ทักษะที่ครอบคลุมความสามารถด้าน Digital Literacy ประกอบด้วยกี่ด้าน

   ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

    เทคโนโลยีดิจิทัล Digital literacy หรือทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี เป็นทักษะด้านดิจิทัลพื้นฐานที่จะเป็นตัวช่วยสำคัญในการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และการทำงานร่วมกันกับผู้อื่นในลักษณะ “ทำน้อย ได้มาก” หรือ “Work less but get more impact” และช่วยสร้างคุณค่า (Value Co-creation) และความคุ้มค่าในการดำเนินงาน (Economy of Scale) เพื่อการก้าวไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือช่วยให้บุคลากร สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้รับโอกาสการทำงานที่ดีและเติบโตก้าวหน้าในอาชีพ (Learn and Growth) ด้วย

ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ  Digital literacy   เทคโนโลยีดิจิทัล หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แท็บเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

 ทักษะความสามารถสำหรับการรู้

เทคโนโลยีดิจิทัล สามารถแบ่งเป็น 4 ส่วนที่สำคัญ ได้แก่ ใช้ (Use) เข้าใจ (Understand) สร้าง (Create) และ เข้าถึง (Access)  ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังนี้

  •      ใช้ (Use) หมายถึง ความคล่องแคล่วทางเทคนิคที่จำเป็นในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ทักษะและความสามารถที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “ใช้” ครอบคลุมตั้งแต่เทคนิคขั้นพื้นฐาน คือ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมประมวลผลคำ (Word processor) เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) อีเมล และเครื่องมือสื่อสารอื่นๆ สู่เทคนิคขั้นสูงขึ้นสำหรับการเข้าถึงและการใช้ความรู้ เช่น โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูล หรือ เสิร์ชเอนจิน (Search engine) และฐานข้อมูลออนไลน์ รวมถึงเทคโนโลยีอุบัติใหม่ เช่น Cloud computing ในระบบดิจิทัล
  •     เข้าใจ (Understand) คือ เทคโนโลยีดิจิทัล ชุดของทักษะที่จะช่วยผู้เรียนเข้าใจบริบทและประเมินสื่อดิจิทัล เพื่อให้สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับอะไรที่ทำและพบบนโลกออนไลน์ จัดว่าเป็นทักษะที่สำคัญและที่จำเป็นที่จะต้องเริ่มสอนเด็กให้เร็วที่สุดเท่าที่พวกเค้าเข้าสู่โลกออนไลน์ เข้าใจยังรวมถึงการตระหนักว่าเทคโนโลยีดิจิทัล เครือข่ายมีผลกระทบต่อพฤติกรรมและมุมมองของผู้เรียนอย่างไร มีผลกระทบต่อความเชื่อและความรู้สึกเกี่ยวกับโลกรอบตัวผู้เรียนอย่างไร เข้าใจยังช่วยเตรียมผู้เรียนสำหรับเศรษฐกิจฐานความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนาทักษะการจัดการสารสนเทศเพื่อค้นหา ประเมิน และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อติดต่อสื่อสาร ประสานงานร่วมมือ และแก้ไขปัญหา
  •     สร้าง (Create) คือ ความสามารถในการผลิตเนื้อหาและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพผ่านเครื่องมือสื่อดิจิทัลที่หลากหลาย การสร้างด้วยสื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นมากกว่าแค่การรู้วิธีการใช้โปรแกรมประมวลผลคำหรือการเขียนอีเมล แต่มันยังรวมความสามารถในการดัดแปลงสิ่งที่ผู้เรียนสร้างสำหรับบริบทและผู้ชมที่แตกต่างและหลากหลาย ความสามารถในการสร้างและสื่อสารด้วยการใช้ Rich media เช่น ภาพ วิดีโอ และเสียง ตลอดจนความสามารถในการมีส่วนร่วมกับ Web 2.0 อย่างมีประสิทธิภาพและรับผิดชอบ เช่น Blog การแชร์ภาพและวิดีโอ และ Social media รูปแบบอื่นๆ
  •     เข้าถึง (Access) คือ การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีดิจิทัล และข้อมูลข่าวสาร เป็นฐานรากในการพัฒนาการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ผู้เรียนจำเป็นต้องเข้าใจอินเทอร์เน็ตและการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตด้วยช่องทางต่าง ๆ รวมถึง ข้อดีข้อเสียของแต่ละช่องทางได้ เพื่อให้สามารถไข้ Search Engine ด้นหาข้อมูลที่ต้องการจาก อินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องเข้าใจสื่อทางดิจิทัลชนิดต่าง ๆ รวมถึง การนำไปประยุกต์ไข้งานในป้จจุบัน

เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ ๔ มิติ 

  • ๑. การใช้ (Use)
  • ๒. เข้าใจ (Understand)
  • ๓.การสร้าง (create)
  • ๔.เข้าถึง (Access) เทคโนโลยี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะที่ครอบคลุมความสามารถด้าน Digital Literacy ประกอบด้วยกี่ด้าน

ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภา

ขอบคุณข้อมูลจาก สำนักงาน ก.พ.

ประโยชน์ของการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล ดังนี้

๑. ทำงานได้รวดเร็ว ลดข้อผิดพลาด และสร้างความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น

๒. มีความภูมิใจในผลงานที่สามารถสร้างสรรค์ได้ด้วยตัวเอง

๓. สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

๔. สามารถระบุทางเลือกและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

๕. สามารถบริหารจัดการงานและเวลา ได้ดีมากขึ้นทำให้เกิดสมดุลในชีวิตและการทำงาน

ทักษะความเข้าใจและการใช้งาน เทคโนโลยีดิจิทัล แบ่งเป็น ๙ ประการดังนี้

๑. การใช้งานคอมพิวเตอร์
๒. การใช้งานอินเตอร์เน็ต

๓. การใช้งานเพื่อความมั่งคงและปลอดภัย

๔. การใช้งานโปรแกรมประมวลคำ

๕. การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณ

๖. การใช้งานโปรแกรมนำเสนองาน

๗. การใช้โปรแกรมสร้างสื่อ เทคโนโลยี

๘. การทำงานร่วมกันแบบออนไลน์
๙. การใช้งานดิจิทัลเพื่อความมั่งคงปลอดภัย

เทคโนโลยีดิจิทัลของยุค มีดังนี้

  • Digital ๑.๐ เปิดโลกอินเตอร์เน็ต  ยุคเริ่มต้นของ อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นช่วงเวลาที่กิจกรรมและการดำเนินชีวิตของผู้คนเปลี่ยนจาก ออฟไลน์ (Offline) เป็นออนไลน์ (Online)มากขึ้น เช่น เปลี่ยนจากการส่งจดหมายทางไปรษณีย์เป็นการส่งอีเมล์ (E-mail) และการถือกำเนิดของ  เว็บไซต์ (Website) ที่ทำให้เราเข้าถึงข่าวสารข้อมูลได้ง่านและทั่วถึงตลอด ๒๔ ชั่วโมง เริ่มมีกิจกรรมเชิงพาณิชย์และโฆษณา ผ่านเครื่องมือออนไล์เสมือนมีหน้าร้านที่ทุกคนบนโลกเห็นเราได้ง่ายขึ้น
  • Digital ๒.๐ ยุคโซเชียลมีเดีย  ต่อจากยุค ๑.๐ เป็นยุคลที่ผู้ใช้งานสามารถสร้างเครื่อข่ายติดต่อสื่อสารกันในโลกออนไลน์ที่เรียกว่าเครือข่ายสังคม (Social Network) เทคโนโลยีดิจิทัล เริ่มจากการสนทนาติดต่อสื่อสารกันกับเพื่อนสมาคมกลุ่มเล็กๆ แล้วเริ่มขยายวงกว้างไปสู่การดำเนินกิจกรรม ในเชิงธุรกิจ โดยนักธุรกิจส่วนใหญ่มองว่าSocial Media เป็นเครื่องมือเชื่อมต่อและสร้างเครือข่ายทางธุรกิจได้อย่างดีด้วยการ คลิกเพียงครั้งเดียว อีกทั้งช่วยพัฒนา Brand วัดผลการดำเนินงาน ส่งเสริมภาพลักษณ์แบรนต์ Social Media จึงเป็นเหมือนกระบอกเสียงและเวทีเสนองานแก่นักธุรกิจสู่คนทั่วโลกเป็นอย่างดี  นอกจากนี้ Social Media ยังเป็นอำนาจในการต่อรองของผู้บริโภคที่กำลังตัดสินใจเลือกสินค้าและบริการเนื่องจากมีตัวเลือกและร้านค้าให้เห็นมากขึ้น
  • Digital ๓.๐ ยุคแห่งข้อมลและบิ๊กดาต้า  เป็นยุคที่มีการใช้ข้อมูลที่มีจำนวนมหาศาลให้เกินประโยชน์ การเติบโตของยุคโซลเชียลมีเดีย และ E-Commerce ทำให้เกิดการขยายของข้อมูลอย่างมหาศาล เทคโนโลยี ทุกระบบทุกหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น ธนาคารประกันภัย สื่อโซเชียล ต่างมีข้อมูลเข้าออกเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆจึงเริ่มมีการนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ให้เกินประโยชน์สูงสุด โดยข้อมูลจะถูกนำมาประมวลผล จับสาระสำคัญวิเคราะห์ เพื่อตอบสนองภาระกิจต่างๆขององค์กร และเริ่มมีการนำเทคโนโลยีระบบคลาวค์ (Cloud Computing) มาช่วยอำนวยความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล การเข้าถึงทรัพยากรข้อมูลตามการใช้งานโดยเราสามารถเข้าถึงข้อมูลบนระบบคลาวด์จากที่ใดก็ได้ผ่านอินเตอร์เน็ตและสามารถแบ่งบันข้อมูลกับผู้อื่น (Shared Services) เป็นการลดต้นทุนและความยุ่งยากเพิ่มความรวดเร็วในการปฏิบัติงานได้มากขึ้นใน
  • Digital ๔.๐ เทคโนโลยีที่ชาญฉลาด  ยุคที่ความฉลาดของเทคโนโลยี ทำให้อุปกรณ์ต่างๆสื่อสารและทำงานร่วมกันได้อย่างอัตโนมัติเทคโนโลยีใน ๓ ยุคที่ผ่านมาเป็นเหมือน แขน ขา เป็นเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ช่วยอำนวยความสะดวก หยิบจับ คำนวณ ให้แก่มนุษย์ แต่เทคโนโลยีดิจิทัล เหล่านั้นไม่มีสมองเป็นของตนเอง ในยุคที่ ๔ นี้เทคโนโลยีถูกนำมาพัฒนาต่อยอดเพื่อลดภาระของมนุษย์ และเพิ่มศักยภาพของมนุษย์ในการใช้ความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆโดยใช้ชื่อยุคนี้ว่า Machine to Machine

ตัวอย่าง ของเทคโนโลยี ยุคนี้ เช่น การสั่งปิด – เปิด หรือสั่งงานต่างๆกับเครื่องใช้ไฟฟ้าผ่านแอพลิเคชั่นโดยไม่ต้องเดินไปกดสวิตซ์ หรือ เทคโนโลยีจำลองสถานการณ์ ( Simulation ) เพื่อใช้จำลองสถานการณ์ฝึกอบรม วางแผนสถานการณ์ต่างๆ

ที่มา : https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1246

ทักษะที่ครอบคลุมความสามารถด้าน Digital Literacy ประกอบด้วยกี่ด้าน อะไรบ้าง

Digital literacy คืออะไร.
การใช้ (Use).
เข้าใจ (Understand).
การสร้าง (create).
เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

Digital Literacy มีกี่มิติ

Digital literacy คืออะไร ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ การใช้ (Use) เข้าใจ (Understand) การสร้าง (create)

ทักษะการเป็นพลเมืองดิจิทัลมีกี่ทักษะ อะไรบ้าง

7 ทักษะจำเป็นที่ควรมีติดตัว.
1. Technology Basics (ทักษะพื้นฐานด้านเทคโนโลยี) ... .
2. Digital Citizenship (ทักษะการเป็นพลเมืองดิจิทัล) ... .
3. Information Management (ทักษะการจัดการสารสนเทศ) ... .
4. Content Creation (ทักษะการสร้างสรรค์เนื้อหา) ... .
5. Communication (ทักษะด้านการสื่อสาร) ... .
6. Collaboration (ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน).

ทักษะดิจิทัล คืออะไร

Digital Literacy คือ ความสามารถในการเข้าใจ เข้าถึง และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเป็นทักษะพื้นฐานสำคัญที่ทุกคนควรมี เพราะทักษะนี้เป็นตัวช่วยในการต่อยอดไปสู่ทักษะอื่น ๆ ที่เฉพาะเจาะจงกับสายอาชีพมากขึ้น