เฉลย งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น หน่วยที่ 1

อา้ งองิ จาก Kentucky Department of Education, 1998 “How to Develop a Standard-Based Unit of Study” p3.

19 สุดยอดคู่มือครู

สงวน ิลข ิสท ์ธิ สำ� ันกพิมพ์ บ ิร ัษท ัพฒนาคุณภาพ ิวชาการ (พว.) จำ�กัด การประเมินตามสภาพจริงเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งส�ำหรับการวัดและการประเมินผล ซ่ึงเข้ามามีบทบาททดแทน
แบบทดสอบมาตรฐานซึ่งส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบเลือกตอบที่ไม่สามารถวัดและประเมินผลความรู้และทักษะได้ ลักษณะ
ส�ำคญั ของการประเมินตามสภาพจริงมีองคป์ ระกอบส�ำคญั ดงั นี้
1. เป็นงานปฏิบัติที่มีความหมาย (Meaningful Task) งานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติต้องเป็นงานท่ีสอดคล้องกับชีวิต
ประจ�ำวัน เป็นเหตกุ ารณ์จริงมากกวา่ กจิ กรรมทจ่ี �ำลองขึ้นเพ่ือใช้ในการทดสอบ
2. เป็นการประเมินรอบด้านด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย (Multiple Assessment) เป็นการประเมินผู้เรียนทุกด้าน
ทั้งความรู้ ความสามารถ และทกั ษะ ตลอดจนคณุ ลักษณะนสิ ยั โดยใชเ้ ครอื่ งมือท่เี หมาะสมสอดคลอ้ งกับวิธีแหง่ การเรียนรู้
และพฒั นาการของผูเ้ รยี น เน้นให้ผูเ้ รียนตอบสนองด้วยการแสดงออก สร้างสรรค์ ผลิต หรอื ท�ำงาน ในการประเมินของผสู้ อน
จึงตอ้ งประเมินหลายๆ ครง้ั ดว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลายและเหมาะสม เนน้ การลงมือปฏบิ ตั มิ ากกวา่ การประเมินดา้ นองคค์ วามรู้
3. ผลผลิตมีคุณภาพ (Quality Products) ผู้เรียนจะมีการประเมินตนเองตลอดเวลาและพยายามแก้ไขจุดด้อย
ของตนเอง จนกระท่ังได้ผลงานทผ่ี ลติ ขน้ึ อยา่ งมีคุณภาพ ผู้เรยี นเกดิ ความพงึ พอใจในผลงานของตนเอง มีการแสดงผลงาน
ของผู้เรียนต่อสาธารณชนเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้อ่ืนได้เรียนรู้และชื่นชม จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผู้เรียนมีโอกาส
เลือกปฏิบัติงานได้ตามความพึงพอใจ นอกจากน้ียังจ�ำเป็นต้องมีมาตรฐานของงานหรือสภาพความส�ำเร็จของงานท่ีเกิดจาก
การก�ำหนดร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เรียน และอาจรวมถึงผู้ปกครองด้วย มาตรฐานหรือสภาพความส�ำเร็จดังกล่าวจะเป็น
สิง่ ทชี่ ่วยบง่ บอกว่างานของผูเ้ รยี นมีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ใด
4. ใช้ความคิดระดับสูง (Higher-Order Thinking) ในการประเมินตามสภาพจริง ผู้สอนต้องพยายามให ้
ผู้เรียนแสดงออกหรอื ผลติ ผลงานข้นึ มา ซึ่งเปน็ ผลงานทเ่ี กิดจากการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ทางเลอื ก ลงมือกระท�ำ
ตลอดจนการใชท้ ักษะการแกป้ ัญหาเมอื่ พบปญั หาที่เกดิ ขน้ึ ซึง่ ตอ้ งใช้ความสามารถในการคิดระดบั สงู
5. มีปฏิบัติสัมพันธ์ทางบวก (Positive Interaction) ผู้เรียนต้องไม่รู้สึกเครียดหรือเบ่ือหน่ายต่อการประเมิน
ผู้สอน ผู้ปกครองและผูเ้ รียนต้องมคี วามรว่ มมอื ทดี่ ตี อ่ กันในการประเมนิ และการใช้ผลการประเมินแกไ้ ขปรับปรุงผเู้ รยี น
6. งานและมาตรฐานต้องชัดเจน (Clear Tasks and Standard) งานและกิจกรรมที่จะให้ผู้เรียนปฏิบัติ
มขี อบเขตชดั เจน สอดคล้องกบั จดุ หมายหรือสภาพที่คาดหวังความต้องการทใี่ ห้เกดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว
7. มีการสะท้อนตนเอง (Self-Reflections) ต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น
หรอื เหตผุ ลตอ่ การแสดงออก การกระท�ำหรอื ผลงานของตนเองวา่ ท�ำไมถงึ ปฏิบตั ิหรอื ไม่ปฏบิ ัติ ท�ำไมถงึ ชอบและไม่ชอบ
8. มีความสัมพันธ์กับชีวิตจริง (Transfer into Life) ปัญหาท่ีเป็นส่ิงเร้าให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต้องเป็นปัญหา
ที่สอดคล้องกับชีวิตประจ�ำวัน พฤติกรรมที่ประเมินต้องเป็นพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนจริงในชีวิตประจ�ำวันท้ังท่ีโรงเรียนและที่บ้าน
ดงั น้ันผปู้ กครองและผเู้ รยี นจงึ นับวา่ มบี ทบาทเป็นอยา่ งย่ิงในการประเมนิ ตามสภาพจริง
9. เป็นการประเมินอย่างต่อเน่ือง (Ongoing or Formative) ต้องประเมินผู้เรียนอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลาและ
ทุกสถานท่อี ย่างไมเ่ ป็นทางการ ซึ่งจะท�ำให้เหน็ พฤตกิ รรมที่แทจ้ รงิ เหน็ พฒั นาการ คน้ พบจดุ เด่นและจุดดอ้ ยของผู้เรียน
10. เป็นการบูรณาการความรู้ (Integration of Knowledge) งานท่ีให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัตินั้น ควรเป็นงานท่ีต้อง
ใช้ความรู้ ความสามารถ และทักษะท่ีเกิดจากการเรียนรู้ในหลายสาขาวิชา ลักษณะส�ำคัญดังกล่าวจะช่วยแก้ไขจุดอ่อนของ
การจัดการเรียนรู้และการประเมินผลแบบเดิมท่ีพยายามแยกย่อยจุดประสงค์ออกเป็นส่วนๆ และประเมินผลเป็นเรื่องๆ
ดังนั้นผู้เรียนจึงขาดโอกาสที่จะบูรณาการความรู้และทักษะจากวิชาต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานหรือแก้ปัญหาท่ีพบ ซึ่ง
สอดคล้องกับชีวิตประจ�ำวันหรือปัญหาน้ันต้องใส่ความรู้ ความสามารถ และทักษะจากหลายๆ วิชามาช่วยในการท�ำงาน
หรอื แกไ้ ขปัญหา

สุดยอดคู่มือครู 20

สงวน ิลข ิสท ์ธิ สำ� ันกพิมพ์ บ ิร ัษท ัพฒนาคุณภาพ ิวชาการ (พว.) จำ�กัด1.4 คำ� แนะนำ� ในการนำ� คมู่ อื ครไู ปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน

สว่ นประกอบของคู่มือครู
คู่มือครมู ีองคป์ ระกอบส�ำคัญ 3 สว่ น ดังน้ี
สว่ นท่ี 1 กระบวนการจัดการเรียนการสอนส�ำหรบั ครู คอื ส่วนท่นี �ำเสนอในเอกสารฉบบั น้ี ประกอบด้วยสาระส�ำคญั
3 รายการ คือ
1. รูปแบบ เทคนิควิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ คู่มือครูฉบับน้ีน�ำเสนอ “กระบวนการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วย
ดว้ ยกระบวนการเรยี นร้แู บบ GPAS 5 Steps” แต่ละ Steps น�ำเสนอข้ันตอน/วิธดี �ำเนินกจิ กรรมส�ำคญั ทเี่ ปน็ หัวใจส�ำคัญของ
การจัดการเรียนรู้แต่ละข้ันตอนท่ีเน้นการเรียนรู้ตามแนวคิด “ผู้เรียนร่วมกันสร้างความรู้ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์และ
ลงมือปฏิบัติน�ำความรู้ไปใช้ผลิตผลงานและตรวจสอบตนเอง” โดยยึดเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ท่ีก�ำหนดในหนังสือเรียน
เป็นหลัก
แต่ถ้าหนังสือเรียนหน่วยใดมีเน้ือหาสาระท่ีจัดให้เรียนรู้ในหลายความคิดรวบยอดแตกต่างกัน หรือจ�ำนวนหัวเร่ือง
มากจนไมส่ ามารถใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ใหค้ รอบคลมุ หวั เรอ่ื งทัง้ หมดในหนว่ ยนั้นได้ จะจัดด�ำเนนิ การ
ออกแบบการเรียนรู้แยกเป็นเร่ืองๆ 2 หรือ 3 เร่ือง เพ่ือใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ให้จบเน้ือหาน้ันตาม
ความแตกต่างของความคิดรวบยอดหรือหัวข้อเรื่อง แต่จะรวมการประเมินไว้ในหน่วยเดียวกันตามต้นฉบับหนังสือเรียน
เพอื่ ไมใ่ ห้สับสนในการประเมนิ จดุ ประสงคป์ ระจ�ำหน่วยการเรยี นรู้ ดังรายละเอยี ดในเอกสาร
2. การบรู ณาการการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทกุ หนว่ ยการเรยี นรูไ้ ดน้ �ำ เสนอ “การบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นรู้” ไว้ตอ่ จาก
คำ�แนะนำ�ในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ หรือหากเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ถูกแบ่งกลุ่มหัวข้อ
เน้ือหาเป็นหลายเรื่องเพ่ือจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ GPAS 5 Steps แยกจากกัน ก็ให้มีการนำ�เสนอ “การบูรณาการ
กจิ กรรมการเรียนร”ู้ ทกุ หวั ขอ้ เรอื่ ง กิจกรรมบรู ณาการการเรยี นรู้มีหัวขอ้ ส�ำ คญั ดังน้ี
2.1 สมรรถนะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ ความตระหนักรู้ในตน (Personal Spirit) การคิด (Thinking)
การแกป้ ัญหา (Problem Solving) การทำ�งานเป็นทีม (Team) การสอ่ื สาร (Communication) และอ่นื ๆ ซงึ่ จัดบรู ณาการ
เข้าไปในกระบวนการจัดกิจกรรมแต่ละข้ันตอน เช่น การให้ผู้เรียนทำ�งานและเรียนรู้เป็นกลุ่ม ผลัดเปล่ียนกันแบ่งบทบาท
หน้าที่ให้รับผิดชอบในกลุ่มเรียนรู้ร่วมกัน คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และประเมินตนเองซึ่งจัดไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้
ทุกหน่วยการเรียนรแู้ ล้ว
2.2 การเรียนรู้สู่อาเซียน ส่วนใหญ่เน้นไปที่การบูรณาการคำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับเน้ือหาที่กำ�หนดให้ใน
หน่วยการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความรู้ภาษาอังกฤษ และมีเจตคติที่ดีต่อการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็น
ภาษากลางท่ีใช้สื่อสารในกลุ่มประเทศอาเซียนและอาจจัดให้ศึกษาภูมิประเทศ ภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม การปกครอง
และงานอาชพี ของประเทศในอาเซียนในประเด็นที่สอดคล้องกับเนอ้ื หาในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้นั ๆ
2.3 ทักษะชีวิต เป็นการบูรณาการท้ังความรู้ในสาระที่เรียน ทักษะและค่านิยมไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงหรือ
สถานการณ์จ�ำลองในกจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ หรอื ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจ�ำวัน เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ และพฒั นาธรุ กิจ
ให้ประสบความส�ำเรจ็ ไดแ้ ก่ การสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธ์ การรู้จกั ตนเองและเรยี นรู้ผอู้ ่ืน การคดิ แก้ปญั หาและตดั สินใจเชิงบวก
ซง่ึ ชว่ ยพัฒนาด้วยจติ ปัญญาให้ผ้เู รียนเฉพาะส่วนท่ีสอดคล้องกบั เนอ้ื หาในหน่วยการเรียนรู้
2.4 ค่านิยมหลัก 12 ประการ เน้นการปลูกฝังจริยธรรมค่านิยมที่ดีงามตามลักษณะท่ีดีของคนไทย โดยเลือก
มาใช้แต่ละหนว่ ยการเรยี นร้ดู ้วยการให้ผูเ้ รียนไดต้ ระหนกั ถงึ จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทเี่ ลอื กมาก�ำหนดในกระบวนการจัดกิจกรรม

ที่สัมพันธก์ บั เนอื้ หาในหนว่ ยทเี่ รียนและกระบวนการเรียนรูท้ ุกขน้ั ตอน
21 สุดยอดคู่มือครู

สงวน ิลข ิสท ์ธิ สำ� ันกพิมพ์ บ ิร ัษท ัพฒนาคุณภาพ ิวชาการ (พว.) จำ�กัด 2.5 กิจกรรมท้าทาย เป็นกิจกรรมเสริมความถนัด ความสนใจของผู้เรียนที่เพิ่มเติมจากกิจกรรมในบทเรียน
ซ่ึงอาจท�ำเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้ กิจกรรมท้าทายจะเป็นส่วนเติมเต็มความรู้ทักษะของผู้เรียน เสริมสร้างสมรรถนะ
ให้สูงข้ึนต่อเนื่องจากกิจกรรมในบทเรียน ผู้เรียนที่สนใจสามารถใช้เวลานอกบทเรียนปฏิบัติกิจกรรมนี้ด้วยความรับผิดชอบ
ของตน
3. แผนการประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้และสมรรถนะประจำ�หน่วย เป็นส่วนท่ีออกแบบไว้สำ�หรับผู้สอนใช้ใน
การประเมินจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ นแต่ละหน่วยการเรยี นรู้ เนน้ การประเมนิ สภาพจรงิ (Authentic Assessment) โดยน�ำ เอา
ภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรียนที่ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ตามข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้แบบ
GPAS 5 Steps ท่ีสอดคล้องสัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยมากำ�หนดระดับคุณภาพ
หรือคะแนนในภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผู้เรียนแต่ละเร่ืองตามท่ีออกแบบไว้เพ่ือสรุปผลการประเมินใน
หน่วยการเรียนรนู้ ั้น ดงั น้ี
3.1 ภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผู้เรียนระหว่างเรียน ได้แก่ ภาระงานในการสังเกต รวบรวมข้อมูล
(G: Gathering) การวิเคราะห์ข้อมูลสรุปความรู้ความเข้าใจ (P: Processing และ A: Applying and Constructing
Knowledge) การน�ำ เสนอผลการนำ�ไปใช้และสรปุ ความรคู้ วามเข้าใจ (A: Applying the Communication Skill) ทีเ่ กิดขน้ึ
ในระหว่างปฏบิ ตั ิกิจกรรมในแต่ละขัน้ ตอน ส่วนใหญเ่ ปน็ การประเมินเชิงคณุ ภาพจัดระดับคุณภาพไว้ 4 ระดบั คือ ดมี าก (4)
ดี (3) พอใช้ (2) และต้องปรับปรุง (1) และอาจให้ค่านํ้าหนักแต่ละรายการคิดเป็นคะแนน ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับผู้สอนจะพิจารณา
เพมิ่ เติมใหเ้ หมาะสมกับบริบทของการจัดการเรียนรู้
3.2 ภาระงาน/ช้ินงานรวบยอดเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ อยู่ในข้ันการประเมินตนเองเพื่อเพ่ิมคุณค่าบริการสังคม
และจิตสาธารณะ (Self: Regulating) ได้แก่ คะแนนจากผลการปฏิบัติกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ คะแนนจากผล
การปฏิบัติกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ คะแนนจากผลการประเมินตนเอง และคะแนนจากแบบทดสอบ (ศึกษาเอกสาร
ในเล่มประกอบ)
ส่วนที่ 2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ระดับหน่วยการเรียนรู้ ในส่วนน้ีได้น�ำกระบวนการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับผู้สอน
ในส่วนที่ 1 มาขยายให้เห็นรายละเอียดในวิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจนมากข้ึน โดยประยุกต์ใช้แนวทางการออกแบบ
การเรยี นร้แู บบ Backward Design ของ Grant Wiggins and Jay McTighe ก�ำหนดไว้ 3 ขัน้ ตอน ได้แก่
ข้ันท่ี 1 ก�ำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน (Stage 1-Desired Results) ในการออกแบบการเรียนรู้ระดับ
หนว่ ยการเรยี นรใู้ นทีน่ ไี้ ดก้ �ำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนเปน็ เปา้ หมายยอ่ ยๆ ไวด้ งั นี้
1. ความคดิ รวบยอด/ความเข้าใจท่คี งทน
2. สาระการเรยี นรู้
3. สมรรถนะประจ�ำหน่วย
4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ข้นั ที่ 2 ก�ำหนดหลักฐานรอ่ งรอยภาระงาน/ชน้ิ งาน/การแสดงออกของผ้เู รยี นส�ำหรับการประเมนิ (Stage 2-Assessment
Evidence) ในทีน่ ้ไี ด้ก�ำหนดสาระส�ำคัญในการประเมนิ ผล ไดแ้ ก่
1. วิธีประเมินท่ีสอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ ภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออกของ
ผเู้ รยี น แยกเปน็
ภาระงาน/ช้นิ งานระหว่างเรียน
ภาระงาน/ช้ินงานรวบยอดในหนว่ ยการเรยี นรู้

สุดยอดคู่มือครู 22

สงวน ิลข ิสท ์ธิ สำ� ันกพิมพ์ บ ิร ัษท ัพฒนาคุณภาพ ิวชาการ (พว.) จำ�กัด 2. เกณฑ์ประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้จากภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรียนระหว่างเรียน ก�ำหนดเป็น
ระดับคุณภาพ 4 ระดับ ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น มีค�ำอธิบายเกณฑ์การประเมินแต่ละระดับทุกจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้
ผ้ปู ระเมินสามารถประเมนิ ได้เทีย่ งตรงสอดคล้องกับความเปน็ จริง ไดน้ �ำเสนอไวใ้ นหนว่ ยการเรยี นร้ทู ุกหนว่ ยอย่างละเอียด
ข้ันท่ี 3 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ (Stage 3-Learning Plan) ในท่ีนี้ได้กำ�หนดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้น
ทกั ษะการคิด การปฏิบัติจรงิ ท่ผี ู้เรียนเปน็ ผสู้ รา้ งความรู้ ใชค้ วามรู้ผลิตผลงาน ดว้ ยกระบวนการ GPAS 5 Steps ดังนี้
Step 1 Gathering (ข้นั รวบรวมข้อมลู )
Step 2 Processing (ขน้ั คิดวิเคราะห์และสรุปความรู)้
Step 3 Applying and Constructing the Knowledge (ข้นั ปฏิบัติและสรปุ ความรู้หลังการปฏบิ ัติ)
Step 4 Applying the Communication Skill (ขัน้ สอื่ สารและน�ำเสนอ)
Step 5 Self–Regulating (ข้นั ประเมินเพอ่ื เพ่ิมคณุ ค่าบรกิ ารสังคมและจติ สาธารณะ)
รายละเอียดน�ำเสนอใน CD ทีใ่ ชค้ ู่กับเอกสารฉบบั น้ี
ส่วนท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ได้จัดทำ�เป็นแผนรายช่ัวโมงที่แสดงรายละเอียดการดำ�เนินกิจกรรมแต่ละข้ันตอน
ตาม GPAS 5 Steps ให้ชัดเจนมากขึ้น ผู้สอนสามารถปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของผู้เรียนและห้องเรียนแต่ละแห่งใน
แต่ละโอกาส ในแผนการจดั การเรียนรู้ได้นำ�เสนอรายละเอยี ด ดังนี้
1. สาระส�ำคญั ของเร่อื งหรอื เน้ือหาทเี่ รียน
2. ค�ำถามที่ผู้สอนใช้ถามผู้เรียนเพ่ือกระตุ้นให้แสวงหาข้อมูล ค�ำตอบ หรือข้อสรุปด้วยตนเองในแต่ละขั้นตอน
ในช่ัวโมงสอน
3. แบบบันทึกผังกราฟิก (Graphic Organizers) ที่ให้ผู้เรียนน�ำไปใช้ในข้ันตอนต่างๆ ของการจัดการเรียนรู้ตาม
กระบวนการเรียนรูแ้ บบ GPAS 5 Steps เช่น ผังกราฟิกในการสังเกตรวบรวมและบนั ทกึ ข้อมูล ผงั กราฟิกการวิเคราะหข์ ้อมูล
และสรปุ ความรใู้ นรูปแบบตา่ งๆ เป็นตน้
4. สื่ออุปกรณ์และแหลง่ เรียนรสู้ �ำหรับผ้สู อนและผู้เรยี นที่จะหาความรเู้ พ่มิ เตมิ ในเนือ้ หาแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้
5. กิจรรมเสนอแนะส�ำหรับผสู้ อนเสริมความร้แู ละทักษะให้กับผู้เรียนท่ีมีจดุ เด่นทจี่ ะเรยี นรใู้ ห้เต็มตามศักยภาพ
6. บันทึกหลังสอนส�ำหรับผู้สอนประเมินการจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผน เป็นแบบบันทึกการประเมินเชิงระบบ
ประกอบด้วยหวั ขอ้ ส�ำคญั คือ
ความพรอ้ มกอ่ นด�ำเนินกจิ กรรม (สอื่ วสั ดุอุปกรณ์ การเข้าชนั้ เรยี น พืน้ ฐานความรู้เดมิ ของผูเ้ รียน)
บรรยากาศการเรยี นรู้ (ความสนใจ ปฏสิ มั พันธใ์ นหอ้ ง ความราบรืน่ ในการด�ำเนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอน)
ผลการเรียนรู้ (จ�ำนวนผู้เรียนท่ีมีผลงานระหว่างเรียนและผลการประเมินบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละระดับ
ผเู้ รียนท่เี ปน็ ผู้น�ำ ผู้เรียนทต่ี ้องใหค้ วามสนใจเพ่ิมเติม)
แนวทางการพัฒนาในครงั้ ต่อไป (สง่ิ ทต่ี ้องยุติ สงิ่ ทนี่ �ำมาใชต้ ่อ สงิ่ ที่ต้องปรบั ปรงุ เพิม่ เติม)
รายละเอียดน�ำเสนอใน CD ทใี่ ชค้ กู่ ับเอกสารฉบับน้ี

หมายเหตุ : สว่ นที่ 2 และส่วนท่ี 3 ทางส�ำนักพิมพ์ บรษิ ัทพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จ�ำกดั ได้จดั ท�ำเป็นไฟลเ์ อกสาร Word
บันทึกลงในแผ่น CD ผู้สอนสามารถคัดลอก ดัดแปลง หรือปรับเปลี่ยนรายละเอียดเพื่อน�ำไปใช้ใน
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ตรงตามความต้องการ ความพร้อม
และความสนใจของผเู้ รียนแต่ละคนหรือแตล่ ะห้องเรยี น

23 สุดยอดคู่มือครู

สงวน ิลข ิสท ์ธิ สำ� ันกพิมพ์ บ ิร ัษท ัพฒนาคุณภาพ ิวชาการ (พว.) จำ�กัดพัฒนาความ น�ำ ขอ้ มลู มาจำ�แนก สรา้ งความรู้ขั้นสงู คือ คิดออกแบบ
สามารถในการ จดั กลุ่ม วเิ คราะห์ ความรู้ระดับคณุ ธรรม หลายๆ แบบ
เก็บขอ้ มลู พิสจู น์ ทดลอง จริยธรรม โดยใหน้ ำ� เพือ่ สรา้ ง
รวบรวมขอ้ มูลจาก วิจัย ใหเ้ หน็ ล�ำ ดับ ผลการคิดของตนเอง ทางเลอื กหรือ
การฟัง การอ่าน ความส�ำ คญั และ มาไตรต่ รองว่าวธิ คี ิด เพือ่ หาวิธี
การดูงาน การส�ำ รวจ ความสมั พันธ์ ดงั กลา่ วจะนำ�ไป หลายๆ วิธี
การสมั ภาษณ์ เชื่อมโยง ให้รู้ว่า สู่ผลส�ำ เรจ็ หรือไม่ ทจี่ ะนำ�ความรู้
การไปดูเหตกุ ารณ์ อะไรคอื ปญั หา สง่ ประโยชนถ์ งึ สงั คม ไปปฏิบัติให้
หรอื สถานการณ์ ที่แท้จรงิ อะไรคอื สาธารณะ และ เต็มศกั ยภาพ
ทเี่ กิดขึ้นจริง เพอื่ น�ำ สาเหตทุ ่ีนำ�สู่ สง่ิ แวดลอ้ มหรอื ไม่ และงดงาม
ขอ้ มูลไปจัดกระท�ำ ปญั หา ผลกระทบ ถ้าไม่ถึงจะปรบั และน�ำ ผลไปสู่
ใหเ้ กดิ ความหมาย ของปัญหา ตรงไหน อย่างไร ความส�ำ เร็จ
ผา่ นกระบวนการ วธิ แี กป้ ัญหา จงึ จะเปน็ ไปตาม แบบคงทน
คดิ วเิ คราะห์ แนวทางปอ้ งกัน วตั ถุประสงค์ จงึ กล้า อยา่ งมลี �ำ ดับ
สาเหตุไมใ่ ห้ วิจารณ์ กลา้ เสนอแนะ ขั้นตอน เพ่อื การ
ข้อมลู เกดิ ข้นึ และ อย่างสรา้ งสรรค์ ตรวจสอบทมี่ ี
น�ำ สู่ปญั หา รบั ฟังขอ้ เสนอแนะ ประสิทธภิ าพ
ขอ้ วจิ ารณ์ จากเพอื่ น และแกป้ ัญหาใน
ครู พอ่ แม่ อยา่ งมี แต่ละขัน้ ตอนได้
เหตุผล ทบทวน ตรงวัตถุประสงค์
ปรบั ปรุงด้วยความยนิ ดี
มคี า่ นิยมในความเปน็
ประชาธิปไตยเสมอ

สวงั ิเเคครราาะะหห์ ์ ประเมแินผนกGาPรทAสาสอSงรเน้าล–งอื คกBมู่ ือacคkรู

คุณภาพครอบคลมุ การสอนแบบเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำ�คญั แบบสร้าง
แบบพัฒนาพหปุ ญั ญา แบบทกั ษะกระบวนการทาง

สรปุ รายงานผล ผลการเรยี นรูท้ ีค่ าดหวงั Portfolio

สุดยอดคู่มือครู 24

สามารถคดิ สงวน ิลข ิสท ์ธิ สำ� ันกพิมพ์ บ ิร ัษท ัพฒนาคุณภาพ ิวชาการ (พว.) จำ�กัดก่อนลงมอื ปฏิบัติการปฏิบตั ทิ ดี่ จี งึ ตอ้ งปฏบิ ัติดร.ศกั ดสิ์ นิ โรจนส์ ราญรมย์
ตัดสินใจเลอื ก น�ำ แนวคิดและ ตามแผนทีว่ างไว้ ผ่าน
แนวทางหรอื ตัดสนิ ใจมาจดั การวเิ คราะห์ การไตรต่ รอง เมอ่ื งานส�ำ เรจ็ รู้จัก
วิธที ด่ี ที ีส่ ุดที่ ลำ�ดบั ข้นั ตอน ไว้อย่างดแี ล้ว การปฏบิ ัติ ประเมนิ งานท้งั ดว้ ย
น�ำ ไปสคู่ วาม การทำ�งาน จริงจึงเปน็ การพัฒนา เหตุผลควบคู่กับการ
ส�ำ เรจ็ ได้จริง เพอื่ สามารถ การทำ�งานรว่ มกับผู้อ่นื หรอื ประเมนิ ตนเองเสมอ
น�ำ ประโยชน์ ด�ำ เนนิ งานไป ท�ำ งานเป็นทมี ทตี่ ้องมีการ ถา้ กระบวนการนัน้
ไปสสู่ งั คม ตามแผนการคดิ จัดการแบง่ งานใหต้ รงตาม น�ำ ไปสู่ผลจริง กจ็ ะ
สาธารณะ ทผ่ี า่ นการ ความถนัด แชรค์ วามคดิ น�ำ กระบวนการนน้ั
สง่ิ แวดลอ้ ม ไตรต่ รองมา ประสบการณ์ ร้จู ักรับฟงั ไปพฒั นาหรอื
เปน็ วธิ ีที่ อยา่ งดีแล้ว และ รจู้ ักเสนอแนะ มคี า่ นยิ ม ท�ำ งานในกล่มุ สาระ
คมุ้ คา่ เพือ่ พสิ ูจน์ให้ แสดงออกเป็นประชาธปิ ไตย อน่ื ๆ เพ่ือให้ไดง้ าน
ตัง้ อยบู่ น เห็นวา่ ส่ิงท่ีคิด รู้จกั อดทน ขยนั รับผิดชอบ ทม่ี คี ุณภาพและ
หลักการของ ไว้เมอื่ นำ�ไป ในหนา้ ทกี่ ารท�ำ งานหรอื คุณค่าเพิม่ ขนึ้ เสมอ
ปรชั ญา ปฏบิ ัตจิ ริงแลว้ การปฏบิ ตั ิ ม่งุ หวังเพอื่ ให้ ขัน้ ตอนใดทม่ี ีจุดอ่อน
เศรษฐกจิ สามารถด�ำ เนนิ ได้งานท่ีดขี น้ึ เพอื่ ประโยชน์ ก็ตอ้ งปรับปรุง
พอเพียง การไดต้ าม ของสงั คมสว่ นรวมทกี่ วา้ งไกล ให้ดียิ่งขน้ึ เม่ือได้
ท่คี ดิ ไว้หรอื ไม่ ข้ึน ค�ำ นึงถึงผลกระทบ กระบวนการที่ดแี ลว้
ตัดสนิ ใจ เพอ่ื น�ำ ไปสู่ ต่อสาธารณะและสง่ิ แวดล้อม ก็สรุปกระบวนการ
การแกป้ ญั หา มากยง่ิ ขึน้ อกี ท้ังยังน�ำ กรอบ นนั้ ใหเ้ ป็นหลักการ
และพัฒนาการ ความคิดมาปฏิบัตเิ พ่อื พัฒนางานท่ดี ขี อง
เก็บข้อมลู และ การออกแบบ สรา้ งนวตั กรรม ตนเอง เป็นเคร่อื งมอื
การคิดตอ่ ไป ดว้ ยสือ่ เทคโนโลยไี ด้อยา่ ง การเรยี นรู้
ทัดเทยี มกบั ความเป็นสากล ใชเ้ รียนร้ขู ้อมูลได้
ทกุ โอกาสทว่ั โลก
วางแผน ลงมือปฏบิ ัติ และทุกสถานการณ์
ทกุ เง่ือนไข
คwรaบrdกรDะeบsวiนgกnารเรียนรู้ ได้ตลอดชวี ิต
ความรู้ แบบวจิ ัยในช้นั เรียน แบบโครงงาน แบบเพ่ิมพลังสมอง
วทิ ยาศาสตร์ แบบ 5Es แบบปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ สรา้ งความรู้

เสนโอคเปรงน็ งชา้นินงาน

KAP 1 2 3 4 ประเมนิ ตนเอง นำ�สู่ค่านิยม คุณธรรม

25 สุดยอดคู่มือครู

21

สุดยอดคู่มือครู 26
สงวนลขิ สทิ ธ์ิ สำ�นกั พมิ พ์ บรษิ ัทพฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จ�ำ กดั

GPAS 5 STEPs 1. Gข้ันaรวthบeรวrมinขg้อมูล 2. ขั้นคิดPวิเrคoรcาeะหs์แsลinะสgรุปความรู้

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Apply4.inขg้ันสth่ือeสาCรoแmลmะนu�ำnเiสcaนtอion Skill 5. ขSั้นeปlรfะ-เRมeินgเพu่ือlaเพtิ่มinคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความปลอดภัย
สงวน ิลข ิสท ์ธิ สำ� ันกพิมพ์ บ ิร ัษท ัพฒนาคุณภาพ ิวชาการ (พว.) จำ�กัด
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ความปลอดภัย เร่ืองยอ่ ย
1. ความปลอดภยั ในงานเชอ่ื มไฟฟา้
1 (หนงั สอื เรียน หน้า 11-15)
2. ความปลอดภัยในงานเช่ือมแก๊ส
สาระสาำ คัญ (หนงั สือเรยี น หน้า 16-21)
การพัฒนาทัศนคติและพฤติกรรมในการทำางานด้วยความปลอดภัยเป็นสิ่งที่สำาคัญอย่างหนึ่ง 3. ความปลอดภัยในงานโลหะแผน่
ในการศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษา เพราะความปลอดภยั นบั ไดว้ า่ เปน็ หวั ใจของการทาำ งาน ผทู้ ปี่ ฏบิ ตั งิ าน (หนงั สือเรยี น หน้า 21-23)
ได้ดีจำาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องระมัดระวังเร่ืองความปลอดภัยอยู่เสมอ จากการสำารวจพบว่าผู้ท่ีได้รับ
อันตรายจากการทำางานส่วนใหญ่มักขาดความเอาใจใส่ในเร่ืองความปลอดภัยจึงก่อให้เกิดอันตราย สมรรถนะประจ�ำ หนว่ ย
แกร่ า่ งกายและชวี ติ ของตนเอง เพอ่ื นรว่ มงานและทรพั ยส์ นิ ดงั นนั้ จงึ จาำ เปน็ ทจี่ ะตอ้ งเขา้ ใจและปฏบิ ตั ิ แสดงความรู้เก่ียวกับความปลอดภัยในงานเช่ือม
ตามหลกั ความปลอดภัยโดยเคร่งครัดเพื่อให้เกิดความปลอดภยั จากอันตรายหรืออบุ ัตเิ หตตุ ่างๆ ไฟฟา้ เช่อื มแก๊ส และโลหะแผน่

สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. ความปลอดภัยในงานเชือ่ มไฟฟา้ 1. บอกวิธีการป้องอันตรายในงานเช่ือมไฟฟ้า
2. ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มแก๊ส
3. ความปลอดภัยในงานโลหะแผน่ งานเชอ่ื มแก๊ส งานโลหะแผน่ และข้อควรระวังใน
การใช้เคร่อื งมืออปุ กรณ์ได้
2. บอกผลของอนั ตรายจากงานเชอ่ื มไฟฟา้ งานเชอ่ื มแกส๊
และงานโลหะแผน่
3. ปฏิบัตติ ามกฎของโรงฝกึ งานอย่างเครง่ ครดั
4. มีเจตคติที่ดีในการเรียนเร่ืองความปลอดภัย และ
รักษ์ค่านิยมหลกั 12 ประการของไทย

การประเมนิ ผล 3. การน�ำ เสนอผลการสรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความปลอดภยั
ในงานเชื่อมไฟฟ้า งานเช่ือมแก๊ส และความปลอดภัยในงาน
ภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรียน โลหะแผน่
ภาระงาน/ช้ินงานระหว่างเรียน
1. ผังกราฟิกแสดงการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับความปลอดภัย ภาระงาน/ช้นิ งานรวบยอดในหนว่ ยการเรยี นรู้
1. ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ
ในงานเชอื่ มไฟฟา้ งานเชอ่ื มแกส๊ และความปลอดภยั ในงานโลหะแผน่ 2. ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้
2. ผงั กราฟกิ สรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในงานเชอ่ื ม 3. ผลการประเมนิ ตนเอง
4. คะแนนผลการทดสอบ
ไฟฟ้า งานเชือ่ มแก๊ส และความปลอดภยั ในงานโลหะแผ่น

27 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 STEPs 1. Gขั้นaรวthบeรวrมinขg้อมูล 2. ขั้นคิดPวิเrคoรcาeะหs์แsลinะสgรุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ทักษะชีวิต

ep 1
สงวนลิข ิสทธิ์ สำ� ันกพิมพ์ บริษัท ัพฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด g St
สมรรถนะประจำาหนว่ ย Gatherin ขนั้ รวบรวมอ้ มูล
แสดงความรูเ้ กีย่ วกับความปลอดภัยในงานเชอื่ มไฟฟ้า เชอ่ื มแกส๊ และโลหะแผน่ 1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จากน้ันแต่ละกลุ่ม

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ร่วมกันศึกษาเอกสาร หนังสือเรียนงานเช่ือมและโลหะแผ่นเบื้องต้น
1. บอกวิธีการปอ้ งอันตรายในงานเชอ่ื มไฟฟ้า งานเชื่อมแก๊ส งานโลหะแผน่ ดังนี้
และข้อควรระวงั ในการใช้เครอื่ งมืออุปกรณ์ได้ กลมุ่ ท่ี 1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า
2. บอกผลของอนั ตรายจากงานเช่ือมไฟฟา้ งานเชือ่ มแกส๊ และงานโลหะแผน่ กลุม่ ที่ 2 ความปลอดภัยในการเชือ่ มแก๊ส
3. ปฏบิ ัตติ ามกฎของโรงฝึกงานอย่างเคร่งครดั กลมุ่ ท่ี 3 ความปลอดภยั ในงานโลหะแผน่
4. มเี จตคติทีด่ ใี นการเรียน เร่อื งความปลอดภัย และรกั ษ์ค่านิยมหลัก 12 ประการของไทย 2. ต้ังคำ�ถามให้ผู้เรียนนำ�เสนอข้อมูลจากประสบการณ์จากการศึกษา
เอกสารหนังสือเรียน หรือจากการศกึ ษาคน้ ควา้ จากแหล่งความร้อู ื่น
ผงั สาระการเรยี นรู้ ตามหวั ขอ้ ที่กำ�หนดดงั นี้
1) ความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ านควรเริ่มตน้ เมอ่ื ใด
ความ ความปลอดภยั ในงานเชือ่ มไฟฟา้ 2) กฎระเบยี บว่าดว้ ยความปลอดภัยภายในโรงฝกึ งาน ควรมสี ือ่ ใด
ปลอดภยั ความปลอดภัยในงานเชอ่ื มแก๊ส ประกอบการศึกษา
ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น 3) การใช้เคร่ืองมือ เครื่องมือกล ส่ิงท่ีต้องศึกษาเป็นลำ�ดับแรก
คอื อะไร

4) เหตใุ ดต้องตรวจสอบสภาพเครือ่ งมอื วัสดุอปุ กรณ์ ความปลอดภยั 11
5) หากละเลยเรื่องของความปลอดภัย จะส่งผลอย่างไรต่อ
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาวะการปราศจากจากภัยหรืออันตราย (Danger)
ผู้ปฏิบัติงาน การบาดเจ็บ (Injury) การเส่ียงภัย (Risk) และการสูญเสีย (Loss) ท่ีเกิดข้ึนกับคนหรือวัตถุส่ิงของ
6) หากสภาพของการปฏบิ ตั งิ านมแี นวโนม้ วา่ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ ในช่วงเวลาปกติและขณะปฏิบัติงาน ส่ิงที่สำาคัญท่ีสุดผู้ปฏิบัติงานทุกคนจะต้องคำานึงถึงเป็นอันดับแรก
คือ ความปลอดภัย เพราะจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานไม่ได้รับอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน ตลอดจน
ผู้เรียนจะเสนอแนวทางแก้ไขอย่างไร อุปกรณ์ต่างๆ เคร่ืองมือ เครื่องจักรไม่ชำารุดเสียหาย ทำาให้อายุการใช้งานได้นานข้ึน ผู้ปฏิบัติงานควรมี
3. ผู้เรียนแต่ละคนบันทึกผลการศึกษาเร่ืองความปลอดภัย (ตาม ความรู้ในเรือ่ งต่างๆ ต่อไปนี้
1) เรยี นรถู้ ึงความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงานกอ่ นทีจ่ ะเร่มิ ปฏิบัตงิ าน
ล�ำ ดับข้ัน) ลงผังกราฟกิ 2) คาำ นงึ ถงึ ความปลอดภัยและปฏิบัตงิ านให้ปลอดภัยตลอดเวลา
(ผังสรุปความรคู้ วามเขา้ ใจเบอ้ื งต้นเรอ่ื งความปลอดภยั ) 3) เช่อื ฟังกฎและระเบียบขอ้ บังคับของโรงฝึกงานอยา่ งเคร่งครดั
4) สวมชุดปฏิบัติงานและอปุ กรณ์ปอ้ งกันอย่างถูกต้อง
5) ปฏิบัติตวั ของผเู้ รยี นอย่างมรี ะเบียบวนิ ยั ตลอดเวลาไมห่ ยอกลอ้ ในขณะปฏิบตั ิงาน
6) ปฏิบัตงิ านเฉพาะเครอื่ งมือ เครอ่ื งจักรทีผ่ ้เู รียนมีหน้าท่เี กี่ยวข้องโดยตรง
7) ตรวจสอบเครือ่ งมอื และอุปกรณ์ให้อยใู่ นสภาพให้มีความปลอดภัยก่อนเริม่ ปฏบิ ัติงาน
8) เสนอแนะขอ้ คิดเหน็ ตอ่ ผู้สอน ถ้าสภาพการปฏบิ ตั งิ านไม่มีความปลอดภยั
9) รายงานการเกิดอบุ ตั เิ หตตุ ่อผ้สู อนทันที
10) จดั ใหม้ ีการประชมุ และสนับสนนุ แผนงานทเ่ี ก่ยี วข้องกับความปลอดภยั

1. ความปลอดภยั ในงานเชอื่ มไฟฟา้

ในการเชื่อมไฟฟ้าผู้ปฏิบัติงานจะต้องตระหนักถึงความสำาคัญในเร่ืองของความปลอดภัยให้มาก
ที่สุด ถึงแม้ผู้ปฏิบัติงานเช่ือมจะมีความสามารถความชำานาญขนาดไหนให้ใส่ใจในเร่ืองของ
ความปลอดภัยในการเชื่อมเป็นอย่างมาก เพราะโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุหรืออันตรายมีอยู่ตลอดเวลา
ชนิดและอันตรายทอี่ าจเกดิ จากการเชอื่ มไฟฟา้ ได้แก่

1.1 อันตรายจากกระแสไฟฟ้า (Electric Shock)

การเชื่อมไฟฟ้า เคร่ืองเช่ือมเป็นอุปกรณ์ที่สำาคัญในกระบวนการเช่ือมที่จะต้องมีการป้อน
กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าเครื่องเชื่อม และเครื่องเช่ือมจะทำาหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจากแรงเคล่ือนสูงให้เป็น
ไฟฟา้ ทม่ี แี รงเคลอื่ นตา่ำ เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั การเชอื่ มโลหะและไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน แตก่ ระนน้ั
ใชว่ า่ อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้ จะไมเ่ กดิ ขน้ึ ได้ ในการปฏบิ ตั งิ านเชอ่ื มทกุ ครง้ั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งตรวจสอบ
ดอู ปุ กรณเ์ กย่ี วกบั ระบบไฟฟา้ วา่ อยใู่ นสภาพเรยี บรอ้ ยสมบรู ณห์ รอื เปลา่ มกี ารแตกของฉนวนหมุ้ สายหรอื
ไม่ ขอ้ ต่อสายไฟฟา้ ต่างๆ ตงั้ แต่สายไฟเข้าเครอ่ื งเช่อื ม สายเชือ่ ม ตลอดจนหวั จบั ลวดเชือ่ ม หัวจบั สายดิน
เพราะกระแสไฟฟ้าแม้แต่จะเข้าสู่ร่างกายเพียงเล็กน้อยก็ตาม อาจทำาให้กล้ามเน้ือกระตุกผิดปกติ
ถา้ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานทำางานในท่ีสูงๆ อาจทาำ ใหต้ กลงมาเสยี ชีวิตได้

สุดยอดคู่มือครู 28

Ap3p. lขy้ันiปnฏgิบaัตnิแdละCสoรnุปstคrวuาctมinรgู้หลthังeกาKรnปoฏwิบleัตdิge A 4. ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ 5. ขSั้นeปlรfะ-เRมeินgเพu่ือlaเพtิ่มinคgุณค่า