ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แก้ไขล่าสุด

ขนาด : 20.5x27 ซม. (T)

คำนำ

ประมวลกฎหมายเป็นหัวใจสำคัญในการศึกษากฎหมายทุกระดับชั้น

ความถูกต้องของเนื้อหา การพิสูจน์อักษรอันเข้มข้นและความทันสมัยเป็นหัวใจ

สำคัญในการจัดพิมพ์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีการแก้ไขเพิ่ม

เติมหลายฉบับ มีรายละเอียดดังนี้

ฉบับที่ ๒- แก้ไขเพิ่มเติมจำนวน ๑๕ มาตรา โดยแก้ไขเพิ่มเติม

มาตรา ๖๔๑, มาตรา ๖๔๑/๑, มาตรา ๖๔๖, มาตรา ๖๙๑, มาตรา ๗๐๐.

มาตรา ๗๑๔๑-, มาตรา ๗๒๗, มาตรา ๗๒๗/๑, มาตรา ๗๒๔, มาตรา ๗๒๙,

มาตรา ๗๒๙/๑, มาตรา ๗๒๕, มาตรา ๗๓๗, มาตรา ๗๔๔

ฉบับที่ ๒๑ แก้ไขเพิ่มเติมจำนวน ๕ มาตรา โดยแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา

๖๘๑/๑, มาตรา ๖๘๕/๑, มาตรา ๖๙๑, มาตรา ๗๐๐, มาตรา ๗๒๗/๑

ฉบับที่ ๒๒ แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๓๐๕

แก้ไขเพิ่มเติมโดยคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่

๒๑/๒๕๖0 โดยแก้ไขเพิ่มเติมจำนวน 5 มาตรา คือ มาตรา ๑0๑๖. มาตรา

๑๑๐๔, มาตรา ๑๑๒๔ และเพิ่มเติมมาตรา ๑0๒0/๑, มาตรา ๑๒๐๑ วรรคสี่.

มาตรา ๑๒๓๗ (๕) และแก้ไขล่าสุดโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. "๕๖๔ จำนวน ๓ มาตราคือ

มาตรา ๗, มาตรา ๒๒๔, มาตรา ๒๒๔/๑

คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าในการจัดทำหนังสือประมวลกฎหมาย

แพ่งและพาณิชย์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใหม่ลำสุด พ.ศ. ๒๕๖๖) นี้ จะเป็น

ประโยชน์และสามารถนำไปใช้งานได้อย่างคุ้มค่า

คณะวิชาการ

The Justice Group

สารบัญ

ประมวลกฎหมายแพ็งและพาณิชย์

พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่ง

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

บรรพ ๑ และ ๒ ที่ได้ตรวจชำระใหม่

พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 1

แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ที่ได้ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. ๒๔๓๔

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

บรรพ ๑ หลักทั่วไป

ข้อความเบื้องต้น หลักทั่วไป

ลักษณะ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

ลักษณะ ๒ บุคคล

หมวด ๑ บุคคลธรรมดา

ส่วนที่ ๑ สภาพบุคคล

ส่วนที่ ๒ ความสามารถ

ส่วนที่ ๓ ภูมิลำเนา

ส่วนที่ ๔ สาบสูญ

หมวด ๒ นิติบุคคล

ส่วนที่ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

ส่วนที่ ๒ สมาคม

ส่วนที่ ๓ มูลนิธิ

ลักษณะ ๓ ทรัพย์

ลักษณะ ๔ นิติกรรม

หมวด บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ การแสดงเจตนา

หมวด ๓ โมฆะกรรมและโมมียะกรรม

หมวด ๔ เงื่อนไขและเงื่อนเวลา

ลักษณะ ๕ ระยะเวลา

ลักษณะ ๖ อายุความ

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ กำหนดอายุความ

บรรพ ๒ หนี้

ลักษณะ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๑ วัตถุแห่งหนี้

หมวด ๒ ผลแห่งหนี้

ส่วนที่ ๑ การไม่ชำระหนี้

ส่วนที่ ๒ รับช่วงสิทธิ

ส่วนที่ ๓ การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้

ส่วนที่ ๔ เพิกถอนการฉ้อฉล

ส่วนที่ ๕ สิทธิยึดหน่วง

ส่วนที่ บุริมสิทธิ

๑. บุริมสิทธิสามัญ

๒. บุริมสิทธิพิเศษ

(ก) บุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์

(ข) บุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย์

๓.ลำดับแห่งบุริมสิทธิ

๔.ผลแห่งบุริมสิทธิ

หมวด ๓ ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน

หมวด ๔ โอนสิทธิเรียกร้อง

หมวด ๕ ความระงับหนี้

ส่วนที่ ๑ การชำระหนี้

ส่วนที่ ๒ ปลดหนี้

ส่วนที่ ๓ หักกลบลบหนี้

ส่วนที่ ๔ แปลงหนี้ใหม่

ส่วนที่ ๕ หนี้เกลื่อนกลืนกัน

ลักษณะ ๒ สัญญา

หมวด ๑ ก่อให้เกิดสัญญา

หมวด ๒ ผลแห่งสัญญา

หมวด ๓ มัดจำและกำหนดเบี้ยปรับ

หมวด ๔ เลิกสัญญา

ลักษณะ ๓ จัดการงานนอกสั่ง

ลักษณะ ๔ ลาภมิควรได้

ลักษณะ ๕ ละเมิด

หมวด ๑ ความรับผิดเพื่อละเมิด

หมวด ๒ ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด

หมวด ๓ นิรโทษกรรม

บรรพ ๓ เอกเทศสัญญา

ลักษณะ ๑ ซื้อขาย

หมวด ๑ สภาพและหลักสำคัญของสัญญาซื้อขาย

ส่วนที่ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

ส่วนที่ ๒ การโอนกรรมสิทธิ์

หมวด ๒ หน้าที่และความรับผิดของผู้ขาย

ส่วนที่ ๑ การส่งมอบ

ส่วนที่ ๒ ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง

ส่วนที่ ๓ ความรับผิดในการรอนสิทธิ

ส่วนที่ ๔ ข้อสัญญาว่าจะไม่ต้องรับผิด หน้าที่ของผู้ซื้อ

หมวด ๔ การซื้อขายเฉพาะบางอย่าง

ส่วนที่ ๑ ขายฝากขายตามตัวอย่าง ขายตาม

ส่วนที่ ๒ คำพรรณนา ขายเผื่อชอบ

ส่วนที่ ๓ ขายทอดตลาด

ลักษณะ ๒ แลกเปลี่ยน

ลักษณะ ๓ ให้

ลักษณะ ๔ เช่าทรัพย์

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ หน้าที่และความรับผิดของผู้ให้เช่า

หมวด ๓ หน้าที่และความรับผิดของผู้เช่า

หมวด ๔ ความระงับแห่งสัญญาเช่า

ลักษณะ ๕ เช่าซื้อ

ลักษณะ ๖ จ้างแรงงาน

ลักษณะ ๗ จ้างทำของ

ลักษณะ ๘ รับขน

หมวด ๑ รับขนของ

หมวด ๒ รับขนคนโดยสาร ลักษณะ ๙ ยืม

หมวด ๑ ยืมใช้คงรูป

หมวด ๒ ยืมใช้สิ้นเปลือง

ลักษณะ ๑๐ ฝากทรัพย์

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ วิธีเฉพาะการฝากเงิน

หมวด ๓ วิธีเฉพาะสำหรับเจ้าสำนักโรงแรม

หมวด ๓ ลักษณะ ๑๑ ค้ำประกัน

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ ผลก่อนชำระหนี้

หมวด ๓ ผลภายหลังชำระหนี้

หมวด ๕ ความระงับสิ้นไปแห่งการค้ำประกัน

ลักษณะ ๑๒ จำนอง

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ สิทธิจำนองครอบเพียงใด

หมวด ๓ สิทธิและหน้าที่ของผู้รับจำนองและผู้จำนอง

หมวด ๔ การบังคับจำนอง

หมวด ๕ สิทธิและหน้าที่ของผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง

หมวด ๖ ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจำนอง ลักษณะ ๑ต จำนำ

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ของผู้จำนำและผู้รับจำนำ

หมวด ๓ การบังคับจำนำ

หมวด ๔ ความระงับสิ้นไปแห่งการจำนำ

ลักษณะ ๑๔ เก็บของในคลังสินค้า

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ ใบรับของคลังสินค้าและประทวนสินค้า

ลักษณะ ๑๕ ตัวแทน

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ หน้าที่และความรับผิดของตัวแทนต่อตัวการ

หมวด ๓ หน้าที่และความรับผิด ของตัวการต่อตัวแทน

หมวด ๔ ความรับผิดของตัวการและตัวแทน ต่อบุคคลภายนอก

หมวด ๕ ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาตัวแทน

หมวด ๖ ตัวแทนค้าต่าง

ลักษณะ ๑๖ นายหน้า

ลักษณะ ๑๗ ประนีประนอมยอมความ

ลักษณะ ๑๘ การพนันและขันต่อ

ลักษณะ ๑๙ บัญชีเดินสะพัด

ลักษณะ ๒๐ ประกันภัย

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ ประกันวินาศภัย

ส่วนที่ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

ส่วนที่ ๒ วิธีเฉพาะการประกันภัยในการรับขน

ส่วนที่ ๓ ประกันภัยค้ำจุน

หมวด ๓ ประกันชีวิต

ลักษณะ ๒๑ ตั๋วเงิน

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ ตั๋วแลกเงิน

ส่วนที่ ๑ การออกและสลักหลังตั๋วแลกเงิน

ส่วนที่ ๒ การรับรอง

ส่วนที่ ๓ อาวัล

ส่วนที่ ๔ การใช้เงิน

ส่วนที่ ๕ การสอดเข้าแก้หน้า

(๑) การรับรองเพื่อแก้หน้า

(๒) การใช้เงินเพื่อแก้หน้า

ส่วนที่ สิทธิไล่เบี้ยเพราะเขาไม่รับรอง

หรือไม่ใช้เงิน

ส่วนที่ ๗ ตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ

หมวด ๓ ตั๋วสัญญาใช้เงิน

หมวด ๔ เช็ค

หมวด ๕ อายุความ

หมวด ๖ ตั๋วเงินปลอมตั๋วเงินถูกลักและตั๋วเงินหาย

ลักษณะ ๒๒ หุ้นส่วนและบริษัท

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ ห้างหุ้นส่วนสามัญ

ส่วนที่ ๑ บทวิเคราะห์

ส่วนที่ ๒ ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกันเอง

ส่วนที่ ๓ ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนกับบุคคลภายนอก

ส่วนที่ ๔ การเลิกและชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนสามัญ

ส่วนที่ ๕ การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญ

ส่วนที่ ๖ การควบห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนเข้ากัน

หมวด ๓ ห้างหุ้นส่วนจำกัด

หมวด ๔ บริษัทจำกัด

ส่วนที่ ๑ สภาพและการตั้งบริษัทจำกัด ๑0๘๖-๑๑๑๖

ส่วนที่ ๒ หุ้นและผู้ถือหุ้น

ส่วนที่ ๓ วิธีจัดการบริษัทจำกัด

๑. บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

๒. กรรมการ

๓. ประชุมใหญ่

๔. บัญชีงบดุล

๕. เงินปันผลและเงินสำรอง

๖. สมุดและบัญชี

ส่วนที่ ๔ การสอบบัญชี

ส่วนที่ ๕ การตรวจ

ส่วนที่ ๖ การเพิ่มทุนและลดทุน

ส่วนที่ ๗ หุ้นกู้

ส่วนที่ ๘ เลิกบริษัทจำกัด

ส่วนที่ ๙ การควบบริษัทจำกัดเข้ากัน

ส่วนที่ ๑๐ หนังสือบอกกล่าว

ส่วนที่ ๑๑ การถอนทะเบียนบริษัทร้าง

ส่วนที่ ๑๒ การแปรสภาพห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นบริษัทจำกัด

หมวด ๕ การชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัด

หมวด ๖ การถอนทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัดร้าง

ลักษณะ ๒๓ สมาคม บรรพ ทรัพย์สิน

ลักษณะ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

ลักษณะ ๒ กรรมสิทธิ์

หมวด ๑ การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์

หมวด ๒ แดนแห่งกรรมสิทธิ์ และการใช้กรรมสิทธิ์

หมวด ๓ กรรมสิทธิ์รวม

ลักษณะ ๓ ครอบครอง

ลักษณะ ๕ ภาระจำยอม

ลักษณะ ๕ อาศัย

ลักษณะ ๖ สิทธิเหนือพื้นดิน

ลักษณะ ๗ สิทธิเก็บกิน

ลักษณะ ๘ ภาระติดพันใอสังหาริมทรัพย์

บรรพ ๕ ครอบครัว

ลักษณะ ๑ การสมรส

หมวด ๑ การหมั้น

หมวด ๒ เงื่อนไขแห่งการสมรส

หมวด ๓ ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา

หมวด ๔ ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา

หมวด ๕ ความเป็นโมฆะของการสมรส

หมวด ๖ การสิ้นสุดแห่งการสมรส

ลักษณะ ๒ บิดามารดากับบุตร

หมวด ๑ บิดามารดา

หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร

หมวด ๓ ความปกครอง

หมวด ๔ บุตรบุญธรรม

ลักษณะ ๓ ค่าอุปการะเลี้ยงดู

บรรพ ๖ มรดก

ลักษณะ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๑ การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก

หมวด ๒ การเป็นทายาท

หมวด ๓ การตัดมิให้รับมรดก

หมวด ๕ การสละมรดกและอื่นๆ

ลักษณะ ๒ สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ การแบ่งทรัพย์มรดกระหว่างทายาทโดยธรรมในลำดับและชั้นต่างๆ

หมวด ๓ การแบ่งส่วนมรดกของทายาทโดยธรรมในลำดับและชั้นต่างๆ

ส่วนที่ ๑ ญาติ

ส่วนที่ ๒ คู่สมรส

หมวด ๔ การรับมรดกแทนที่กัน

ลักษณะ ๓ พินัยกรรม

หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป

หมวด ๒ แบบพินัยกรรม

หมวด ๓ ผลและการตีความแห่งพินัยกรรม

หมวด ๔ พินัยกรรมที่ตั้งผู้ปกครองทรัพย์

หมวด ๕ การเพิกถอนและการตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม

หมวด ๖ ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม

ลักษณะ ๔ วิธีจัดการและปันทรัพย์มรดก

หมวด ๑ ผู้จัดการมรดก

หมวด ๒ การรวบรวมจำหน่ายทรัพย์มรดกเป็นตัวเงินและการชำระหนี้กับแบ่งปันทรัพย์มรดก

หมวด ๓ การแบ่งมรดก

ลักษณะ ๔ มรดกที่ไม่มีผู้รับ

ลักษณะ ๖ อายุความ

หมายเหตุ

พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ๒๔๔๘