราะเหตใุ ดราชสหี จ์ งึ ยอมปลอ่ ยหนแู ละ ท�าไมหนูจึงมาชว่ ยราชสีห์ ๓. การกระท�าของราชสหี ก์ บั หนู แสดงให้เหน็ นิสัยของ สตั ว์ทงั้ สองอย่างไร ๔. ชว่ ยกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ เพราะเหตใุ ดคณุ ครใู จดี จงึ เลา่ นทิ านเรอ่ื ง ราชสหี ก์ บั หน ู ใหเ้ ดก็ ๆฟงั แลว้ ลองเขียน เปรยี บเทยี บความเหมือนและต่างของเก่งใหญ่กับเกง่ เล็ก และราชสหี ก์ บั หนู ๕. คา� มีเลอื กสรรใช้ จดจา� ไว้เป็นความรู้ คล้องจองลองอ่านดู หลายลลี าให้อารมณ์ ค�าเกย่ี วกบั ความโกรธ โกรธ “ราชสีห์นกึ โกรธ จะขย�้าหนตู วั นัน้ เสยี ” ราชสหี ์ โกรธหนู ดูสนิ ่นั มาไต่ขา้ มตัวฉนั เกดิ โทโส เจา้ ป่าเคือง ขุน่ ขอ้ ง พาลพาโล น่าโมโห ข้ึงเคียด ขยา้� กิน 22 หนา้ ย่สี บิ สอง

วรรณคดลี า� น�า ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ ค�าเกย่ี วกับการพดู วงิ วอน “หนจู งึ รอ้ งวงิ วอนวา่ ขา้ พเจา้ ขอชวี ติ ไวส้ กั ครง้ั หนง่ึ เถดิ ” ขอวอนขอไหว้ ผใู้ จเมตตา เอน็ ดกู รุณา โปรดไว้ชวี ิต วงิ วอนเจ้าป่า ปรานีสกั นิด ประทับจับจติ รู้คิดร้คู ุณ คา� เกย่ี วกบั การส่งเสียงและเลยี นเสียง ครวญคราง “ราชสีหส์ ้นิ ปัญญา ลงรอ้ งครวญครางกอ้ งไป ทง้ั ป่า” ราชสีห์ครวญครางฟ้าครนื คร่นั เปร้ยี ง เปรย้ี ง ดังสนั่นเสียงฟา้ ผ่า หนรู ้องดัง จด๊ี จ๊ีด รีบวงิ่ มา แทะเชือกขาดช่วยเจา้ ป่าพ้นบว่ งพราน หวั ร่อ “แต่เดิมท่านก็หัวร่อเยาะข้าพเจ้าว่าเอ็งตัวเล็ก เพียงเทา่ น้ี จะแทนคุณทา่ นอยา่ งไรได”้ เจ้าปา่ หวั รอ่ หวั เราะ ขบขนั เย้ยเยาะเหยยี ดหยัน หนูนอ้ ยพิสจู น์เหน็ กัน ชว่ ยทันราชสหี ์พ้นภยั หน้ายีส่ ิบสาม 23

บทท่ี ๒ นทิ านอ่านใหม่ ๖. ชวนหนูๆ มารู้จักหนู เร่ืองของ “หนู” หนูเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มี ความฉลาด มีฟันแทะคู่หน่ึงด้านหน้า ส�าหรับแทะอาหารและส่ิงต่างๆ หนู ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว ปรับตัวเข้ากับ สงิ่ แวดล้อมงา่ ย เคลอื่ นไหวเร็วและหลบซ่อนตัวเกง่ หนมู หี ลายชนดิ เชน่ หนนู า หนพู กุ มกั พบตามเรอื กสวนไรน่ า ใชห้ ญา้ ทา� รงั คอยกดั กนิ พชื ผล หนบู า้ นชอบปนี ปา่ ย อาศัยตามหลังคาบ้านเรือน ยุ้งฉาง ในชมุ ชน หนทู ่อพบตามตลาดสด ทอ่ ระบายนา�้ และใตถ้ นุ บา้ น หนูหริ่งเป็นหนขู นาดเลก็ พบทว่ั ไป ตามไรถ่ วั่ ไรข่ า้ วโพด สว่ น หนตู ะเภา มขี นาดอว้ นปอ้ ม มักใชใ้ นการทดลองทางการแพทย์ หนชู อบกดั แทะพชื ไรแ่ ละข้าวของ ทัง้ ยังเป็นพาหะนา� โรค 24 หน้ายสี่ บิ ส่ี

วรรณคดีล�าน�า ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๗. สา� นวนและค�าเก่ยี วกับ “หน”ู “แมวไม่อยู่ หนรู ่าเริง” ออกเหลิงเลน่ เกิด “ปชี วด” แลเห็นเปน็ “ปีหนู” “หนูตดิ จนั่ ” จนปญั ญาเกนิ จะรู้ “นกมหี ู หนมู ีปีก” หลีกหา่ งไกล ชว่ ยกนั คดิ อธบิ ายคา� และสา� นวนในบทกลอน แลว้ นกึ คา� และสา� นวนเกย่ี วกับหนเู พ่ิมเตมิ ๘. นิทานคอื อะไร ใครชอบนิทานบา้ ง มาคยุ กนั นทิ านเป็นเร่อื งเลา่ เด็กอยา่ งเราชอบนิทาน สั้นสนั้ สนกุ สนาน “กาลครั้งหน่งึ ” แสนสขุ สันต์ ทกุ ชาตทิ กุ ภาษา แต่งต่อมาเนน่ิ นานครนั ความจรงิ บวกความฝนั แฝงขอ้ คิดติดตรึงใจ เทวดาคนพชื สัตว์ สารพดั พดู กนั ได้ อา่ นฟังจติ แจ่มใส ฝึกคดิ แตง่ แขง่ เลา่ นทิ าน หนา้ ยสี่ บิ หา้ 25

ขงึ้ เคยี ด บทที่ ๒ นิทานอ่านใหม่ โทโส นายพราน ค�าศัพท์ บว่ งแร้ว โกรธอยา่ งชิงชงั พาหะ ความโกรธ, ความฉุนเฉียว ผมู้ อี าชพี ลา่ สตั ว์ เปน็ ผชู้ า� นาญปา่ เพอ่ บว่ งสา� หรับดกั สตั ว์ ประกอบดว้ ย ยงุ้ ฉาง เชอื กท่ที า� เปน็ วงส�าหรบั คล้อง รูด เขา้ ออกได้ ผูกติดกบั คันแรว้ ซึง่ ปัก ไวท้ ีด่ ิน ตัวนา� , คนหรอื สตั วซ์ ึ่งไม่มีอาการ ของโรคตดิ ตอ่ ปรากฏ แตเ่ ชอ้ื โรค นน้ั อยใู่ นรา่ งกาย และอาจตดิ ตอ่ ถงึ ผอู้ นื่ ได้ คอื พงึ่ หรอื เพง่ิ มกั ใชป้ ระกอบคา� วา่ อยา่ เป็น อยา่ เพอ่ อยา่ พงึ่ อยา่ เพง่ิ สง่ิ ปลกู สรา้ งสา� หรบั เกบ็ ขา้ วเปลอื ก ข้าวโพด เป็นตน้ 26 หนา้ ยี่สิบหก

วรรณคดลี า� น�า ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เยาะ พูดหรือแสดงกิริยาให้ผู้อ่ืนเจ็บใจ ช้�าใจ โดยเฉพาะเมื่อผนู้ ้ันด้อยกวา่ เสียเปรียบ หรือทา� ผดิ พลาด ราชสีห์ พญาสงิ โต สัตว์ในนิยายถอื ว่า มีความดรุ า้ ยและมกี �าลังมาก เรอื กสวนไรน่ า ท่ีสวน ไร่ และนา หัวรอ่ เปลง่ เสยี งแสดงความขบขนั ดใี จ ชอบใจ มักใชว้ า่ หวั เราะ หนา้ ยีส่ บิ เจ็ด 27

óº··èÕ Ãè×¹ÃÊÊ¡Ñ ÇÒ

บทที่ ๓ รื่นรสสกั วา บา้ นของลงุ ตลบั อยทู่ า้ ยตลาด มลี า� คลองเลก็ ๆ ไหลผา่ น ลงุ ตลบั เคยพดู กบั เดก็ ๆ อยา่ งตดิ ตลกวา่ เดิมทลี ุงอยู่ตล่งิ ชนั ทเ่ี รียก ตล่ิงชนั เพราะล�าคลอง ทีน่ นั่ มตี ลงิ่ สงู ชัน วนั หน่งึ ลงุ ตลบั ตกจากตลง่ิ ลงไปในคลอง ถูก จระเขต้ วั หนง่ึ ไลจ่ นตอ้ งหนเี ตลดิ มาอยทู่ น่ี ่ี ทกุ วนั นี้ ก็ยังเข็ดขยาดอยู่ไมห่ าย 30 หนา้ สามสบิ

วรรณคดีล�านา� ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ลุงตลับสานตะกรา้ และกระบุง ขายให้พอ่ คา้ ในตลาด เดก็ ๆ ชอบลุงตลับ เพราะ เปน็ คนตลก ลงุ ตลบั ยังร้องเพลงได้ไพเราะน่าฟัง เพลงทรี่ อ้ งกช็ วนตลก และเปน็ เพลงแปลกๆ ทเ่ี ดก็ ๆ ไม่เคยได้ยินมาก่อน ลงุ ตลบั บอกวา่ ชอบรอ้ งเพลงลา� ตดั เพลงฉอ่ ย เพลงอแี ซว บางทีลุงตลับกร็ อ้ งสักวาใหเ้ ดก็ ๆ ฟัง “ลงุ จะร้องสักวาเพราะๆ ใหฟ้ งั เอาไหม” ลงุ ตลับพูด “สักวานเ่ี ปน็ อย่างไรหรอื ครับลงุ ” เด็กชาย อกี คนสงสัย “ผมไม่เคย ร้จู กั มากอ่ น” “งนั้ หนกู ล็ องฟงั ด ู ลงุ จะรอ้ งใหฟ้ งั เดย๋ี วนแี้ หละ” พดู จบ ลงุ ตลบั กข็ ยบั ตวั ตรง แลว้ เรม่ิ รอ้ งสกั วา ใหเ้ ดก็ ๆ ฟงั หน้าสามสิบเอ็ด 31

บทท่ี ๓ รน่ื รสสกั วา สกั วาหวานอื่นมหี ม่ืนแสน ไมเ่ หมอื นแมน้ พจมานทหี่ วานหอม กลน่ิ ประเทยี บเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะนอ้ มจิตโนม้ ดว้ ยโลมลม แม้ลอ้ ลามหยามหยาบไมป่ ลาบปลม้ื ดงั ดดู ดื่มบอระเพด็ ต้องเขด็ ขม ผู้ดีไพรไ่ มป่ ระกอบชอบอารมณ์ ใครฟังลมเมินหนา้ ระอาเอย (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดนิ ทรไพศาลโสภณ) บทอาขยาน บทเลือก 32 หนา้ สามสิบสอง

วรรณคดลี า� น�า ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เสยี งรอ้ งสักวาของลุงตลับ ช่างสดใสไพเราะ และได้จงั หวะ พวกเดก็ ๆพากนั ตงั้ ใจฟัง สกั วาท่ี ลุงตลบั รอ้ งใหฟ้ งั นน้ั ไมต่ ลก แตม่ คี วามหมายชวน ใหค้ ิด “เปน็ อยา่ งไร ทา� ไมเงียบกนั ไปหมด” ลุงตลบั ถามอย่างแปลกใจ “ฟงั ไมร่ ู้เรื่องกันเลยหรือ” “กร็ บู้ า้ งครับ” เด็กชายคนหนึ่งบอก “แตม่ ี บางค�าไมค่ อ่ ยเข้าใจ” “ลงุ กว็ า่ อยา่ งนนั้ แหละ” ลงุ ตลบั พยกั หนา้ หงกึ ๆ หนา้ สามสิบสาม 33

บทท่ี ๓ รื่นรสสักวา “บทสกั วาน้เี ปน็ บทรอ้ งของเก่า คนแต่กอ่ น เขาลอยเรือรอ้ งโต้ตอบกนั เวลามงี านรน่ื เริง เรื่อง ทีน่ �ามารอ้ งก็แตง่ เด๋ียวนั้น แตท่ ุกวนั นส้ี ่วนใหญ ่ ไม่ค่อยมใี ครร้องสกั วากนั แล้ว อยา่ งวา่ น่ันแหละ หนูเอย๊ คนทุกวนั นสี้ ่วนใหญเ่ ขาสนใจเพลงใหม่ๆ เลยลมื ของเกา่ กนั ไปหมด วา่ แตห่ นๆู ชอบไหมละ่ ” “ชอบคะ่ ” เด็กหญงิ คนหน่ึงรบี ตอบ “ลงุ ชว่ ย สอนใหห้ นรู ้องบา้ งสิคะ” “ได้ส ิ จะเป็นไรไป” ลงุ ตลับรีบตอบ “และ หนรู ้ไู หม สักวาท่ลี ุงร้องเมอ่ื สักครู่ เขาพดู ถึงเรอ่ื ง อะไร” เดก็ ๆ พากนั คดิ อยพู่ กั หน่ึง แล้วก็มีเสียงใครคนหนึ่งบอก วา่ “เรื่องการพดู ของคนเราครบั เขาบอกวา่ ถ้าพูดจาไพเราะก็มี คนชอบ แตพ่ ดู ค�าหยาบ ใครๆ ก็ ไมช่ อบ” 34 หนา้ สามสบิ สี่

วรรณคดีลา� นา� ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ “เก่งมากเจ้าตัวน้อย” ลงุ ตลบั ชมอย่างพอใจ “เห็นไหมว่าการพูดจาของคนเราน่ะส�าคัญมาก เวลาจะพดู จะคยุ กบั ใคร ใหน้ กึ ถงึ สกั วาบทนไ้ี วน้ ะ” พดู จบ ลงุ ตลับกข็ ยับตัวอีกครง้ั บอกให้เด็กๆ ลอ้ มวงเขา้ มาใกลๆ้ แลว้ เรมิ่ สอนให้ทุกคนร้องบท สกั วาพรอ้ มกัน หน้าสามสิบห้า 3๕

บทที่ ๓ รน่ื รสสักวา ลงุ ตลบั รอ้ งนา� ดว้ ยเสยี งทดี่ งั กวา่ เดมิ กอ่ นท่ี พวกเด็กๆ จะร้องตาม เสยี งดงั ไม่แพ้กนั สกั วาหวานอน่ื มีหม่ืนแสน ไม่เหมือนแมน้ พจมานท่ีหวานหอม... บา่ ยวนั นั้น ถา้ ใครเดนิ ผา่ นบา้ นของลงุ ตลบั ทท่ี า้ ยตลาด กค็ งแปลกใจ ทเ่ี ห็นเด็กๆ นง่ั รมุ ล้อม ลุงตลับ แล้วพากันรอ้ งสักวาเสียงดงั ไปทั้งย่าน ตลาด 36 หนา้ สามสิบหก

วรรณคดีล�านา� ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ชวนรอ้ ง เล่น เรยี น อ่าน เขียน คิด ๑. อา่ นบทสกั วาตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคา� ถามวา่ ขอ้ ใดถกู หรอื ผดิ สกั วาลงเรือลอ่ งร้องกลอนเลน่ ฤดูนา�้ ยามค�า่ เย็นทง้ั ชายหญงิ ร้อยเรียงกลอนโตต้ อบชอบใจจริง เบิกบานยง่ิ รอ้ งร�าทา� ดนตรี เทศกาลทอดกฐินทอดผ้าปา่ ภาคกลาง “เล่นสักวา” เปน็ สุขศรี “คนเจ้าบทเจ้ากลอน” ชน่ื ชีวี ทกุ ภาคมี “เพลงพนื้ บา้ น” เลน่ กนั เอย ๑) บทสกั วาขนึ้ ตน้ ดว้ ยคา� วา่ สกั วา ลงทา้ ยดว้ ยคา� วา่ เอย ๒) การเล่นสักวาเป็นการละเล่นพ้ืนบ้านของคนไทย ภาคกลาง นยิ มเล่นกนั ในฤดูนา้� หลาก เทศกาลทอดกฐนิ ทอดผา้ ปา่ ๓) หญงิ ชายที่ตอ้ งการเลน่ สกั วา จะลงเรือล่องไปใน ยามเยน็ ค่�า ร้องบทสกั วาโต้ตอบกัน ๔) การเล่นสักวามีแต่การแต่งบทสักวาและขับร้อง เป็นเพลง โดยไม่มีการร�า และไมม่ ีดนตรีประกอบ ๕) “เพลงพนื้ บา้ น” มกี ารเลน่ กนั ทกุ ภาคของไทย หน้าสามสิบเจ็ด 37

บทที่ ๓ ร่ืนรสสักวา ๒. ฝกึ อา่ น บทสกั วาหวานอน่ื มหี มน่ื แสน เปน็ ทา� นองเสนาะ ๓. อ่านเรือ่ งและบทสกั วาแล้วชว่ ยกันตอบคา� ถาม ๑) เหตใุ ดจงึ เรยี กลงุ ตลบั วา่ เปน็ “คนเจา้ บทเจา้ กลอน” ๒) บทสกั วาหวานอน่ื มหี มน่ื แสน นกั เรยี นชอบวรรคใด มากทีส่ ุด เพราะเหตใุ ด ๓) บทสักวาเปรียบการพูดของคนเรากับอะไรบ้าง ท�าไมจึงเปรยี บเชน่ นั้น ๔) นักเรียนเคยดูหรือฟังเพลงพื้นบ้านประเภทอ่ืน นอกจากสกั วา หรือไม ่ ลองบอกมาสัก ๑ เพลง ๔. รจู้ กั ค�า ๑) บ อกรส เปร้ียว หวาน มนั เค็ม อะไรมรี สชาติเช่นนั้น ๒) บอกกลิ่น หอม เหม็น ฉุน คาว อะไรมกี ลิน่ เช่นนัน้ 38 หนา้ สามสิบแปด

วรรณคดีล�าน�า ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๕. อา่ นตวั อย่าง และคิดเปรียบเทียบเพม่ิ เตมิ เบาเหมือนนนุ่ _______เหมอื น_________ สวยราวนางฟ้า _________ราว__________ ว่งิ เรว็ ดังลมพัด __________ดงั __________ ๖. ชวนอา่ น ชวนรอ้ ง ๑) อา่ นส�านวนเกี่ยวกบั การพูด ปากกลา้ หมายความวา่ พดู ไมเ่ กรงกลัวใคร ปากเบา หมายความวา่ พดู ไดเ้ รว็ ,พดู โดยไมย่ ง้ั คดิ ปากเปลา่ หมายความวา่ พดู โดยไม่ดตู วั หนังสอื ปากโป้ง หมายความวา่ ชอบพูดเปดเผยสิ่งท่ี ไมส่ มควรเปดเผย ปากหวาน หมายความว่า พูดจาไพเราะออ่ นหวาน แต่อาจไมจ่ ริงใจ หนา้ สามสบิ เกา้ 3๙

บทท่ี ๓ รนื่ รสสักวา ๒) มารอ้ งเพลง เยน็ เยน็ เกย่ี วกบั การใชค้ า� พดู ดกี วา่ แล้วท�าทา่ ทางไปดว้ ย เพลง เยน็ เย็น เยน็ เย็น เย็นลมรม่ เยน็ เยน็ น�า้ เยอื กเยน็ นก่ี ระไร เยน็ เยน็ เย็นเสยี งไพเราะ รอ้ งเพลงเพราะเพราะแจ่มใส เยน็ เย็น เยน็ คา� เธอขาน ชา่ งออ่ นหวานจบั ใจ (ฉันท ์ ขา� วไิ ล, หนังสอื บทขบั รอ้ ง เลม่ ๓.) ๓) อ่านบทกลอนเกี่ยวกบั การพดู เปน็ มนษุ ยส์ ุดนิยมเพียงลมปาก จะไดย้ ากโหยหวิ เพราะชวิ หา แมน้ พดู ดีมคี นเขาเมตตา จะพดู จาจงพิเคราะหใ์ หเ้ หมาะความ (สภุ าษิตสอนหญงิ .) อันอ้อยตาลหวานลนิ้ แลว้ สิน้ ซาก แต่ลมปากหวานหไู มร่ ู้หาย แม้นเจ็บอื่นหม่ืนแสนจะแคลนคลาย เจบ็ จนตายนน้ั เพราะเหนบ็ ให้เจบ็ ใจ (สุนทรภ,ู่ เพลงยาวถวายโอวาท.) 40 หนา้ สส่ี ิบ

วรรณคดีล�านา� ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๔) อ่านบทสกั วาเพ่มิ เติม สกั วาดาวจระเข้ก็เหหก ศีรษะตกหันหางข้ึนกลางหาว เป็นวนั แรมแจม่ แจ้งดว้ ยแสงดาว น�้าคา้ งพราวปรายโปรยโรยละออง ลมเรื่อยเรือ่ ยเฉ่อื ยฉวิ ตอ้ งผวิ เน้อื ความหนาวเหลอื ทานทนกระมลหมอง สกณุ ากาดุเหว่าก็เร่ารอ้ ง ดแู สงทองจบั ฟ้าขอลาเอย (ของเก่า) ๕) รจู้ กั บอระเพ็ดไหม ลองอ่านขอ้ ความตอ่ ไปนี้ บอระเพด็ บอระเพด็ เปน็ ชอ่ื ไมเ้ ถาชนดิ หนง่ึ เถาออ่ นมผี วิ สเี ขยี วเรยี บ เถาแกม่ สี นี า�้ ตาลอมเขยี ว ผวิ ขรขุ ระเปน็ ตมุ่ ๆ มรี สขมจดั บอระเพด็ ขน้ึ และเกาะอยกู่ บั ตน้ ไมอ้ นื่ มรี ากอากาศคลา้ ยเชอื กเสน้ เลก็ ๆ หอ้ ยลงมาเปน็ สาย ตน้ บอระเพด็ ขนึ้ ในดนิ ทวั่ ไป โดยเฉพาะดนิ รว่ นซยุ ทกุ สว่ นของบอระเพด็ ใชเ้ ปน็ ยารกั ษาโรคตา่ งๆ คนไทยสมัยก่อนใช้ยางจากเถาบอระเพ็ดซึ่งมีรสขมป้าย หวั นมของแมล่ กู ออ่ น เพื่อท�าให้เด็กไม่อยากดูดนมแม่ และ หย่านมไดใ้ นท่สี ุด หน้าส่สี ิบเอด็ 41