หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการ ล่าสุด

ประกาศหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าตอบแทนบุคคลหรือคณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

การกำหนด KPI คือ ตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน ในแต่ละฝ่าย แต่ละบทบาทหน้าที่ ควรตอบให้ได้ว่า งานหลักคืออะไร เป้าหมายหลักคืออะไร ตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) ของงานนั้นคืออะไร  ซึ่งผมได้เขียนแนวทางในการจัดทำ KPI ให้ไว้แล้วพร้อมตัวอย่าง ตามที่ปรากฎอยู่ข้างต้น    คิดว่า จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษา สามารถนำไปบูรณาการใช้ได้ในการปฏิบัติงานกับทุกฝ่าย ทุกแผนก ทุกหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน

ถ้าองค์การมีความมุ่งมั่นจะทำ KPI ทั่วทั้งองค์การ ผมแนะนำ ให้หาผู้เชี่ยวชาญ เข้าไปสอน แนะนำ หรือเป็นที่ปรึกษาให้ แล้ววางแผนลงมือทำทั่วทั้งองค์การ จะได้ผลที่สุด หากไม่เข้าใจก็สามารถสอบถามที่ปรึกษา หรือวิทยากร อาจารย์ผู้สอน แล้วลงมือปฏิบัติจริงกันเลย  คงใช้เวลาไม่เกิน สองวัน คุ้มครับ เพราะงานจะมีการวัดผล มีการปรับปรุง พัฒนามากยิ่งขึ้น เชื่อว่า ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการองค์การโดยรวม จะดีขึ้น

งานของฝ่ายบัญชีฯ ที่เขียนมาขอคำแนะนำ เรื่อง KPIT

ชื่องาน                                        ตัวอย่าง KPI

-เรื่องASSET                    ตรวจสอบตามแผนการตรวจประจำปี

                                      รายงานผลการตรวจสอบภายใน......

                                      ประชุมทบทวนฝ่ายบริหารภายใน.....

-เรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม          ดำเนินการภายใน......... ความถูก    ต้อง.......%

-เรื่องภาษีหัก ณ ที่จ่าย  ดำเนินการภายใน......... ความถูก    ต้อง.......%ญชี      

-เรื่องพัฒนาระบบโปรแกรมด้านบัญชี     ดำเนินการภายใน......... ระบบโปรกแกรมบัญชี สามารถใช้ปฏิบัติการได้ภายในวันที่..............    ประสิทธิภาพการทำงานของโปรแกรมบัญชี  .......... งบประมาณในการจัดทำระบบ อยู่ในวงเงิน..........บาท    บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้รับการอบรม และสามารถใช้ระบบฯได้ภายใน.......... เป็นต้น

ทั้งนี้ ขอให้ดูนโยบาย หรือสภาพปัญหาขององค์การเป็นหลักด้วย

อีกท่านหนึ่งเขียนมาถามว่า ในฝ่ายของ IT จะแยกเป็นส่วนของ

  • network,
  • programmer,
  • graphic,
  • system analyze

ซึ่งไม่แน่ใจว่าเราจะต้องแยก KPI ออกแต่ละส่วนงานย่อยหรือไม่  ผมแนะนำว่า อยู่ที่นโยบายขององค์การ  ว่าเข้มงวด แค่ไหน  หากต้องการให้เข้มงวด มาก เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้องค์การ อย่างรวดเร็ว ก็ควรทำแยกย่อย ออกมา ตามที่เขียนมา  แต่ปัญหาก็คือ อาจจะดูจุกจิกเกินไป ทำให้ผู้ปฏิบัติงานไม่ แฮ็ปปี้ เอาก็ได้

งานหลักของ IT มีกี่งาน  งานหลักเป็นงานที่เรารับผิดชอบอยู่ และเป็นงานที่หน่วยงานอื่นๆ ทำไม่ได้ต้องอาศัยเร็ว ในฐานะเป็นผู้ชำนาญ มีความรู้ ทักษะ พิเศษ ในด้านนั้น และหากเราไม่ทำ ก็จะเกิดผลเสียแก่องค์การ เหล่านี้ คืองานหลัก ของแต่ละฝ่าย แต่ละหน่วยงาน  เช่น

  • งาน รักษา และพัฒนา network,  KPI= network ทั่วทั้งองค์การสามารถปฏิบัติงานได้ .....%  ทำการตรวจระบบ network ทุก ๆ ........เดือนหรือ สัปดาห์ เป็นต้น
  • งาน การสร้างและพัฒนา program,  KPI= program ต่าง ๆ ในองค์การ ได้รับการตรวจสอบ บำรุง ทุก ๆ .........ของเดือน   โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในองค์การ ใช้ลิขสิทธิ์ถูกต้อง ......% ภายใน........     โปรแกรมต่างๆ ปารศจาก "ไวรัส".......% เป็นต้น
  • งาน  graphic, KPI= งาน Graphic ขององค์การดำเนินไปตามแผน............%  งาน Graphic ทุกงาน ได้รับการจัดทำให้สำเร็จได้ตามเวลา และตาม spec ..........% เป็นต้น
  • งาน system analyze   KPI= ระบบที่ใช้อยู่ในองค์การ ....ระบบ ได้รับการวิเคราะห์ตรวจสอบ อย่างน้อย ทุก ๆ .........เดือน  ระบบดังกล่าว สามารถทำงานได้........% เป็นต้น

ผมแนะนำให้ศึกษา จาก หลักการเขียน KPI และตัวอย่าง KPI ที่เขียนมาให้ข้างต้น  เมื่อท่านเข้าใจแล้ว จะสามารถทำ KPI ของทุกฝ่ายได้ 

2.วันที่ 24 พฤษภาคม 2555 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ เป็นประธานในการมอบเงินให้ผู้ได้รับผลกระทบครั้งแรก จำนวน 524 ราย รวมวงเงิน 577 ล้านบาท แบ่งเป็นผู้เสียชีวิต จำนวน 44 ราย ทุพพลภาพ 6 ราย บาดเจ็บสาหัส 58 ราย บาดเจ็บทั่วไป 177 ราย และบาดเจ็บเล็กน้อย 239 ราย การจ่ายเงินครั้งนี้เป็นการจ่ายจากเงินงบประมาณ ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2555 หมวดงบประมาณสำรองฉุกเฉินซึ่งถือเป็นงบกลาง สำหรับจ่ายกรณีฉุกเฉินจำเป็น โดยให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยเบิกจ่าย

3.การจ่ายเงินชดเชยเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบในกรณีต่างๆ ตามปกตินั้น หากมีบทบัญญัติกฎหมายกำหนดไว้เป็นการเฉพาะแล้ว การชดเชยเยียวยาต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่มีกฎหมายและระเบียบกำหนดไว้ เช่น กรณีพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 ประกอบกับกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราในการจ่ายค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2546 ได้บัญญัติสิทธิในการได้รับความช่วยเหลือจากรัฐของบุคคลซึ่งได้รับความเสียหาย เนื่องจากการกระทำความผิดอาญาของผู้อื่นโดยตนมิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิด หรือบุคคลซึ่งตกเป็นจำเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดีที่ต่อมามีคำพิพากษาถึงที่สุดในคดีนั้นว่า จำเลยมิได้เป็นผู้กระทำความผิดไว้ รัฐมีหน้าที่จะต้องเยียวยาชดเชยความเสียหาย โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และขั้นตอน รวมทั้งจำนวนเงินที่บัญญัติไว้ในบทกฎหมายดังกล่าว 

บุคคลมีอำนาจกำหนดค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา คือ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา ตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติค่าตอบแทนฯ ดังกล่าว

การกำหนดค่าตอบแทน ค่าทดแทน และค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา 18 วรรคสอง และมาตรา 21 วรรคสอง คณะรัฐมนตรีไม่ใช่คณะกรรมการ ฯ ดังกล่าว การกระทำของคณะรัฐมนตรีและบุคคลที่เกี่ยวข้อง จึงเป็นการกระทำความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157

  • ยกตัวอย่างเยียวยายุค "สมชาย-อภิสิทธิ์"

ตัวอย่าง กรณีการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ในปี พ.ศ. 2535 ซึ่งถือเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง มีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2548 กำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าทดแทนหรือค่าเสียหายแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 โดยอ้างพระราชบัญญัติสงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการ การปฏิบัติงานของชาติ หรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม พ.ศ. 2543 มาเป็นแนวทางการเยียวยาเพื่อให้มีกฎหมายหรือระเบียบรองรับไว้ด้วยและใช้เป็นบรรทัดฐานในการชดเชยเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมืองในกรณีต่างๆ ต่อมาภายหลังให้อยู่บนมาตรฐานเดียวกันในหลายกรณี

กรณีการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกลุ่มพันธมิตรประชาชนฯ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2551 (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21ตุลาคม 2551) กำหนดให้นำมติคณะรัฐมนตรีในการจ่ายค่าทดแทนหรือค่าเสียหายแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 และ มติคณะรัฐมนตรีในการช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มาเป็นมาตรฐานในสมัยรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ รวมทั้งการสลายการชุมนุมในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในเหตุการณ์การชุมนุมทางการเมือง เมื่อวันที่ 8 ถึงวันที่ 14 เมษายน 2552 (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2552) และเหตุการณ์วันที่ 12 มีนาคม 2553 เป็นต้นไป (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2553) ซึ่งให้ถือเกณฑ์มาตรฐานการเยียวยาเดียวกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2551 มาเป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติ เนื่องจากรัฐบาลจำเป็นต้องคำนึงถึงความเป็นธรรม เพื่อให้การเยียวยาเป็นไปอย่างเท่าเทียมบนพื้นฐานของความเสมอภาคทุกกรณี

4.การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองในครั้งนี้มีลักษณะข้อเท็จจริงเข้าเงื่อนไขหลักเกณฑ์ตามที่พระราชบัญญัติทั้งสองฉบับข้างต้นกำหนดไว้ ซึ่งถือเป็นหลักเกณฑ์ที่มีกฎหมายและระเบียบในการชดเชยเยียวยาผู้เสียหายไว้เป็นการเฉพาะอยู่แล้ว แต่กรณีการจ่ายเงินเป็นการกระทำที่แตกต่างจากแนวปฏิบัติในการเยียวยาในอดีตที่เคยปฏิบัติมาอย่างสิ้นเชิง

ผู้ถูกกล่าวหาตามข้อเท็จจริงข้างต้นได้ให้ความเห็นชอบในการออกระเบียบและกฎเกณฑ์ขึ้นใหม่ เพื่อที่จะใช้บังคับกับกรณีนี้เป็นการเฉพาะ ทั้งวิธีการ ขั้นตอน รวมถึงอัตราจำนวนเงินในการชดเชยเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบเป็นจำนวนตัวเลขที่แตกต่างจากกรณีผู้ได้รับการเยียวยาในอดีตที่ผ่านมาอย่างมากอีกทั้งการออกมติดังกล่าวยังไม่มีกฎหมาย กฎกระทรวง หรือหลักเกณฑ์มาตรฐานในการเยียวยามาอ้างอิง โดยคณะรัฐมนตรีผู้อนุมัติหลักเกณฑ์ทราบดีว่าการเยียวยาที่ไม่มีกฎหมายรับรอง แต่คำนึงถึงการตอบแทนผลประโยชน์แก่พวกพ้องเป็นหลัก เนื่องจากผู้ได้รับการเยียวยาส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้สนับสนุนพรรคการเมืองรัฐบาลตั้งแต่ก่อนได้รับการเลือกตั้ง ประกอบกับข้อเท็จจริงปรากฏว่าเคยมีการให้คำมั่นสัญญาของนางธิดา ถาวรเศรษฐ แกนนำกลุ่ม นปช. ว่าหากพรรคเพื่อไทยได้เป็นรัฐบาลจะมีการจ่ายเงินให้แก่ผู้ชุมนุมเสื้อแดง ที่เสียชีวิตรายละสิบล้านบาท เป็นการตอบแทนผลประโยชน์จากการใช้เงินงบประมาณของแผ่นดินมาจ่ายเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของตนเป็นหลัก อันมีลักษณะเป็นการแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ซึ่งเป็นองค์ประกอบในการกระทำความผิดทางกฎหมายและถือเป็นการกระทำที่ไม่มีกฎหมายให้อำนาจไว้

เทียบกับบรรทัดฐานคำพิพากษาฎีกาที่ อม.1/2551 คดีหวยบนดินของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองกับข้อเท็จจริงในคดีนี้ มีความคล้ายคลึงกับการออกมติคณะรัฐมนตรีในกรณีนี้ด้วยเช่นกัน กล่าวคือ ในคำพิพากษาดังกล่าวระบุไว้ว่า แม้จำเลยจะอ้างว่าออกสลากตามนโยบายฝ่ายบริหารในการปราบปรามยาเสพติดและหวยบนดิน แต่ก็ควรที่จะต้องคำนึงว่าทั้งโครงการออกสลากและนโยบายฝ่ายบริหารที่จะต้องนำมาปฏิบัติจะต้องอยู่ภายใต้บังคับกฎหมาย ... หรือคำพิพากษาฎีกาหมายเลขแดงที่ อม.1/2548 กรณีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ออกระเบียบค่าตอบแทนให้แก่ตนเอง ซึ่งศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่าการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ออกระเบียบขึ้นค่าตอบแทนให้แก่ตนเองโดยไม่มีอำนาจ ถือเป็นการกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 หากเปรียบเทียบเหตุผลคำพิพากษาดังกล่าวกับข้อเท็จจริงกรณีนี้ การที่รัฐบาลโดยคณะรัฐมนตรีจะใช้อำนาจใด ๆ ในทางบริหารกำหนดการจ่ายเงินงบประมาณไปเยียวยาใช้จ่ายในกรณีใดจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายรองรับด้วยเช่นกัน และหากกระทำไปโดยไม่มีกฎหมายรองรับแล้ว ก็อาจมีความผิดทางกฎหมายได้เช่นในคำพิพากษาคดีดังกล่าว

5.การจ่ายเงินเยียวยาตามมติคณะรัฐมนตรีครั้งนี้ เป็นการนำรายจ่ายงบกลางประจำปี ในพระราชบัญญัติงบประมาณปี พ.ศ. 2555 ซึ่งส่วนมากจัดสรรไว้เพื่อให้ใช้จ่ายในกรณีที่กำหนดไว้ ซึ่งรวมถึง กรณีเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เพื่อการจ่ายเงินเยียวยาในกรณีนี้ ไม่ใช่กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นที่สมควรนำงบประมาณส่วนกลางจากส่วนนี้ไปเบิกจ่าย อีกทั้งการจ่ายเงินเยียวยากรณีนี้ไม่มีฐานกฎหมายใดรองรับอีกด้วย

6.การที่คณะรัฐมนตรีโดย นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในฐานะนายกรัฐมนตรี นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ ในฐานะรองนายกรัฐมนตรี และประธานคณะกรรมการประสานงานและติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (ปคอป.) ได้อนุมัติให้มีการจ่ายเงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง และกำหนดให้กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โดยมีนายปกรณ์ พันธุ ในฐานะอธิบดี เป็นหน่วยเบิกจ่ายเงินเยียวยาดังกล่าว โดยไม่มีอำนาจตามกฎหมายเป็นการกระทำความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157

7.ผู้กล่าวหาจึงขอกล่าวหาผู้ถูกกล่าวหาข้างต้นต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อพิจารณาไต่สวนข้อเท็จจริง และดำเนินการเรียกเงินค่าเยียวยา จำนวน 1,931,530,000 บาท จากผู้ถูกกล่าวหาคืนแผ่นดินต่อไป

ที่ประชุคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในวันดังกล่าวมี 6 ราย โดยมี 2 รายไม่ได้เข้าร่วมการประชุม พิจารณาแล้ว เห็นว่า 

ประเด็นแรก การจ่ายเงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมือง พ.ศ. 2548 - 2553 ชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่

ที่ประชุมพิจารณาแล้ว มีมติเป็นเอกฉันท์ ด้วยคะแนนเสียง 6 เสียง เห็นชอบตาม ความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในฐานะองค์คณะในการไต่สวนข้อเท็จจริงว่า จากการไต่สวนรับฟัง ได้ว่า นายปกรณ์ฯ เมื่อครั้งดํารงตําแหน่งอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ และในฐานะประธาน คณะทํางานช่วยเหลือเยียวยาด้านเงินตามหลักมนุษยธรรม มีหน้าที่ในดําเนินการจ่ายเงินเยียวยาแก่ผู้ได้รับ ผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมืองตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ให้ความช่วยเหลือเยียวยาด้านการเงินจาก เหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง พ.ศ.2548 - 2553 และเป็นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีในนโยบาย เรื่องการเยียวยาแก่ผู้ชุมนุมทางการเมืองฯ เมื่อไม่ปรากฏข้อเท็จจริง หรือพยานหลักฐานว่าในการทําหน้าที่ ดังกล่าวของนายปกรณ์ฯ กระทําลงเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดตอบแทน หรือกระทําโดยมี เจตนาทุจริตหรือเจตนาทําให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ ฉะนั้น กรณีไม่ปรากฏพยานหลักฐานว่าได้กระทําการอันมีมูลตามข้อกล่าวหา ให้ข้อกล่าวหาตกไป