ข้อใดกล่าวถึงเรื่อง

1.ข้อใดอธิบายความหมายของแนวคิดเชิงนามธรรม (abstract thinking) ได้อย่างชัดเจน 1. เป็นแนวคิดหนึ่งในการแก้ไขปัญหา และเป็นองค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ
2. หลักในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ
3. ขั้นตอนการทำงานของเทคโนโลยีอย่างละเอียดพร้อมวิธีการใช้งาน
4.  รูปแบบการทำงานที่ทำงานร่วมกันและสร้างวิธีการทำงานร่วมกัน 2.หลักการคิดเชิงคำนวณสามารถนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ได้บ้าง
1. การจัดเรียงสินค้า ณ ห้างสรรพสินค้า
2. การวางแผนจัดร้านค้า
3. การคำนวณการเล่นกีฬาโดยใช่สถิติเข้ามาเกี่ยวข้อง
4. ถูกทุกข้อ 3.การคัดเลือกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา เหมาะกับรูปแบบข้อมูลเป็นอย่างไร
1. รายละเอียดและข้อมูลจำนวนมาก
2. รายละเอียดและข้อมูลน้อย
3. ข้อมูลที่ซับซ้อน
4. ถูกทุกข้อ 4.ขั้นตอน Logical idea คือขั้นตอนใดของกระบวนการคิด
1. ทำงานร่วมกัน
2. ความคิดริเริ่ม
3. คิดเป็นระบบ
4. มีเหตุมีผล 5. การ Debugging คือวิธีใดในกระบวนการคิดเชิงคำนวณ
1. การคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. การแก้ไขจุดบกพร่อง 3. สร้างความอดทน ความพยายาม
4. สร้างความชัดเจน 6. กระบวนการแก้ปัญหาจะต้องเริ่มจากขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรก 1. ดำเนินการแก้ไข 2. วางแผนการแก้ปัญหา 3. ตรวจสอบและปรับปรุง 4. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 7. ขั้นตอนใดต่อไปนี้ เป็นขั้นตอนที่ต้องดำเนินการอย่างละเอียดและต้องมีการวางแผนอย่างถูกวิธี 1. ดำเนินการแก้ปัญหา 2. เลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 3. ตรวจสอบและปรับปรุง 4. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 8. ข้อใดคือปัจจัยหลักที่ทำให้การวางแผน ในการแก้ปัญหาของแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน 1. โชคชะตา 2. ความรู้และประสบการณ์ 3. อาชีพ 4. ตำแหน่งงาน จากข้อความต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 9 – 10
“ หากนักเรียนลืมเอาสมุดการบ้านกลับมา  นักเรียนมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร”
9. จากประโยคข้างต้น  ข้อใดคือขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา 1. นักเรียนทำการบ้านและนำสมุดมาโรงเรียน 2. นักเรียนจะไปทำการบ้านที่โรงเรียน 3. นักเรียนลืมเอาสมุดการบ้านมา 4. นักเรียนทำการบ้านเสร็จแล้ว 10. ข้อใดคือขั้นตอนของการวางแผน 1.นักเรียนทำการบ้านเสร็จแล้ว 2.นักเรียนลงมือทำการบ้านที่โรงเรียน 3.นักเรียนโดนครูทำโทษ 4.นักเรียนจะไปทำการบ้านที่โรงเรียน 11. ภาษาไพทอนเป็นภาษาระดับสูงแบบใด 1. Interpreter 2. Integrated 3. Immediate 4.Debugger 12. ข้อใดไม่ใช่จุดเด่นของภาษาไพทอน 1. ไวยากรณ์อ่านง่าย โดยจะมีโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน 2. ความเป็นภาษากาว สามารถเรียกใช้ภาษาโปรแกรมอื่น ๆได้หลายภาษา 3. ไลบารีในไพทอนต่าง ๆ เป็นการลดภาระของโปรแกรมเมอร์ 4. ในโหมดสคริปต์ ผู้ใช้ไม่ต้องพิมพ์คำสั่งไพทอนหลายคำสั่งได้ 13. ภาษาไพทอนจัดเป็นภาษาที่อยู่ในระดับสูงเทียบกับภาษาใด 1. C 2.  Visual Basic 3. Pascal 4. Cobol 14. การเขียนโปรแกรมไพทอนโดยทั่วไปด้วย editor สามารถเขียนได้กี่วิธี 1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 15. กลุ่มคำสั่ง การเลือกใช้ตัวแปรสำหรับเขียนโปรแกรมไพทอน แบ่งได้กี่กลุ่ม 1. 1 กลุ่ม 2. 2 กลุ่ม 3. 3 กลุ่ม 4. 4 กลุ่ม 16. ไพทอนมีตัวแปรที่รองรับการใช้งานตัวเลขแบบจำนวนเต็มมีขนาดใด 1. 1 – 50 หลัก
2. 50 – 100 หลัก 3. 101 – 150 หลัก      4. 151 – 200 หลัก 17. ถ้าต้องการใช้คำสั่งให้เต่าเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเราจะใช้คำสั่งใด 1. right( ) 2. left( )   3. forward( ) 4. goto( ) 18. กลุ่มคำสั่งการวนซ้ำจะประกอบด้วยคำสั่งใด 1. For 2. Repeat 3. While 4. Position

19. การใช้คำสั่ง while กับการกำหนดเงื่อนไขในลักษณะใด

1. While true 2. Append 3. Continue 4. Infinity repetition 20. คำสั่ง “เงื่อนไข” ที่เห็นในรูปแบบของคำสั่ง if ส่วนใหญ่ Python จะเรียกว่าอะไร 1.Operator 2.Operation 3.Comparson 4.Comperition
1.  ข้อใดกล่าวถึงแนวคิดเชิงคำนวณได้ไม่ถูกต้อง 

ก . เป็นการคิดเหมือนหุ่นยนต์

ข. เป็นการแก้ปัญหาแบบมีลำดับขั้นตอน

ค. เป็นทักษะที่นักพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องมี

ง. มีแนวคิดเชิงนามธรรมเป็นหนึ่งในทักษะย่อย

จ. วิธีการแก้ปัญหาที่มนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้

2. การที่มุ่งเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็นสอดคล้องกับแนวคิดใด

ก. แนวคิดเชิงรูปธรรม                     ข. แนวคิดเชิงนามธรรม

ค. แนวคิดการแยกย่อย                   ง. แนวคิดการจดจำรูปแบบ

จ. แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

3.   การแก้ปัญหาโดยการออกแบบกระบวนการทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอนสอดคล้องกับแนวคิดใด

ก. แนวคิดเชิงรูปธรรม                   ข. แนวคิดเชิงนามธรรม

ค. แนวคิดการแยกย่อย                 ง. แนวคิดการจดจำรูปแบบ

จ. แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

4.   ข้อใดไม่ใช่ทักษะย่อยของแนวคิดเชิงคำนวณ

ก. แนวคิดเชิงรูปธรรม                 ข. แนวคิดเชิงนามธรรม

ค. แนวคิดการแยกย่อย               ง. แนวคิดการจดจำรูปแบบ

จ. แนวคิดการออกแบบขั้นตอน

5.  ข้อใดสอดคล้องกับแนวคิดการแยกย่อย

ก. การเข้าใจรูปแบบ

ข. การแยกแยะปัญหา

ค. การคัดเลือกวัสดุที่นำมาใช้ทำชิ้นงาน

ง. การหาแนวคิดรวมยอดของแต่ละปัญหาย่อย

จ. การออกแบบลำดับขั้นตอนของการแก้ปัญหา

 6.ข้อใดไม่สอดคล้องกับขั้นตอนกำหนดปัญหา

ก. จัดทำแผนการดำเนินงาน

ข. การประชุมทีมงานผู้พัฒนา

ค. วิเคราะห์ความเป็นไปได้และวางแผน

ง. จัดทำเอกสารการวางแผนการดำเนินงาน

จ. ไม่สามารถปรับปรุงแก้ไขแผนการดำเนินงานได้

7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับขั้นตอนกับการวิเคราะห์ระบบ

ก. วิเคราะห์ความเป็นไปได้และวางแผน

ข. ในขั้นนี้ไม่จำเป็นต้องระบุวิธีการทำงาน

ค. เป็นขั้นตอนการทำความเข้าใจกับระบบงาน

ง. ในขั้นนี้มีการจัดทำเอกสารการวิเคราะห์ระบบ

จ. มีขั้นตอนย่อย 2 ขั้นตอน คือ สัมภาษณ์ผู้ใช้งาน  และวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ

8.ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการสร้างแผนภาพกระแสข้อมูล

ก. เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้งาน

ข. เป็นแผนภาพที่ประกอบด้วยกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว

ค. เป็นแผนภาพที่ใช้ในการพัฒนาต่อในขั้นตอนของการออกแบบระบบ

ง. เป็นแผนภาพที่ใช้ในการอ้างอิง หรือเพื่อใช้ในการพัฒนาต่อในอนาคต
จ. เป็นแผนภาพที่ที่สรุปรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการวิเคราะห์ในลักษณะของรูปแบบที่เป็นโครงสร้าง

9.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับแผนภาพกระแสข้อมูล

ก. ตัวแทนข้อมูล                                    ข. แหล่งจัดเก็บข้อมูล

ค. ขั้นตอนการดำเนินงาน                       ง. เส้นทางการไหลของข้อมูล

จ. หน้าจอส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน

10.ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนเบื้องต้นของการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี

ก. ติดตั้งระบบ                                    ข. ออกแบบระบบ

ค. เลือกวิธีที่ดีที่สุด                             ง. บำรุงรักษาระบบ

จ. พัฒนาระบบ และทดสอบระบบ

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...