ที่หนีบผม ขึ้นเครื่องได้ไหม การบินไทย

เชื่อได้ว่าหลายท่านมีความสงสัยว่าเราสามารถนำ ไดร์เป่าผมขึ้นเครื่องบินได้ไหม โดยเป็นคำถามที่หลายท่านอยากรู้เพราะเป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่มีความสำคัญในการพกติดตัวในยามที่เราต้องเดินทางไปตามสถานที่ต่างๆช่วยให้ผมของเราจัดทรงดูดีเนื่องจากบุคลิกภาพที่ดีย่อมสามารถทำให้คุณสร้างความประทับใจแรกเห็นให้กับผู้พบเห็นได้เพราะถ้าต้องไปติดต่อประสานงานตามสถานที่ต่างๆควรจำเป็นต้องแต่งตัวให้ดีตั้งแต่หัวจรดเท้า อุปกรณ์ชิ้นนี้จึงมีความสำคัญที่ขาดไม่ได้แต่เมื่อเราเดินทางโดยสายการบินหลายท่านมีความสงสัยว่าเราจะนำไดร์เป่าผมติดตัวไปได้หรือไม่เพราะบางโรงแรมไม่มีอุปกรณ์ชิ้นนี้อำนวยความสะดวก โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการควบคุมค่าใช้จ่ายที่พักในราคาประหยัดทำให้มักจะไม่มีอุปกรณ์ชิ้นนี้ภายในห้องพัก จึงมีความจำเป็นต้องนำติดตัวไปด้วย เราจะมาไขคำตอบสำหรับคำถามในข้อนี้กันดีกว่าค่ะเพื่อให้คุณสามารถมั่นใจได้มากขึ้นในการพกติดตัวขึ้นเครื่องบิน

สามารถนำไดร์เป่าผมขึ้นเครื่องบินได้ไหม 

ถึงแม้กฎการบินระหว่างประเทศจะมีความเข้มงวดและมีข้อจำกัดมากมายแต่ความรู้สึกกังวลว่าสิ่งไหนสามารถนำขึ้นเครื่องได้หรือไม่ได้ รวมไปถึงอุปกรณ์ใกล้ตัวอย่างไดร์เป่าผม โดยเคยมีชาวต่างชาติได้ให้ข้อมูลในส่วนนี้เพราะเป็นผู้ที่เดินทางไปยังประเทศต่างบ่อยครั้ง โดยเขาเป็นคนหนึ่งที่มีการพบอุปกรณ์ชิ้นนี้ติดตัวไปด้วยตลอดเนื่องจากจำเป็นต้องทำผมให้แห้งหลังสระเป็นประจำเนื่องจากเป็นคนที่เป็นหวัดง่ายอุปกรณ์ชิ้นนี้จึงขาดไม่ได้แต่ถ้าจะพักในห้องพักที่ราคาแพงที่มีอุปกรณ์ครบครัน อาจจะทำให้เปลืองค่าใช้จ่ายในส่วนนี้จึงเลือกวิธีหาห้องพักราคาประหยัดและนำไดร์เป่าผมติดตัวไปด้วยทุกครั้ง

ถึงแม้กฎของสายการบินแต่ละแห่งจะมีความแตกต่างกันแต่การนำไดร์เป่าผมขึ้นเครื่องสามารถทำได้เพียงแค่คุณโหลดไปพร้อมกับกระเป๋าสัมภาระลงใต้ท้องเครื่องและควรเลือกขนาดเล็กกะทัดรัดเพื่อจะประหยัดพื้นที่ในกระเป๋าของคุณ รวมถึงน้ำหนักโดยรวม ซึ่งทางทางที่ดีที่สุดเราแนะนำให้โหลดไปพร้อมกับสัมภาระเนื่องจากข้อกำหนดแต่ละสายการบินไม่เหมือนกัน  เพียงเท่านี้คุณก็สามารถพกอุปกรณ์ชิ้นนี้ไปได้ทุกที่โดยไม่ต้องกังวลว่าสายการบินจะห้ามนำขึ้นเครื่องอีกต่อไป

 

ไดร์เป่าผมสำหรับนำขึ้นเครื่องควรมีขนาดกี่วัตต์

เมื่อเราทราบกันแล้วว่าสามารถนำไดร์เป่าผมขึ้นเครื่องได้โดยใช้วิธีโหลดลงสัมภาระใต้ท้องเครื่อง ซึ่งส่วนใหญ่ทางสายการบินจะอนุญาตให้โหลดสินค้าตัวนี้ขึ้นเครื่องเพียงแต่บางสายการบินอาจมีข้อกำหนดไม่ให้ถือขึ้นด้านบน แต่ก็มีบางสายการบินอนุญาต เพื่อตัดปัญหาในส่วนนี้จึงแนะนำให้คุณโหลดลงไปพร้อมกับสัมภาระจึงจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด สำหรับไดร์เป่าผมที่เหมาะสำหรับในการพกพาติดตัวไปนั้นเราควรเลือกขนาดขนาดเล็กเพื่อประหยัดพื้นที่และพกพาได้สะดวก โดยวันนี้เรามี 3 รุ่นที่จะแนะนำ นั่นก็คือ

 

ที่หนีบผม ขึ้นเครื่องได้ไหม การบินไทย
 

CKL 750 a สำหรับรุ่นนี้มีขนาดเล็กพกพาสะดวกเป็นขนาดไดร์เป่าผม 850 วัตต์ราคาขายอยู่ที่150 บาทถึง 180 บาท

ที่หนีบผม ขึ้นเครื่องได้ไหม การบินไทย
nova 662 เป็นอีกหนึ่งรุ่นที่มีขนาดเล็กสะดวกในการพกพาแถมยังสามารถปรับระดับแรงลมได้ถึง 2 ระดับโดยตัวเครื่องยังถูกออกแบบมาให้สามารถพับเก็บได้สะดวกจับถนัดมือเป็นรุ่นที่ใช้กำลังไฟ 1000 วัตต์สำหรับราคาขายอยู่ที่ 150 บาทถึง 180 บาท
ที่หนีบผม ขึ้นเครื่องได้ไหม การบินไทย
nova N658 สำหรับรุ่นนี้ปรับระดับแรงลมได้ 2 ระดับสามารถพับเก็บตัวสินค้าได้ เป็นอีกหนึ่งรุ่นที่มีขนาดเล็กสีสันสดใสสะดุดตาใช้งานได้สะดวกเหมาะสำหรับพกพาไปทุกที่ตัวเครื่องใช้กำลังไฟ 1000 วัตต์

 

สำหรับตัวอย่างของไดร์เป่าผมขนาดเล็กจะช่วยทำให้คุณสามารถพกพาอุปกรณ์ชิ้นนี้ก็ได้ทุกที่เพื่อความสะดวกในการใช้งานเพราะในการเดินทางบางครั้งเราจำเป็นต้องทำให้ผมของเราแห้งเร็วหรือบางครั้งจำเป็นต้องแต่งทรงผมให้ดูดีในการติดต่อประสานงานกับสถานที่ต่างๆ โดยบางโรงแรมไม่ได้จัดอำนวยความสะดวกอุปกรณ์ชิ้นนี้ให้กับคุณ การพกติดตัวไปจึงเป็นทางเลือกที่ทำให้คุณสะดวกมากยิ่งขึ้นและในกรณีที่คนต้องเดินทางไปต่างประเทศสามารถโหลดลงพร้อมกับสัมภาระและต้องไม่ลืมปลั๊กไฟสำหรับใช้เดินทางไปต่างประเทศเพื่อให้สามารถใช้งานได้กับปลั๊กไฟในประเทศปลายทางที่คุณกำลังจะเดินทางไปถึง

 

ไดร์เป่าผมดี ๆ ทาง Hvshops ได้คัดสรรมาอย่างดี มีคุณภาพและราคาถูก ดูสินค้าได้ที่ ไดร์เป่าผมจาก Hvshops

อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินนี้ใช้เฉพาะช่วงของการเดินทางในประเทศเท่านั้นภายใต้เกณฑ์พิจารณาตามน้ำหนักและเป็นอัตราตายตัวดังนี้
บาทต่อกิโลกรัม (ระหว่าง...และ...)กรุงเทพฯเชียงใหม่เชียงใหม่60-เชียงราย70-หาดใหญ่80-ขอนแก่น55-กระบี่70-ภูเก็ต70125สุราษฎร์ธานี65-อุบลราชธานี60-อุดรธานี55-

หมายเหตุ
1. “ตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินในประเทศ” ข้างต้นนี้ให้ใช้ได้กับการเดินทางในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไปจนกว่าจะมีการประกาศเปลี่ยนแปลง
2. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินคิดตามน้ำหนักที่เกินเป็นกิโลกรัมและเป็นสกุลเงินบาท
3. ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินต่อกิโลกรัมสำหรับบริการในประเทศใดๆของการบินไทยคือ 1.5% ของค่าบัตรโดยสารชั้นประหยัดแบบบินตรงเที่ยวเดียวปกติสูงสุด
4. ไม่อนุญาตให้ใช้อัตราส่วนลดของเด็กและเด็กเล็กได้
5. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศจะแสดงแยกไว้เป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
6.หากมีการฝากสัมภาระผ่านตั้งแต่เที่ยวบินในประเทศของการบินไทยต่อเนื่องไปยังช่วงของการเดินทางระหว่างประเทศกับการบินไทย การคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะแบ่งคิดตามโซน
7. ช่วงของการเดินทางในประเทศกับการบินไทยคือโซน 1 (โปรดดูนิยามโซนต่างๆในตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับการเดินทางระหว่างประเทศ)
8. เงื่อนไขสำหรับข้อ 5 ในเรื่องการแปลงค่าเงิน ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินที่ประกาศเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐจะแปลงเป็นสกุลเงินท้องถิ่นโดยใช้อัตราขายของธนาคารในวันที่มีการคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินดังกล่าว

ค่าบริการสัมภาระส่วนเกิน (ภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3)  
สัมภาระน้ำหนักเกินทั้งหมดจะต้องถูกชั่งและเก็บค่าบริการก่อนที่ผู้โดยสารจะขึ้นเครื่อง น้ำหนักสัมภาระที่อนุญาตอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามเคบิน ระดับสถานะ สถานะทางการทหาร เอกสารเดินทางและวันที่ซื้อ ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะเรียกเก็บดังต่อไปนี้โดยไม่คำนึงถึงคลาสของตั๋ว

อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินนี้ใช้เฉพาะช่วงของการเดินทางภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3 ภายใต้เกณฑ์พิจารณาตามน้ำหนักและเป็นอัตราตามโซนดังนี้

ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลกรัมไปยัง โซน1ไปยัง โซน2ไปยัง โซน3ไปยัง โซน4
ไปยัง โซน5ไปยัง โซน6ออกจากโซน11215404570-ออกจากโซน21540455570-ออกจากโซน34045556070-ออกจากโซน44555607070-ออกจากโซน57070707070-ออกจากโซน6------

หมายเหตุ
1. “ตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3” ข้างต้นนี้ให้ใช้ได้กับการเดินทางในวันที่ 1 กันยายน 2561 เป็นต้นไปจนกว่าจะมีการประกาศเปลี่ยนแปลง
2. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินคิดตามน้ำหนักที่เกินเป็นกิโลกรัมสำหรับโซน 1-5
3. ไม่อนุญาตให้ใช้อัตราส่วนลดของเด็กและเด็กเล็กได้
4. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินไปยัง/มาจากโซน 6 หรือสหรัฐอเมริกา/แคนาดาคำนวณตามเกณฑ์พิจารณาตามจำนวนชิ้น (ข้อมูลเพิ่มเติมในหน้า “ค่าบริการสัมภาระส่วนเกิน (ไปยัง/มาจากสหรัฐอเมริกา/แคนาดา)
5. หากมีการฝากสัมภาระผ่านตั้งแต่เที่ยวบินในประเทศของการบินไทยต่อเนื่องไปยังช่วงของการเดินทางระหว่างประเทศกับการบินไทย การคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะแบ่งคิดตามโซน ช่วงของการเดินทางในประเทศกับการบินไทยคือโซน 1 (โปรดดูนิยามโซนต่างๆในตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับการเดินทางระหว่างประเทศ)
6. การแปลงค่าเงิน – ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินที่ประกาศเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐจะแปลงเป็นสกุลเงินท้องถิ่นโดยใช้อัตราขายของธนาคารในวันที่มีการคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินดังกล่าว
7. นิยามของโซนต่างๆ

โซน

นิยาม

โซน 1

บังคลาเทศ/ กัมพูชา/ จีน (คุนหมิง)/ ลาว/ มาเลเซีย/ พม่า/ สิงคโปร์/ ไทยและเที่ยวบินในประเทศไทยของการบินไทย/ เวียดนาม/ เส้นทางระหว่างฮ่องกง - จีนและไทเป/ เส้นทางระหว่าง ไทเปและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่างการาจีและมัสกัต/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและสิงคโปร์/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและกัวลาลัมเปอร์

โซน 2

บรูไนดารุสซาลาม/ จีน (ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เฉิงตู กวางโจว เซี่ยเหมิน ฉงชิ่ง ฉางซา)/ฮ่องกง - จีน/ อินเดีย/ อินโดนีเซีย/ มาเก๊า/ เนปาล/ ฟิลิปปินส์/ ศรีลังกา/ ไต้หวัน - จีน/ เส้นทางระหว่าง ฮ่องกงและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและฮ่องกง - จีน/ เส้นทางระหว่างภูเก็ตและปักกิ่ง

โซน 3

ออสเตรเลีย (เพิร์ท)/ บาห์เรน/ ญี่ปุ่น/ เกาหลี/ โอมาน/ ปากีสถาน/ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์/ อิหร่าน/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและเพิร์ท/ เส้นทางระหว่างภูเก็ตและไทเป

โซน 4

ออสเตรเลีย (ซิดนีย์ บริสเบน เมลเบิร์น)/อียิปต์/ อิสราเอล/ มาดากัสการ์/ ตุรกี/ รัสเซีย (มอสโก)/ เส้นทางระหว่าง ซิดนีย์และภูเก็ต

โซน 5

ออสเตรีย/ เบลเยียม/ เดนมาร์ค/ เชโกสโลวาเกีย/ ฟินแลนด์/  ฝรั่งเศส/ ฮังการี/ เยอรมัน/ อิตาลี/ เนเธอร์แลนด์/ นิวซีแลนด์/ นอร์เวย์/ โปแลนด์/ โปรตุเกส/ แอฟริกาใต้/ สเปน/ สวีเดน/ สวิตเซอร์แลนด์/ สหราชอาณาจักร/ เส้นทางระหว่าง สตอกโฮล์มและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง โคเปนเฮเกนและ ภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง แฟรงก์เฟิร์ตและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ลอนดอนและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ปารีสและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ซูริกและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง มิวนิกและภูเก็ต