การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

 
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่นๆ ที่ไม่ใช่รัฐซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่างๆในโลก

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://www.unigang.com/Article/61

ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือการแลกเปลี่ยน และปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐดังที่กล่าวข้างต้นนั้น อาจมีลักษณะแตกต่างกัน ดังนี้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. ความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจกระทำอย่างเป็นทางการโดยรัฐ หรือโดยตัวแทนที่ชอบธรรมของรัฐ เช่น การประชุมสุดยอด การดำเนินการทางการทูต การแถลงการณ์ประท้วง การยื่นประท้วงต่อองค์การสหประชาชาติ หรืออาจเป็นการกระทำไม่เป็นทางการ เช่น การก่อการร้าย การกระทำจารกรรม การโจมตีประเทศหนึ่งโดยสื่อมวลชนของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งไม่ได้กระทำการในนามของรัฐ เป็นต้น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. ความสัมพันธ์ในลักษณะร่วมมือหรือขัดแย้งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น หากไม่ร่วมมือก็ขัดแย้ง ความสัมพันธ์ในลักษณะขัดแย้ง เช่น สงคราม การแทรกแซงบ่อนทำลาย การขยายจักรวรรดินิยม การผนวกดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง ส่วนความร่วมมือ ได้แก่ การกระชับ ความสัมพันธ์ทางการทูต  การร่วมเป็นพันธมิตร การให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและวัฒนธรรมเป็นต้นอย่างไรก็ตามความสัมพันธ์ต่าง ๆ นี้อาจมีลักษณะผสมผสานกันได้ เช่น บางครั้งรุนแรง บางครั้งนุ่มนวล บางครั้งเป็นทางการ บางครั้งกึ่งทางการ หรือบางครั้งร่วมมือในเรื่องหนึ่งแต่ขัดแย้งในอีกเรื่องหนึ่ง เป็นต้น

ขอบเขตของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีขอบเขตที่ครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. ความสัมพันธ์ทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมข้ามพรมแดนเพื่อมีอิทธิพลหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตลอดจนการตัดสินใจขององค์การหรือรัฐบาลต่างประเทศ เช่น การดำเนินการทางการทูต การทหาร การแสวงหาพันธมิตร การแทรกแซงบ่อนทำลายประเทศอื่น การใช้กำลังบีบบังคับ การกำหนดและดำเนินนโยบายต่างประเทศ เป็นต้น กิจกรรมบางเรื่องอาจไม่เป็นกิจกรรมการเมืองโดยตรง แต่หากมีวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้นก็ถือเป็นกิจกรรมการเมืองเช่นกัน เช่น การแลกเปลี่ยนทีมนักปิงปองระหว่างสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2514 มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองเนื่องจากประเทศทั้งสองต้องการใช้กีฬาเป็นเครื่องมือผ่อนคลายความตึงเครียด และรื้อฟื้นความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ หลังจากเป็นศัตรูกันมาตลอดกิจกรรมเช่นนี้เรียกว่า การเมืองระหว่างประเทศ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมการแลกเปลี่ยนทรัพยากรด้านบริการหรือวัตถุเพื่อตอบสนองความต้องการในการอุปโภคของผู้แลกเปลี่ยน เช่น การซื้อขายสินค้า การให้ทุนกู้ยืม การธนาคาร เป็นต้น เนื่องจากแต่ละประเทศมีทรัพยากรแตกต่างและไม่เท่าเทียมกัน และยังต้องการทรัพยากรของประเทศอื่น เช่น สหรัฐอเมริกามีทรัพยากรน้ำมัน แต่ยังต้องการรักษาน้ำมันสำรองในปัจจุบันจึงซื้อน้ำมันจากประเทศเม็กซิโก และประเทศอาหรับ ความต้องการทรัพยากรซึ่งกันและกันเช่นนี้ทำให้เกิดความสัมพันธ์เพื่อแลกเปลี่ยนทรัพยากร (วัตถุดิบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เกษตรกรรม เทคโนโลยี บริการ ฯลฯ) โดยวิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าโดยการซื้อขายให้แลกเปลี่ยนยืมก็ตาม โดยมีกฎเกณฑ์หรือแนวทางปฏิบัติบางประการทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น การกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร การปิดล้อมทางเศรษฐกิจ การตั้งกำแพงภาษี การกำหนดอัตราหุ้นและดอกเบี้ย เป็นต้น ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจเช่นนี้เรียกว่า เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
3. ความสัมพันธ์ทางสังคม  หมายถึง กิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา การศาสนา วัฒนธรรม การพักผ่อนหย่อนใจ การท่องเที่ยว ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ทางสังคมข้ามขอบเขตพรมแดนของรัฐ เช่น การส่ง ทูตวัฒนธรรมหรือคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในประเทศต่าง ๆ การเผยแพร่ศาสนาโดยตัวแทนทางศาสนาของประเทศอื่น การเผยแพร่ศิลปะของประเทศหนึ่งในประเทศอื่น เป็นต้น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
4. ความสัมพันธ์ทางกฎหมาย เมื่อมีการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ข้ามเขตพรมแดนของรัฐมากขึ้น เพื่อให้กิจกรรมดังกล่าวดำเนินไปโดยเรียบร้อยและมีระเบียบแบบแผน ประเทศต่าง ๆ จึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบ หรือแนวทางปฏิบัติที่แต่ละประเทศพึงยึดถือปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ขึ้นกฎเกณฑ์หรือระเบียบนี้อาจปรากฏในรูปข้อตกลงลายลักษณ์อักษร ซึ่งมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เป็นต้นว่า สนธิสัญญา อนุสัญญา กติกาสัญญากฎบัตร 
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ความตกลง ฯลฯ หรืออาจเป็นความเข้าใจกันซึ่งแต่ละฝ่ายยึดถือปฏิบัติโดยไม่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้ ซึ่งเรียกว่า กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตามกฎระเบียบที่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณีต่างเรียกว่า กฎหมายระหว่างประเทศทั้งสิ้น โดยมีวัตถุประสงค์ให้รัฐ หรือตัวแสดงอื่น ๆ ระหว่างประเทศได้ประพฤติปฏิบัติตนตามกติกาเพื่อความเข้าใจอันดีระหว่างกัน และเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคมโลก ซึ่งครอบคลุมความสัมพันธ์ด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการเมือง เช่น สนธิสัญญาทางพันธมิตร สนธิสัญญาทางไมตรี กฎบัตร สหประชาชาติ ด้านเศรษฐกิจ เช่น สนธิสัญญาจัดตั้งกองทุนระหว่างประเทศ ข้อตกลงเรื่องการค้าและพิกัดภาษีด้านสังคม เช่น สิทธิมนุษยชน  การแลกเปลี่ยนทางการศึกษาและวัฒนธรรม ด้านเทคโนโลยี เช่น ความตกลงเรื่องการค้นคว้าในอวกาศ เป็นต้น
            5. ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ประเภทนี้มุ่งให้มีการแลกเปลี่ยนพัฒนาความรู้และความช่วยเหลือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น มีการร่วมมือกันค้นคว้าทดลองและวิจัยในบริเวณทวีปแอนตาร์กติกา การร่วมมือกันระหว่างนักวิทยาศาสตร์หลายประเทศ เพื่อกำจัดโรคภัยไข้เจ็บสำคัญ เช่น โรคมะเร็ง การร่วมมือกันส่งเสริมพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การให้รางวัลระหว่างประเทศ จัดการประชุมสัมมนาระหว่างประเทศ เป็นต้น

ผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่มีต่อด้านต่าง ๆ ดังนี้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. ผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อสังคมโลก รัฐ ประชาชนและผู้นำของประเทศความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะมีมากน้อยเพียงใดนั้น อาจพิจารณาได้ว่าความสัมพันธ์ดังนี้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1.1 ด้านสังคมโลก ปัจจุบันสังคมโลกเป็นที่รวมของกลุ่มสังคมที่เรียกว่า รัฐ มีระบบและกระบวนการดำเนินความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เช่น ระบบการเมืองระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างชาติมหาอำนาจมีผลกระทบกระเทือนความสัมพันธ์ทางการเมืองของมหาอำนาจอื่น และกลุ่มประเทศอื่น ๆ ด้วยตัวอย่างเช่น การที่จีนแยกตัวจากสหภาพโซเวียตและดำเนินนโยบายทางการเมืองที่เป็นอิสระ และต่อมาได้คบค้าทำไมตรีกับสหรัฐอเมริกาย่อมมีผลทำให้โลกซึ่งเคยถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม มีสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเป็นผู้นำได้เปลี่ยนแปลงไปในส่วนที่เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจก็เช่นกัน เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำขึ้น โดยเริ่มต้นจากกลุ่มประเทศยุโรป ก็มีผลให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก หรือเมื่อค่าของเงินสกุลใหญ่ ๆ เช่น เงินดอลลาร์ตก ก็มีผลกระทบกระเทือนเศรษฐกิจของโลกตามไปด้วย
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1.2 ด้านรัฐ นอกเหนือจากผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งกระทบต่อสังคมโลกและสะท้อนถึงรัฐแต่ละรัฐแล้ว รัฐยังเป็นผู้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและสัมพันธ์กับตนโดยตรงอีกด้วย ตัวอย่างเช่น การตัดสินใจดำเนินนโยบายต่างประเทศของอภิมหาอำนาจย่อมมีผลต่อการตัดสินใจของรัฐที่สังกัดกลุ่มของอภิมหาอำนาจนั้น ดังกรณีที่ประเทศพันธมิตรของสหภาพโซเวียตหลายประเทศตัดสินใจไม่เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่สหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1984 หลังจากที่สหภาพโซเวียตประกาศไม่เข้าร่วมแข่งขันกีฬาดังกล่าว ผลต่อรัฐนี้โดยทั่วไปจะเกิดมากในสถานการณ์ซึ่งรัฐอยู่ร่วมในสมาคม กลุ่มโอลิมปิก หรือในสถานการณ์ซึ่งรัฐอยู่ใกล้เหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบอาณาบริเวณใกล้เคียง ดังกรณีที่ประเทศไทยได้รับผลจากการสู้รบในกัมพูชา จนต้องแบกภาระผู้ลี้ภัยจากอินโดจีนจำนวนมาก และได้รับภัยจากการรุกล้ำดินแดนของฝ่ายเวียดนาม เป็นต้น ผลที่เกิดต่อรัฐอาจเป็นได้ทั้งในแง่ความมั่นคง ระบบโครงสร้างและกระบวนการทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมภายในรัฐ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1.3 ด้านประชาชน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งกระทบกระเทือนรัฐย่อมมีผลต่อประชาชนด้วย ผลดังกล่าวนี้ย่อมมีแตกต่างกันไป คือ อาจกระทบคนบางกลุ่มบางเหล่า หรือกระทบประชาชนโดยส่วนรวมทั้งโดยทางตรง หรือโดยทางอ้อมก็ได้ ตัวอย่างกรณีสงครามในกัมพูชานั้น ประชาชนไทยที่ได้รับความกระทบกระเทือนก็คือ พวกที่อยู่ตามบริเวณชายแดนไทยกัมพูชา เช่น ในจังหวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ ส่วนประชาชนที่อยู่ห่างไกลออกไปได้รับผลน้อยลง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1.4 ด้านผู้นำของประเทศ การเปลี่ยนแปลงภายนอกประเทศ หรือเหตุการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจมีผลต่อภาวะผู้นำภายในประเทศด้วย และอาจมีการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลที่ปกครองประเทศก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรณีที่มีการแทรกแซงจากต่างประเทศ ดังตัวอย่างกรณีที่นาย โงดินห์ เดียม ต้องถูกโค่นล้มอำนาจและถูกสังหาร เนื่องจากสหรัฐอเมริกาเลิกให้ความสนับสนุน หรือกรณีที่มีการตั้งรัฐบาลหุ่นและผู้นำหุ่นโดยประเทศผู้รุกราน (เช่น รัฐบาลหุ่นในแมนจูเรียสมัยที่ญี่ปุ่นเข้ารุกรานก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือรัฐบาลกัมพูชาของนายเฮง สัมริน เป็นต้น)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. ลักษณะของผลที่เกิดขึ้นต่อบุคคลและกลุ่มสังคมทั้งภายในและระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีความสำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์และสังคมมนุษย์ ในหลายลักษณะ ดังนี้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2.1 ด้านความมั่นคงของชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยเฉพาะทางด้านการเมืองและการทหาร ส่งผลถึงความมั่นคงปลอดภัย เอกราชและอำนาจอธิปไตยของชาติตลอดจนเสถียรภาพทางการเมืองและบูรณภาพแห่งดินแดนของแต่ละชาติ ดังจะเห็นได้ว่าสงครามระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นรูปหนึ่งของความสัมพันธ์ที่เกิดข้ามเขตพรมแดนของรัฐ การแทรกแซงบ่อนทำลายโดยบุคคล หรือกลุ่มบุคคลซึ่งได้รับการสนับสนุนจากต่างประเทศ ตลอดจนการใช้หรือการข่มขู่คุกคามว่าจะใช้กำลังโดยยังไม่ถึงขั้นสงคราม ล้วนเป็นเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนความมั่นคงของชาติทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น การผนวกดินแดน แลตเวีย ลิทัวเนีย และเอสโธเนีย โดยสหภาพโซเวียตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หรือการที่ รัฐซิมบับเว ถูกแทรกแซงโดยประเทศแอฟริกาใต้ เป็นต้น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2.2 ด้านความปลอดภัยและการกินดีอยู่ดีของประชาชน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจมีผลทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมต่อความปลอดภัย และชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในแต่ละประเทศ กล่าวคือ นอกเหนือจากผลต่อความมั่นคงของประเทศซึ่งย่อมกระทบกระเทือนชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนอยู่แล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยังอาจกระทบต่อความปลอดภัย และการกินดีอยู่ดีของประชาชนโดยยังไม่กระทบความมั่นคงของประเทศโดยตรงก็ได้ ตัวอย่างเช่น กรณีที่สายการบินเกาหลีใต้ถูกเครื่องบินสหภาพโซเวียต
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ยิงตก หรือกรณีที่ผู้ก่อการร้ายกระทำการรุนแรงในประเทศอื่น จนมีผลให้ประชาชนได้รับอันตราย เป็นต้น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2.3 ด้านการพัฒนา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจมีผลต่อความพยายามของรัฐและประชาชนในการเปลี่ยนแปลงฐานะทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคนิควิทยาการของตนด้วย การเปลี่ยนแปลงฐานะดังกล่าวนี้ คือ การพัฒนานั่นเอง การพัฒนาการเมืองมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเมืองไปสู่ระบบการเมืองที่มีเสถียรภาพ เปลี่ยนไปโดยสันติ และรองรับการกระทบกระเทือนจากภายนอกได้ด้วยดี การพัฒนาทางเศรษฐกิจมุ่งให้มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตและแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลประโยชน์ตอบแทนต่อประชาชนและรัฐได้ดีขึ้น การพัฒนาทางสังคมมุ่งให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และความสัมพันธ์ทางสังคมในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น ปราศจากการขัดแย้งรุนแรง และการพัฒนาทางเทคนิควิทยาการมุ่งให้มีการยกระดับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ความพยายามให้เกิดการพัฒนานี้ส่วนหนึ่งได้รับผลจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วย
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
จะเห็นได้ว่า การพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ในปัจจุบันนี้โดยเฉพาะใน ประเทศที่กำลังพัฒนา  ทั้งหลาย ล้วนได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจภายนอกประเทศ รวมทั้งนโยบายต่างประเทศของประเทศที่มีฐานะดีทางเศรษฐกิจและการทหาร ตัวอย่างเช่น หน่วยงานขององค์การสหประชาชาติและประเทศที่มีฐานะดีมีส่วนในการช่วยเหลือบูรณะพัฒนาประเทศที่ยากจน และกำลังพัฒนาทั้งหลาย เช่นโดยการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน การลงทุน การให้คำปรึกษาหารือทางวิชาการหรือการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรสำคัญในประเทศเหล่านี้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
โดยสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีผลต่อความสงบเรียบร้อย การกินดีอยู่ดีและการพัฒนาของประชาชน รัฐ และสังคมโลกทั้งโดยตรงและโดยอ้อมจึงนับว่ามีความสำคัญ มีคุณค่าควรแก่การสนใจติดตามทำความเข้าใจทั้งโดยนักวิชาการ ผู้กำหนดนโยบายและประชาชนโดยทั่วไป

การดำเนินด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ประเทศไทยได้มีการร่วมมือแลกเปลี่ยนและสร้างความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศต่างๆทั่วโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการประสานประโยชน์ร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในรูปแบบต่างๆ เช่นการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศ เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การด้านความร่วมมือต่างๆเป็นต้น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://www.ais5.org/krusopit/civilian%20functions%20page/UN.php

องค์การสหประชาชาติ (The United Nation:UN)

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

วัตถุประสงค์หลักที่สำคัญ มีดังนี้

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. เพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่างประชาชาติ โดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิอันชอบธรรม
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
3. เพื่อให้บรรลุความร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม มนุษยธรรม และส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย์ โดยไม่เลือกปฏิบัติในเรื่อง เชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
4. เพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับการประสานงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกันในอันที่จะบรรลุจุดหมายปลายทางร่วมกัน
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
บทบาทสำคัญของสหประชาชาติ เช่นการรักษาสันติภาพ ส่งเสริมประชาธิปไตย
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน พัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้าระดับโลก ให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา อนุรักษ์และบูรณะสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรมเป็นต้น

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://www.surin.rmuti.ac.th/surin/asean/temp.php

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
วัตถุประสงค์ที่สำคัญของอาเซียน
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
เพื่อเร่งรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรมของภูมิภาค ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาคตามหลักการสหประชาชาติ ส่งเสริม ร่วมมือ และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องผลประโยชนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ การบริหารอย่างจริงจัง

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://afta2011.blogspot.com/

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
วัตถุประสงค์ของ อาฟตา  เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนขยายตัวเร็วขึ้น มีอัตราภาษีต่ำเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศสู่ภูมิภาคอาเซียนรวมทั้งเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางการค้าของโลกที่เปลี่ยนไป ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของไทย เพราะทำให้ไทยมีตลาดการค้าเพิ่มขึ้น

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
เอเปกมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นเวทีสำหรับให้สมาชิกปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกันทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมให้การค้าการลงทุนเป็นไปอย่างเสรีและขจัดอุปสรรคทางการค้าต่างๆ การเป็นสมาชิกของเอเปก ทำให้ไทยมีโอกาสขยายการค้าและการลงทุนในกลุ่มประเทศสมาชิกซึ่งเป็นตลาดใหญ่มากยิ่งขึ้น

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/องค์การการค้าโลก

            องค์การค้าโลก (World Trade Organization: WTO)

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ทำหน้าที่กำหนดกฎ กติกาการค้าระหว่างประเทศ เป็นเวทีสำหรับใช้เจราจาลดอุปสรรคและข้อกีดกันทางการค้า เพื่อส่งเสริมให้การค้าระหว่างประเทศเป็นไปโดยเสรีมากขึ้น โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรมตามหลักการไม่เลือกปฏิบัติ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การที่ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การค้าโลกมีข้อดี คือ ทำให้สินค้าสำคัญของไทย โดยเฉพาะสินค้าทางเกษตร อาหารแปรรูป สิ่งทอและเสื้อผ้า ถูกกีดกันทางการค้าน้อยลง การคิดอัตราภาษีนำเข้า ในแต่ละประเทศเป็นระบบเดียวกัน และในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ต้องเปิดเสรีกับประเทศอื่นๆ ได้ส่งสินค้าเข้ามาในประเทศเช่นกัน รวมทั้งไทยต้องปรับปรุงมาตรฐานการผลิตสินค้าและบริการให้เป็นไปตามหลักสากลมากขึ้น เช่นสินค้าต้องไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่มีสารเคมีเจือปน ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
  การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอย่างเป็นธรรม โดยเฉพาะในหมวดที่ 3 ว่าด้วยเรื่องสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามมาตรา 83(3) และหมวดที่ 12 ว่าด้วยเรื่องการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
อำนาจรัฐโดยทั่วไปหมายถึง อำนาจที่บุคคลที่ดำรงตำแหน่งหน้าที่ตามกฎหมายสามารถกระทำหรือสั่งการให้กระทำหรืองดเว้นการกระทำใดๆ ได้ ตามที่กฎหมายกำหนด
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การใช้อำนาจรัฐจำเป็นต้องมีกลไกคอยตรวจสอบ เพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำที่ทำให้ประชาชนสูญเสียหรือไม่ได้รับผลประโยชน์ที่ควรได้ ทั้งนั้นเพื่อรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติที่สำคัญ ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เพื่อเป็นเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามมิให้ผู้ใช้อำนาจนั้นกระทำการ โดยทุจริตและมิชอบ โดยแบ่งการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://tontpd.freehomepage.com/page/w18.php

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การตรวจสอบอำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
องค์การอิสระตามรัฐธรรมนูญที่มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการแผ่นดิน
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1315999797&grpid=no&catid=no

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ผู้ตรวจราชการแผ่นดิน มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนนำความร้องทุกข์ที่ตนได้รับความไม่เป็นธรรมจากาการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ ที่เป็นผู้ใช้อำนาจรัฐมาร้องเรียนได้ ไม่ว่าการกระทำนั้นจะเป็นการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่โดยชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ตาม หากการกระทำนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ชอบธรรม ผู้ตรวจราชการแผ่นดินมีหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบและเสนอให้แก้ไข โดยทำการเสนอไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบ แต่หากหน่วยงานนั้นไม่ปฏิบัติ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ก็ไม่มีอำนาจสั่งการใดๆ นอกจากมีอำนาจในการทำรายงานเสนอต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่ควบคุมกำกับดูแลหน่วยงานที่ใช้อำนาจรัฐนั้น และทำรายงานต่อไปยัง รัฐสภา  และพิมพ์เผยแพร่ให้สาธารณชนทราบ โดยประชาชนที่ได้รับความทุกข์หรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ สามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงานผู้ตรวจราชการแผ่นดิน หรือโทรศัพท์ไปที่ สายด่วน 1676
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ผู้ตรวจราชการแผ่นดินมีหน้าที่ในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐดังนี้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. พิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามคำเรียกร้องของบุคคล หรือคณะบุคคลในกรณีที่บุคลากรของรัฐไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัตินอกเหนืออำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย รวมทั้งตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญและองค์กรตามกระบวนการยุติธรรม
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. ดำเนินเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
3. ติดตาม ประเมินผล และจัดทำข้อเสนอแนะในการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
รวมทั้งข้อพิจารณาเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็นว่าจำเป็น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
4. รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาในทุกๆปี

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยทำหน้าที่เป็นกลไกหลักในการป้องกัน ตรวจสอบ และปราบปรามการทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ ทั้งนี้หากประชาชนพบเห็นหรือมีเบาะแสการทุจริต หรือกระทำผิดในเรื่องของการใช้อำนาจรัฐของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ สามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือโทรศัพท์สายด่วน 1784
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นเสนอต่อวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐออกเจ้าตำแหน่ง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นส่งไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงทางการเมืองเกี่ยวกับคดีอาญา กับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
3. ไต่สวนและวินิจฉัยเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำการผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือหน้าที่ในการยุติธรรม ดำเนินการต่อไป ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
4. ตรวจสอบความถูกต้องและมีอยู่จริงรวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สิน และหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐตามบัญชีและเอกสารประกอบที่ได้ยื่นไว้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
5. กำกับดูแลคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
6. รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมทั้งข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และ วุฒิสภา ทุกปี
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
7. ดำเนินการอื่นๆตามที่กฎหมายกำหนด

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ที่มา : http://www.oag.go.th/News/OrderOAG/Order08.jsp

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน(ค.ต.ง.) มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งหมายถึงการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน หรือเรียกว่างบประมาณแผ่นดินที่รัฐบาลเป็นผู้จ่ายตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณในแต่ละปีผ่านส่วนราชการต่างๆ ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐอื่นๆว่า ได้ใช้จ่ายไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบทางการเงินที่มีอยู่หรือไม่ ตลอดจนตรวจสอบความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพในการจ่ายเงินอีกด้านหนึ่ง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางนโยบาย การให้คำปรึกษาและคำแนะนำให้การแก้ไขข้อบกพร่องเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาในเรื่องวินัยทางงบประมาณและการคลัง การกำหนดโทษปรับทางปกครอง การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางงบประมาณและการคลังในฐานะที่เป็นองค์กรสูงสุด การพิจารณาเลือกผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินและอำนาจอื่นๆตามกฎหมาย

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
 การตรวจสอบอำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ในหมวด 12 ประกอบด้วย การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง   การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
1. บัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
บัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินเป็นมาตรการสำคัญประการหนึ่งในการตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ระดับสูง ทั้งนี้เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังในการใช้อำนาจหน้าที่ไม่ให้เกิดการคอร์รัปชัน
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมืองอื่นๆ(เช่นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี) ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น
            เจ้าหน้าที่ของรัฐระดับสูง ได้แก่ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจราชการแผ่นดิน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน รองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลปกครองสูงสุด หัวหน้าศาลตุลาการรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาในศาลฎีกา ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด รองอัยการสูงสุด และผู้ดำรงตำแหน่งระดับอื่นๆตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
บุคคลดังกล่าวข้างตนนี้ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้มีหน้าที่ยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการป้องกันและปรามปราบการทุจริตแห่งชาติทุกครั้งที่เข้ารับตำแหน่งหรือพ้นตำแหน่ง
2. การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้ระบุว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ต้องไม่ดำรงตำแหน่งใดๆ ในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ  หรือข้าราชการส่วนท้องถิ่น ตลอดจนจะต้องไม่ใช้สถานะหรือตำแหน่งทางการเมืองเข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อผลประโยชน์ของตน หรือพรรคการเมือง ไม่ว่าจะโดยตรงหรือทางอ้อม เพื่อเป็นการป้องกันมิให้ผู้ดำรงตำแหน่งเหล่านี้มีผลประโยชน์ทับซ้อนทางการเมือง เป็นการทำให้การเมืองโปร่งใสมากขึ้น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ทั้งนี้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ หรือส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือส่อว่ากระทำผิดต่อหน้าที่ราชการ หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง วุฒิสภามีอำนาจจะถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้
3. การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งเป็นวิธีการหนึ่งในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยจะตรวจสอบพฤติกรรมของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงว่า สมควรที่จะดำรงตำแหน่งต่อไปหรือไม่หากบุคคลดังกล่าวมีพฤติกรรม ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ หรือส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือส่อว่ากระทำผิดต่อหน้าที่ราชการ หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง วุฒิสภามีอำนาจจะถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้
            ผู้มีสิทธิเข้าชื่อให้ดำเนินการถอดถอนออกจากตำแหน่ง มีดังนี้
            1. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
            2. สมาชิกวุฒิสภา เข้าชื่อกันไปน้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสมาชิก
            3. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 20,000 คน
ขั้นตอนการดำเนินการถอดถอน
            เมื่อได้รับคำร้องแล้ว ประธานวุฒิสภาส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดำเนินการไต่สวน หลังจากที่ไต่สวนเสร็จแล้วให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติลงมติข้อกล่าวหาว่ามีมูลหรือไม่ หากมีมูลประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติจะส่งรายงาน และเอกสารที่มีอยู่พร้อมความเห็นไปยังประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภาประชุมพิจารณาคดีดังกล่าว จากนั้นสมาชิกวุฒิสภาจะทำการลงคะแนนลับ ซึ่งมติที่ใช้ในการถอดถอนให้ถือเอาคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
ผู้ที่ถูกถอดถอน จะถูกตัดสิทธิในการดำรงตำแหน่งทางการเมือง 5 ปี นับจากวันที่วุฒิสภามีมติถอดถอน
การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยใช้มาตรการการดำเนินคดีอาญา
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
กับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนั้น กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. บุคคลที่ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรงได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และข้าราชการการเมืองอื่นๆ รวมทั้งผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นตามที่กฎหมายกำหนดในเฉพาะกรณีที่มีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. บุคคลที่ไม่ใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรง ได้แก่ บุคคลธรรมดา ซึ่งเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนในการกระทำผิดอาญา
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
3. กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

ข้อกล่าวหา

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. ร่ำรวยผิดปกติ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. กระทำผิดต้อหน้าที่ราชการตามประมวลกำหมายอาญา
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
3. กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกำหมายอื่น

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การดำเนินการฟ้องร้อง

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
1. ผู้เสียหายในความผิดดังกล่าว ยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
2. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นส่งไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จะยึดถือสำนวนของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นหลัก แต่อาจไต่สวนข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร และมีอำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลมาให้ถอยคำตลอดจนขอให้ศาลอื่น พนักงานสอบสวน หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการท้องถิ่นดำเนินการเพื่อผลประโยชน์แห่งการพิจารณา

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร
การพิพากษาให้ถือเสียงข้างมากขององค์คณะโดยจะต้องเปิดเผยคำสั่งและคำพิพากษา และคำสั่งหรือคำพิพากษาจะถือว่าเป็นที่สุด ไม่มีการอุทธรณ์ใดๆ อีก

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความจำเป็นต่อเราหรือไม่อย่างไร