มูลนิธิ สมาคม ไม่มีหน้าที่เสียภาษีอากรใด

มูลนิธิหรือสมาคมซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล จะต้องยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี (ล.ป.10) ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล หรือวันที่เริ่มประกอบกิจการในประเทศไทย แล้วแต่วันใดจะเป็นวันหลัง

Show

สถานที่ยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี

(1) มูลนิธิหรือสมาคมซึ่งมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคำร้องได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานครในท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่
(2) มูลนิธิหรือสมาคมซึ่งมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดอื่น ให้ยื่นคำร้อง ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่หรือสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในจังหวัดที่สำนักงานใหญ่ของมูลนิธิหรือสมาคม ตั้งอยู่
(3) มูลนิธิหรือสมาคมสามารถยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรประเภทนิติบุคคลโดยผ่านเว็บไซต์ของกรมสรรพากร ที่ http://www.rd.go.th โดยระบบจะให้บันทึกข้อมูลรายการต่าง ๆ เช่น เลขทะเบียนนิติบุคคล วันที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ รอบระยะเวลาบัญชี และลักษณะการเป็นนิติบุคคล เป็นต้น

การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

มูลนิธิหรือสมาคมต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเมื่อจ่ายเงินได้ดังต่อไปนี้ให้แก่ผู้รับ ซึ่งมีหน้าที่เสียภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา หรือภาษีเงินได้นิติบุคคลแล้วแต่กรณี ดังนี้
1. เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน
2. เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำหรือจากการรับทำงานให้
3. ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น ๆ
4. เงินได้ประเภทดอกเบี้ย เงินปันผล ฯลฯ
5. เงินได้ประเภทค่าเช่าทรัพย์สินฯ
6. เงินได้ค่าวิชาชีพอิสระ
7. เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญ นอกจากเครื่องมือ
8. เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่น ๆ นอกจากที่ระบุไว้ใน 1. ถึง 7. เฉพาะที่เป็นเงินได้จากการจ้างทำของ รางวัลจากการประกวดแข่งขัน ชิงโชค ค่าโฆษณา ค่าแสดงที่จ่ายให้นักแสดงสาธารณะ รางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์อย่างอื่นเนื่องจากการส่งเสริมการขาย การประกันวินาศภัย การขนส่ง (ไม่รวมค่าโดยสารสำหรับการขนส่งสาธารณะ) การให้บริการอื่นๆ (ไม่รวมถึงค่าบริการของโรงแรม ค่าบริการของภัตตาคาร และค่าเบี้ยประกันชีวิต)

การจัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี

ผู้มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ต้องจัดทำบัญชีพิเศษแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย และการนำส่งให้แก่ผู้รับเงิน โดยรวมจำนวนที่จ่ายเป็นประจำวัน และรวมยอดเป็นรายเดือน เมื่อสิ้นวันสุดท้ายของเดือนและต้องเก็บรักษาบัญชีพิเศษดังกล่าวไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี ที่สำนักงานที่มีการจ่ายเงิน

กรณียกเว้นไม่ต้องจัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี

1. การจ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยตั๋วเงินของธนาคาร สหกรณ์ บริษัท ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึ้น สำหรับให้กู้ยืมเงินเพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม
2. กรณีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในบังคับต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และต้องนำส่งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในขณะที่มีการจดทะเบียน
3. กรณีอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด

การยื่นแบบแสดงรายการและการนำส่งภาษี

มูลนิธิหรือสมาคมผู้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย มีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย พร้อมทั้งนำเงินภาษีส่งภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนที่มีการจ่ายเงิน

มูลนิธิหรือสมาคมซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล จะต้องยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี (ล.ป.10.3) ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล หรือวันที่เริ่มประกอบกิจการในประเทศไทย แล้วแต่วันใดจะเป็นวันหลัง

สถานที่ยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี

(1) มูลนิธิหรือสมาคมซึ่งมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคำร้องได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานครในท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่
(2) มูลนิธิหรือสมาคมซึ่งมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดอื่น ให้ยื่นคำร้อง ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่หรือสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในจังหวัดที่สำนักงานใหญ่ของมูลนิธิหรือสมาคม ตั้งอยู่
(3) มูลนิธิหรือสมาคมสามารถยื่นคำร้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรประเภทนิติบุคคลโดยผ่านเว็บไซต์ของกรมสรรพากร ที่ http://www.rd.go.th โดยระบบจะให้บันทึกข้อมูลรายการต่าง ๆ เช่น เลขทะเบียนนิติบุคคล วันที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ รอบระยะเวลาบัญชี และลักษณะการเป็นนิติบุคคล เป็นต้น

การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

มูลนิธิหรือสมาคมต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเมื่อจ่ายเงินได้ดังต่อไปนี้ให้แก่ผู้รับ ซึ่งมีหน้าที่เสียภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา หรือภาษีเงินได้นิติบุคคลแล้วแต่กรณี ดังนี้

1. เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน
2. เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำหรือจากการรับทำงานให้
3. ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น ๆ
4. เงินได้ประเภทดอกเบี้ย เงินปันผล ฯลฯ
5. เงินได้ประเภทค่าเช่าทรัพย์สินฯ
6. เงินได้ค่าวิชาชีพอิสระ
7. เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญ นอกจากเครื่องมือ
8. เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่น ๆ นอกจากที่ระบุไว้ใน 1. ถึง 7. เฉพาะที่เป็นเงินได้จากการจ้างทำของ รางวัลจากการประกวดแข่งขัน ชิงโชค ค่าโฆษณา ค่าแสดงที่จ่ายให้นักแสดงสาธารณะ รางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์อย่างอื่นเนื่องจากการส่งเสริมการขาย การประกันวินาศภัย การขนส่ง (ไม่รวมค่าโดยสารสำหรับการขนส่งสาธารณะ) การให้บริการอื่นๆ (ไม่รวมถึงค่าบริการของโรงแรม ค่าบริการของภัตตาคาร และค่าเบี้ยประกันชีวิต)

การจัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี

ผู้มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ต้องจัดทำบัญชีพิเศษแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย และการนำส่งให้แก่ผู้รับเงิน โดยรวมจำนวนที่จ่ายเป็นประจำวัน และรวมยอดเป็นรายเดือน เมื่อสิ้นวันสุดท้ายของเดือนและต้องเก็บรักษาบัญชีพิเศษดังกล่าวไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี ที่สำนักงานที่มีการจ่ายเงิน

กรณียกเว้นไม่ต้องจัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี

1. การจ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยตั๋วเงินของธนาคาร สหกรณ์ บริษัท ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึ้น สำหรับให้กู้ยืมเงินเพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม
2. กรณีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในบังคับต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และต้องนำส่งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในขณะที่มีการจดทะเบียน
3. กรณีอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด

การยื่นแบบแสดงรายการและการนำส่งภาษี

มูลนิธิหรือสมาคมผู้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย มีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย พร้อมทั้งนำเงินภาษีส่งภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนที่มีการจ่ายเงิน

แบบแสดงรายการที่ใช้ยื่นภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย

(1) ภ.ง.ด.1 ใช้สำหรับนำส่งภาษีเป็นรายเดือน กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง หรือเงินได้จากตำแหน่งงานที่ทำ การรับทำงานให้ เช่น ค่านายหน้า ค่าบำเหน็จ ฯลฯ ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร
(2) ภ.ง.ด.1 ก ใช้สำหรับแสดงรายการสรุปการจ่ายเงินได้และจำนวนเงินภาษีที่ได้นำส่งไว้ในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง ค่านายหน้า หรือบำเหน็จ ฯลฯ ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดเวลายื่นแบบภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดไป
(3) ภ.ง.ด.2 ใช้สำหรับนำส่งภาษีเป็นรายเดือน กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทค่าสิทธิ ดอกเบี้ย เงินปันผล ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนตราสารหนี้หรือตราสารทุน ฯลฯ ตามมาตรา 40 (3) และ (4) แห่งประมวลรัษฎากร
(4) ภ.ง.ด.2 ก ใช้สำหรับแสดงรายการสรุปการจ่ายเงินได้และจำนวนเงินภาษีที่ได้นำส่งในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว กรณีการจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทค่าสิทธิ ดอกเบี้ย เงินปันผล ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนตราสารหนี้หรือตราสารทุน ฯลฯ ตามมาตรา 40(3) และ (4) แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดเวลายื่นแบบภายในเดือนมกราคมของปีถัดไป
(5) ภ.ง.ด.3 ใช้สำหรับนำส่งภาษีเป็นรายเดือน กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินประเภทค่าเช่าทรัพย์สิน ค่าวิชาชีพอิสระ การรับเหมา การรับจ้างทำของ หรือเงินได้จากการประกอบธุรกิจการพาณิชย์ ฯลฯ ตามมาตรา 40(5) ถึง (8) แห่งประมวลรัษฎากร

2. ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย

(1) ภ.ง.ด.53 ใช้สำหรับนำส่งภาษีกรณีจ่ายเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร ตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไปให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
(2) ภ.ง.ด.54 ใช้สำหรับนำส่งภาษี สำหรับ
(ก) กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (2)-(6) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ และไม่ได้ประกอบกิจการในประเทศไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายจากหรือในประเทศไทย และมีหน้าที่ต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมินที่จ่ายและนำส่ง
(ข) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จำหน่ายเงินกำไรหรือเงินประเภทอื่นใดที่กันไว้จากกำไรหรือที่ถือได้ว่าเป็นเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย

Foundation: มูลนิธิกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง?

เนื่องจากในการ ก่อตั้งมูลนิธิ หรือสมาคม จะต้องยื่นคำขอจดทะเบียนกับกระทรวงมหาดไทยในส่วนของการจัดทำบัญชีมูลนิธิหรือสมาคมจะต้องยื่นงบอย่างไร โทร 02-3569552 02-3569544
สำหรับในส่วนที่เกี่ยวกับกรมสรรพากรนั้น มูลนิธิหรือสมาคมที่ได้จดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายเป็นนิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ ดังนั้น มูลนิธิหรือสมาคมจึงต้องจัดทำบัญชีที่สะท้อนให้เห็นถึงการเสียภาษีดังกล่าว และเพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการดำเนินการของมูลนิธิหรือสมาคมจึงควรจัดทำงบดุล บัญชีรายได้ บัญชีรายจ่ายไว้ให้ตรวจสอบได้ด้วย และในกรณีที่มูลนิธิหรือสมาคมจะยื่นคำขอเป็น องค์การสาธารณกุศล เพื่อรับยกเว้นภาษี มูลนิธิหรือสมาคมจะต้องส่งงบดุล บัญชีรายได้ รายจ่าย ซึ่งมีผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว(ผู้สอบบัญชีในที่นี้หมายถึงผู้สอบบัญชีรับอนุญาต) ย้อนหลังไม่ต่ำกว่า 3 ปี เพื่อประกอบการพิจารณาของกรมสรรพากร


ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม ภงด.55
มูลนิธิ สมาคม ไม่มีหน้าที่เสียภาษีอากรใด

การเสียภาษีเงินได้ของมูลนิธิหรือสมาคม

มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบการมีรายได้ หากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง มิได้ประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข)
แห่งประมวลรัษฎากร มีหน้าที่ต้องนำรายได้ที่ได้รับก่อนหักรายจ่ายใดๆ มารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้มูลนิธิหรือสมาคม ตามแบบ ภ.ง.ด.55 ภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

1. รายได้ของมูลนิธิหรือสมาคมที่จะต้องเสียภาษีเงินได้

รายได้ที่จะต้องเสียภาษีเงินได้ของมูลนิธิหรือสมาคม ได้แก่ รายได้จากการ ประกอบกิจการ เช่น ค่าเช่า รายได้จากการจำหน่ายสินค้าและบริการ และรายได้จากทุน เช่น ดอกเบี้ย และเงินปันผล เป็นต้น
มูลนิธิหรือสมาคมจะต้องนำรายได้ดังกล่าวมาคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตามอัตรา ที่กฎหมายกำหนด โดยไม่มีการหักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

2. รายได้ของมูลนิธิหรือสมาคมที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

มูลนิธิหรือสมาคมที่ไม่ได้รับการประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร จะได้รับยกเว้นไม่ต้องนำรายได้ดังต่อไปนี้มาคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่
1. ค่าลงทะเบียนหรือค่าบำรุงที่ได้จากสมาชิก
2. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการบริจาค
3. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้จากการให้โดยเสน่หา
4. เงินได้จากกิจการโรงเรียนเอกชนของมูลนิธิหรือสมาคม ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน แต่ไม่รวมถึงเงินได้จากการขายของ การรับจ้างทำของ หรือการให้บริการอื่นใดที่โรงเรียนเอกชนซึ่งเป็นโรงเรียนประเภทอาชีวศึกษาได้รับจากผู้ซึ่งมิใช่นักเรียน

มูลนิธิหรือสมาคมที่ได้รับการยกเว้นภาษี มูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ไม่ว่าจะมีรายได้จากกิจการประเภทใด และผู้บริจาคได้รับสิทธิ ดังนี้ มูลนิธิ สมาคม มีหน้าที่เสียภาษีอากรอย่างไร

หน้าที่ของมูลนิธิหรือสมาคมที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) ต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (2) ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเมื่อจ่ายเงินให้แก่ผู้รับ (3) ต้องจัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี ณ ที่จ่าย และนำส่งกรมสรรพากร

มูลนิธิได้รับยกเว้นภาษีอะไรบ้าง

มูลนิธิหรือสมาคมที่ไม่ได้รับการประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร จะได้รับยกเว้นไม่ต้องนำรายได้ดังต่อไปนี้มาคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ 1. ค่าลงทะเบียนหรือค่าบำรุงที่ได้จากสมาชิก 2. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการบริจาค 3. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้จากการให้โดยเสน่หา

มูลนิธิต้องเสียภาษีที่ดินไหม

๒.๑ ทรัพย์สินของมูลนิธิที่เป็นนิติบุคคลที่ได้จดทะเบียนไว้ตามกฎหมาย มีสถานะเป็นมูลนิธิของเอกชน ซึ่งจะต้องอยู่ในสถานะที่จะต้องเสียภาษีตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๒

มูลนิธิ มีเลข ประ จํา ตัวผู้ เสียภาษี ไหม

- พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518. หน้าที่ของมูลนิธิหรือสมาคมที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) ต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (2) ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเมื่อจ่ายเงินให้แก่ผู้รับ