เฉลยแบบฝึกหัดการส่งและจ่ายไฟฟ้า 3104-2005

แผนการจดั การเรียนรู้ [ดงึ กดดู
ความ
รหสั วชิ า 30104 – 2005 วชิ าการส่งและจ่ายไฟฟ้า สนใจข
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูง พทุ ธศักราช 2563 องผอู้ า่
นของ
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม คณุ ดว้
สาขาวชิ าไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากาลงั ยคาอา้
งองิ ทยี่
จัดทาโดย อดเยยี่
มจากเ
ว่าที่ ร.ต. ประจวบ แสงวงค์ อกสาร
แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั หรอื ใช้
พน้ื ทนี่ ้ี
วทิ ยาลยั เทคนคิ สว่างแดนดนิ เพอื่ เน้
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นจุด
สาคญั
กระทรวงศึกษาธกิ าร เมอื่ ตอ้
งการว
างกลอ่
งขอ้ คว
ามทสี่ ่
วนใดก็
ตามข
องหน้
าน้ี
กเ็ พยี ง
แคล่ า
กกล่อ
งขอ้ คว
ามนนั้

มา]

คานา

ในการจดั ทาแผนการสอนในรายวิชาการส่งและจ่ายไฟฟ้า รหสั วิชา 30104-2005 หลกั สูตร
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง พุทธศกั ราช 2563 โดยมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพเพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีความรู้
ความสามารถ ทศั นคติและคุณธรรม สามารถประกอบอาชีพได้ จึงปรับปรุงแผนการสอนใหม้ ีเน้ือหา
ในรายวชิ าใหเ้ กิดการเรียนรู้หลกั ทฤษฎี สอดคลอ้ งกบั การฝึกทกั ษะปฏิบตั ิการไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และมี
ความรู้ความเขา้ ใจอยา่ งถ่องแท้

ดงั น้นั จึงหวงั วา่ การจดั ทาแผนการสอนในรายวิชาการส่งและจ่ายไฟฟ้า ในคร้ังน้ีจะ
ก่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อผเู้ รียนและสอดคลอ้ งกบั นโยบายการจดั การของสานกั งานคระกรรมการการ
อาชีวศึกษาโดยมุง่ เนน้ ใหเ้ กิดทกั ษะเพอื่ พฒั นากาลงั คนระดบั เทคนิคและระดบั เทคโนโลยที ี่มีคุณภาพ
ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมและเศรษฐกิจในปัจจุบนั

ประจวบ แสงวงค์
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563

สารบญั ข

เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบญั ข
ประโยชน์แผนการสอน 1
ประโยชน์ของแผนการสอนท่ีมีต่อครู 1
ประโยชน์แผนการสอนท่ีมีต่อผเู้ รียน 1
ประโยชนข์ องแผนการสอนที่มีตอ่ ผบู้ ริหาร ศึกษานิเทศก์ และสถานศึกษา 2
ข้นั ตอนการทาแผนการสอน 2
1.ศึกษาหลกั สูตร 2
2. การแบ่งเน้ือหาวชิ า 3
3. วธิ ีการสอน 3
4. การผลิตส่ือการเรียนการสอน 4
5. สร้างเครื่องมือวดั และประเมินผล 4
6. กาหนดโครงสร้างแผนการสอน 6
7. การเขียนแผนการสอน 8
แผนการสอนรายสัปดาห์
แผนการสอนที่ 1-3 ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า 12

- โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากาลงั 31
- วงจรของระบบสายส่งและจ่ายไฟฟ้า
- แรงดนั ในระบบส่ง และจ่ายพลงั งานไฟฟ้า 57
แผนการสอนท่ี 4-5 อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
- ชนิดของเสาไฟฟ้า
- การปักเสาพาดสายไฟฟ้า
- ฉนวนไฟฟ้าของระบบสายส่งไฟฟ้า
- ลกั ษณะและชนิดของสายส่งไฟฟ้า
- อุปกรณ์ป้องกนั วงจรของระบบสายส่งไฟฟ้า
แผนการสอนท่ี 6-8 การหาค่าพารามิเตอร์ตา่ งๆของสายส่งไฟฟ้า
- คา่ ความตา้ นทานและค่าความตา้ นทานประสิทธิผล
- คา่ ความเหน่ียวนาของสายส่งไฟฟ้า
- ค่าความจุไฟฟ้าของสายส่งไฟฟ้า

สารบญั (ต่อ) ค

เร่ือง หน้า
แผนการสอนท่ี 9 -11 การคานวณกระแสและแรงดนั ไฟฟ้าในสายส่งไฟฟ้า 117
161
- โครงสร้างของระบบผลิตและวงจรสมมลู ของสายส่ง 183
- สายส่งระยะส้นั
- สายส่งระยะปานกลาง 202
- สายส่งระยะยาว
แผนการสอนที่ 12 -14 การคานวณหาแรงดึงและระยะหย่อนของสายส่งไฟฟ้า
- การคานวณหาแรงดึงและระยะหยอ่ นในสายตวั นา
- การคานวณกรณีท่ีมีเสาไฟฟ้าอยตู่ า่ งระดบั กนั
- ผลกระทบต่อเสาท่ีเกิดจากแรงลม
- คา่ แฟกเตอร์ความปลอดภยั
แผนการสอนท่ี 15-18 การคานวณค่าเปอร์ยนู ิต
- รีแอคแตนซ์ ไดอะแกรม
- การคานวณหาคา่ เปอร์ยนู ิต
- การกาหนดค่าฐานในระบบเปอร์ยนู ิต
- การคานวณหาค่าเปอร์ยนู ิตของระบบไฟฟ้า 1 เฟส
- การคานวณหาคา่ เปอร์ยนู ิตของระบบไฟฟ้า 3 เฟส
- การคานวณคา่ อิมพีแดนซ์เปอร์ยนู ิตเมื่อคา่ ฐานตา่ งกนั
บรรณานุกรม

1

แผนการสอน
ความหมายของแผนการสอน(วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ 2542 : 1)
แผนการสอน หมายถึง แผนการหรือโครงการที่จดั ทาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเพือ่ ใชใ้ นการปฏิบตั ิการ
สอนในรายวิชาใดวชิ าหน่ึง เป็นการเตรียมการสอนอย่างมีระบบและเป็นเครื่องมือที่ช่วยใหค้ รูพฒั นา
จดั การเรียนการสอนไปสู่จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
ประโยชน์แผนการสอน(สิทธ์ิ สายหลา้ 2543: 218)

การจดั ทาแผนการสอนของครูก่อใหเ้ กิดประโยชน์โดยตรงตอ่ ผสู้ อน ต่อผเู้ รียน และ
สถานศึกษาดงั น้ี
ประโยชน์ของแผนการสอนที่มีต่อครู
1. เป็นเคร่ืองมือที่กาหนดให้ครูศึกการายละเอียดตา่ งๆ เก่ียวกบั วิชาท่ีสอนลว่ งหนา้ ก่อนท่ีจะลงมือ
เขยี นแผนการสอน ครูจาเป็นตอ้ งศึกษา จุดประสงคร์ ายวชิ า คาอธิบายรายวิชา ตาราเอกสาร และส่ือ
การสอนท่ีเกี่ยวขอ้ งล่วงหนา้ อย่างละเอียด แผนการสอนจึงช่วยใหค้ รูมีความรู้เก่ียวกบั เรื่องท่ีสอน
ลว่ งหนา้ อยา่ งกวา้ งขวาง
2. สร้างความมน่ั คงแก่ผสู้ อน ครูท่ีเตรียมการสอนมาดีจะมีความเช่ือมนั่ และแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ได้
เป็นอยา่ งดี
3. สร้างความศรัทธาแกผเู้ รียน การที่ครูวางแผนการสอน ทาใหก้ ารดาเนินการสอนไดด้ ี และมีความ
พร้อมในการทาหนา้ ที่ท่ียอ่ มเป็นที่ศรัทธาของลกู ศิษย์
4. ช่วยใหค้ รูกาหนดจุดประสงค์ เน้ือหา กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการสอนและวธิ ีการวดั และ
ประเมินผลไวอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั เวลา วยั ของผเู้ รียน สภาพของหอ้ งเรียนและทอ้ งถ่ิน
5. ใชเ้ ป็นหลกั ฐานอา้ งอิงในการจดั การเรียนการสอนแก่ศึกษานิเทศก์ ผบู้ ริหารศึกษาและผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ ง
6. เป็นเครื่องยนื ยนั วา่ ครูไดว้ างแผนการสอน เตรียมการสอน และดาเนินการสอนอยา่ งมีทิศทาง
7. ช่วยอานวยความสะดวกแก่ครูผสู้ อนแทน แผนการสอนที่ดีท่ีสุดคือแผนการสอนท่ีมีรายละเอียด
และความชดั เจนมากพอ ท่ีจะทาใหค้ รูผสู้ อนแทนทาหนา้ ท่ีไดเ้ หมือนหรือใกลเ้ คยี งกบั เจา้ ของ
แผนการสอนมากท่ีสุด
8. ใชเ้ สนอเป็นผลงานวิชาการในการเล่ือนระดบั ได้
ประโยชน์แผนการสอนทมี่ ีต่อผู้เรียน

ไดฝ้ ึกฝนเล่าเรียนส่ิงที่ครูเตรียมไวเ้ ตรียมไวแ้ ลว้ อยา่ งมีเป้าหมายการที่ครูใหผ้ เู้ รียนไดท้ ราบ
จุดประสงคก์ ารสอนในแตล่ ะบทเรียนเป็นการกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนเห็นความสาคญั และเห็นคุณคา่ ของ
การเรียน

ช่วยขจดั ความเบื่อหน่ายในการเรียนของผเู้ รียน การที่ครูผสู้ อนไดเ้ ตรียมกิจกรรมการเรียน
การสอนมาเป็นอยา่ งดี โดยคานึงถึงความสามารถของผเู้ รียนจะช่วยขจดั ความน่าเบ่ือหน่ายได้ เมื่อจบ

2

การศึกษาไปแลว้ จะเป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพของชาติ คือ มีความรู้ ความสามารถในวิชาท่ีเล่าเรียนมา
สามารถนาไปประกอบอาชีพได้ และมีคุณธรรมศีลธรรมตามที่ไดฝ้ ึกฝนอบรมมา ช่วยใหอ้ ยใู่ นสงั คม
ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
ประโยชน์ของแผนการสอนทมี่ ตี ่อผ้บู ริหาร ศึกษานิเทศก์ และสถานศึกษา
1.ใชเ้ ป็นหลกั ฐานประกอบนิเทศและติดตามผลการปฏิบตั ิงานของครู
2. ใชป้ ระกอบการพจิ ารณาความดีความชอบของครูในการเลื่อนระดบั ข้นั เงินเดือนและคดั เลือกครู
ดีเด่น
3. หากครูมีการวางแผนการสอนเป็นอยา่ งดี จดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามที่กาหนดไวย้ อ่ มส่งผล
ใหผ้ เู้ รียนเมื่อจบการศึกษาเป็นบุคคลที่มีคณุ ภาพ คอื มีความรู้ในวิชาท่ีเลา่ เรียนมาอยา่ งแทจ้ ริงและมี
คณุ ธรรมศีลธรรมท่ีเป็นตวั อยา่ งแก่บคุ คลในสงั คม ชื่อเสียงในสถานศึกษากเ็ ป็นที่ประจกั ษแ์ ก่สงั คม
ดว้ ย
4. ช่วยใหก้ ารจดั การศึกษาเป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตรและสนองความตอ้ งการของ
ตลาดแรงงาน
ข้นั ตอนการทาแผนการสอน
1.ศึกษาหลกั สูตร

การทาแผนการสอนน้นั ข้นั แรกจะตอ้ งทาการศึกษาหลกั สูตรอยา่ งละเอียด ต้งั แต่หลกั การ
จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร จุดประสงคร์ ายวิชาและคาอธิบายรายวชิ าท้งั น้ีเพ่ือจะไดว้ างแผนให้
สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรท่ีกาหนดไวด้ งั ต่อไปน้ี
30104 – 2005 การส่งและจ่ายไฟฟ้า
จดุ ประสงค์รายวิชา
1. เขา้ ใจระบบการส่งและการจ่ายไฟฟ้า อปุ กรณ์และวงจรระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า
2. สามารถคานวณหาพารามิเตอร์ตา่ งๆ ของระบบสายส่ง
3. มีกิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความประณีต รอบคอบ และศึกษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติม
สมรรถนะรายวชิ า
แสดงความรู้เกี่ยวกบั ระบบการส่งและจ่ายไฟฟ้า อุปกรณ์ และวงจรของระบบส่งและ
จ่ายไฟฟ้า
2. แสดงความรู้เกี่ยวกบั แรงดึงและระยะหยอ่ นของสายไฟฟ้า
3. พยากรณ์โหลด หาพารามิเตอร์ต่างๆของระบบส่งกาลงั และจาหน่ายไฟฟ้า อุปกรณ์ส่งกาลงั และ
จาหน่ายไฟฟ้า

3

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาเก่ียวกบั ระบบส่งกาลงั และจาหน่ายไฟฟ้า การพฒั นาระบบไฟฟ้ากาลงั โครงสร้าง
ของระบบไฟฟ้ากาลงั การผลิตไฟฟ้า ระบบส่งกาลงั ไฟฟ้า การหาแรงดึงและระยะหยอ่ นของ
สายไฟฟ้า คา่ พารามิเตอร์ของสายส่ง ความสมั พนั ธ์ของแรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในระบบส่งจ่าย
และระบบจาหน่ายสถานีไฟฟ้ายอ่ ย การจดั สมั พนั ธข์ องฉนวนระบบจาหน่าย คณุ ลกั ษณะของโหลด
การพยากรณ์โหลด การส่งกาลงั ไฟฟ้าดว้ ยแรงดนั สูง การคานวณระบบต่อหน่วย
2. การแบ่งเนื้อหาวิชา
วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า 30104-2005 ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง พุทธศกั ราช 2563
กาหนดไว้ 3 ชว่ั โมงต่อสัปดาห์ จานวน 3 หน่วยกิต ขา้ พเจา้ ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เน้ือหาวชิ าน้ีจากหนงั สือ
ตารา วิชาการตา่ งๆ ท่ีมีเน้ือหาตรงตามหลกั สูตรที่กาหนดและใหแ้ บง่ เน้ือหาวชิ าออกเป็น 6 บท ดงั น้ี
บทท่ี 1 ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
บทที่ 2 อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
บทที่ 3 การหาคา่ พารามิเตอร์ต่างๆของสายส่งไฟฟ้า
บทท่ี 4 การคานวณกระแสและแรงดนั ไฟฟ้าในสายส่งไฟฟ้า
บทที่ 5 การคานวณคา่ เปอร์ยูนิต
บทท่ี 6 การคานวณหาแรงดึงและระยะหยอ่ นของสายส่งไฟฟ้า
3. วิธีการสอน

การเลือกวธิ ีการสอนใหส้ อดคลอ้ งสมรรถนะอาชีพท้งั ดา้ นความรู้ทฤษฎี ดา้ นทกั ษะการ
ปฏิบตั ิการและการบูรณาการคณุ ธรรมจริยธรรมจะใชว้ ิธีการสอนท่ียดึ ผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยเนน้ ให้
ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรม การเรียน การสอน ซ่ึงประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอนดงั น้ี
3.1 ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน

การนาเขา้ สู่บทเรียนหรือการนาเรื่องเป็นวิธีการเรียกความสนใจจากผเู้ รียน และเป็นการ
เตรียมตวั ผเู้ รียนวา่ ครูผสู้ อนตอ้ งการให้ผูเ้ รียนทาอะไรบา้ งในระหวา่ งเรียนการสอนของหน่วยการ
สอนดงั น้นั การนาเขา้ สู่บทเรียนจึงตอ้ งส้นั และตรงตามวตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไว้ สามารถทาไดห้ ลายวิธี
เช่นการใชค้ าพดู จูงใจการต้งั คาถามเพือ่ คน้ หาคาตอบ การใชภ้ าพประกอบการเรียนการใชว้ ดี ีทศั น์
และการใชส้ ่ือเพอื่ ประกอบการสอนใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหา จุดประสงคข์ องการนาสู่บทเรียนคือ
ครูผสู้ อนตอ้ งการบอกทิศทางใหก้ บั ผเู้ รียน ทบทวนใหร้ ะลึกถึงเร่ืองที่เคยศึกษามา และเพิ่มโอกาส
ใหผ้ เู้ รียนรู้หลกั ทฤษฎีประกอบกบั การฝึกวชิ าชีพการพนั เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั
3.2 ข้นั กิจกรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นหวั ใจการสอนแต่ละหน่วย ดงั น้นั ในส่วนน้ีจึงเป็นส่วนท่ี
สาคญั ของแผนการสอนการสอนในหน่วยของการสอนทุกช่วงของการสอนวชิ าชีพตอ้ งประกอบไป
ดว้ ยกิจกรรมการสอนหลายๆ แบบที่มีความสมั พนั ธ์กนั และมีรูปแบบแตกตา่ งกนั ออกไปไดก้ ิจกรรม

4

ท่ีจะใหผ้ ลการเรียนรู้แก่ผเู้ รียนไดแ้ ก่ การแบ่งกลมุ่ ทางานการถามตอบ การทดลองเพื่อทดสอบ
การศึกษาจากตวั อยา่ งจริงและการฝึกทกั ษะจากการปฏิบตั ิงานที่ไดร้ ับมอบหมาย
3.3 ข้นั สรุปบทเรียน
การสรุปจะดาเนินในข้นั สุดทา้ ยเมื่อสอนเน้ือหาครอบคลมุ วจะสรุปก่อนหมดเวลา 5-10 นาที การ
สรุปเป็นการทบทวนเน้ือหาใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจเน้ือหาในบทเรียนดีข้นึ นกั เรียนและครูผสู้ อนช่วยกนั
สรุปซ่ึงอาจสรุปดว้ ยวาจา ใชอ้ กสารสรุปใชว้ ีดีทศั น์ ใชแ้ ผนภมู ิหรือแผนผงั เม่ือมีการสรุปนกั เรียน
จะบนั ทึกสาระสาคญั เพือ่ ทบทวนในโอกาสตอ่ ไป
4. การผลติ ส่ือการเรียนการสอน

การใชส้ ื่อเพ่ือการเรียนการสอนจะทาใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ใจเน้ือหาวชิ าไดอ้ ยา่ งงา่ ยและรวดเร็ว
ดงั น้นั จึงทาการผลิตและจดั หาสื่อการเรียนการสอนท่ีจะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจ
เกิดทกั ษะและเจตคติท่ีสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรียนการสอน โดยจดั หาและผลิตสื่อการเรียน
การสอน เช่น

- จดั สร้างชุดสาธิตการกาเนิดแรงดนั ไฟฟ้า
- จดั สร้างชุดสาธิตการปักเสาพาดสาย
- แผน่ ใส
- ใบความรู้
- ใบงาน
- ชุดสาธิตการส่งจ่ายไฟฟ้า
- วีดีทศั น์ การส่งจ่ายไฟฟ้าในประเทศไทย
5. สร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผล
การวดั และประเมินผลเป็นข้นั ตอนหน่ึงของการเรียนการสอนที่จะทาใหท้ ราบผลสัมฤทธ์ิ
การเรียนรู้ของผเู้ รียนวา่ มีการพฒั นาทางการเรียน หรือมีความรู้ ความเขา้ ในเน้ือหาที่เรียนมามีมาก
นอ้ ยเพียงใด ดงั น้นั การสร้างเครื่องมือวดั และประเมินผลท่ีสร้างข้นึ มีดงั น้ี
5.1 การสงั เกต จะสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอนของนกั เรียนเช่น
- ความสนใจและเอาใจใส่ต่อการเรียนการสอนท้งั ทฤษฎีและขณะปฏิบตั ิงาน
- ความร่วมมือในการจดั ทากิจกรรมในช้นั เรียน
- การจดั ทาใบงาน

5

5.2 การทดสอบและทบทวนความรู้
- การทาแบบฝึกหดั เพ่ิมเติม เสริมทกั ษะ และทบทวนความรู้
- แบบทดสอบระหวา่ งหน่วยเรียน
- ตรวจผลงานจากการปฏิบตั ิงาน

5.3 อื่นๆ
- ผลสมั พนั ธก์ ารปฏิบตั ิงานเชิงวิชาชีพ
- การนาเสนอรายงานเป็นรายลกั ษณ์อกั ษร
- การนาเสนอรายงานดว้ ยปากเปลา่

6

6. กาหนดโครงสร้างแผนการสอน

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า 3 หน่วยกิต 3 คาบ/สปั ดาห์ ไดแ้ บ่งเน้ือหาวชิ าหน่วยการสอนดงั น้ี

รหสั วิชา 30104-2005 ชื่อวชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า จานวน 3 คาบ/สัปดาห์ รวม 54 คาบ

หน่วยท่ี แผนการสอนที่ หวั ข้อเรื่อง จานวนคาบ

1 1-3 ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า 9

- โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากาลงั

- วงจรของระบบสายส่งและจ่ายไฟฟ้า

- แรงดนั ในระบบส่ง และจ่ายพลงั งาน

ไฟฟ้า

2 4-5 อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า 6

- ชนิดของเสาไฟฟ้า

- การปักเสาพาดสายไฟฟ้า

- ฉนวนไฟฟ้าของระบบสายส่งไฟฟ้า

- ลกั ษณะและชนิดของสายส่งไฟฟ้า

- อุปกรณ์ป้องกนั วงจรของระบบสายส่ง

ไฟฟ้า

3 6-8 การหาค่าพารามิเตอร์ต่างๆของสายส่งไฟฟ้า 9

- ค่าความตา้ นทานของสายส่งไฟฟ้า

- คา่ ความเหนี่ยวนาของสายส่งไฟฟ้า

- คา่ ความจุไฟฟ้าของสายส่งไฟฟ้า

4 9-11 การคานวณกระแสและแรงดันไฟฟ้าในสายส่ง 9

ไฟฟ้า

- โครงสร้างของระบบผลิตและวงจรสมมลู

ของสายส่ง

- สายส่งระยะส้ัน

- สายส่งระยะปานกลาง

- สายส่งระยะยาว

7

หน่วยท่ี แผนการสอนที่ หัวข้อเร่ือง จานวนคาบ
5 12-14 9
การคานวณหาแรงดึงและระยะหย่อนของสาย
ส่งไฟฟ้า

- การคานวณหาแรงดึงและระยะหยอ่ นใน
สายตวั นา

- การคานวณกรณีท่ีมีเสาไฟฟ้าอยตู่ ่าง
ระดบั กนั

- ผลกระทบต่อเสาที่เกิดจากแรงลม
- คา่ แฟกเตอร์ความปลอดภยั

6 15-18 การคานวณค่าเปอร์ยูนติ 12
- รีแอคแตนซ์ ไดอะแกรม

- การคานวณหาค่าเปอร์ยนู ิต

- การกาหนดค่าฐานในระบบเปอร์ยนู ิต

- การคานวณหาคา่ เปอร์ยนู ิตของระบบ

ไฟฟ้า 1 เฟส

- การคานวณหาค่าเปอร์ยนู ิตของระบบ

ไฟฟ้า 3 เฟส

- การคานวณคา่ อิมพีแดนซเ์ ปอร์ยนู ิตเมื่อ

คา่ ฐานตา่ งกนั

รวม 54

8

7. การเขียนแผนการสอน เรียงลาดับตามหวั ข้อดงั นี้
7.1 หวั ขอ้ เร่ือง เป็นหวั ขอ้ หลกั ของการสอนในแตล่ ะแผนการสอน
7.2 จุดประสงคก์ ารเรียนการสอน ประกอบดว้ ยจุดประสงคท์ ว่ั ไปและจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
7.3 สาระสาคญั เป็นการสรุปสาระสาคญั ของเน้ือหาในแต่ละหน่วยการเรียน
7.4 เน้ือหาสาระ เป็นรายละเอียดของเน้ือหาท่ีใชใ้ นการเรียนการสอน
7.5 กิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน คือ ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
ข้นั กิจกรรมการเรียนการสอน และข้นั สรุป
7.6 งานท่ีมอบหมายหรือกิจกรรม เป็นงานหรือกิจกรรมที่ครูผสู้ อนมอบหมายใหน้ กั เรียนทาเมื่อสอบ
จบในแต่ละหน่วยการเรียน
7.7 สื่อการเรียนการสอน หมายถึง วสั ดุอุปกรณ์ตา่ งๆท่ีใชป้ ระกอบการเรียนการสอนท่ีผสู้ อนผลิตข้นึ
เองหรือจดั หามา ซ่ึงมีท้งั ส่ือส่ิงพิมพ์ ชุดสาธิต และสื่อโสตทศั น์
7.8 การวดั และประเมินผล เป็นเคร่ืองมือในการวดั ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะของผเู้ รียนให้
เป็นไปตามวตั ถุประสงคก์ ารเรียนการสอนที่กาหนดไวซ้ ่ึงประกอบดว้ ย แบบทดสอบ แบบฝึกหดั
และเฉลย เป็นตน้
7.9 บนั ทึกหลงั สอน เมื่อสอนจบแตล่ ะแผนการสอน จะตอ้ งบนั ทึกหลงั การสอนทุกคร้ังท้งั น้ีเพื่อจะ
ไดน้ าขอ้ บกพร่องการสอนแตล่ ะแผนไปปรับปรุงแกไ้ ขต่อไป

แผนการสอน 9

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า รหัสวชิ า 30104-2005 ท-ป-น
3-0-3
จานวน 3 ช่ัวโมง จานวน 3 หน่วยกติ

รหสั วิชา 30104-2005 แผนการสอนรายวิชา
ระดบั ช้นั ปวส. วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า
ทฤษฎีรวม 54 คาบ สาขาวชิ า/กลมุ่ วิชา/แผนกวชิ า ไฟฟ้ากาลงั

จดุ ประสงค์รายวชิ า
1. เขา้ ใจระบบการส่งและการจ่ายไฟฟ้า อุปกรณ์และวงจรระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า
2. สามารถคานวณหาพารามิเตอร์ต่างๆ ของระบบสายส่ง
3. มีกิจนิสัยในการทางานดว้ ยความประณีต รอบคอบ และศึกษาคน้ ควา้ เพมิ่ เติม

สมรรถนะรายวชิ า
แสดงความรู้เก่ียวกบั ระบบการส่งและจ่ายไฟฟ้า อุปกรณ์ และวงจรของระบบส่งและ
จ่ายไฟฟ้า
2. แสดงความรู้เกี่ยวกบั แรงดึงและระยะหยอ่ นของสายไฟฟ้า
3. พยากรณ์โหลด หาพารามิเตอร์ต่างๆของระบบส่งกาลงั และจาหน่ายไฟฟ้า อปุ กรณ์ส่งกาลงั และ
จาหน่ายไฟฟ้า

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาเกี่ยวกบั ระบบส่งกาลงั และจาหน่ายไฟฟ้า การพฒั นาระบบไฟฟ้ากาลงั โครงสร้าง
ของระบบไฟฟ้ากาลงั การผลิตไฟฟ้า ระบบส่งกาลงั ไฟฟ้า การหาแรงดึงและระยะหยอ่ นของสายไฟฟ้า
ค่าพารามิเตอร์ของสายส่ง ความสัมพนั ธข์ องแรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในระบบส่งจ่าย และระบบ
จาหน่ายสถานีไฟฟ้ายอ่ ย การจดั สมั พนั ธข์ องฉนวนระบบจาหน่าย คุณลกั ษณะของโหลด การพยากรณ์
โหลด การส่งกาลงั ไฟฟ้าดว้ ยแรงดนั สูง การคานวณระบบตอ่ หน่วย

10

ช่ือเรื่องและสมรรถนะที่พงึ ประสงค์ของแผนการสอน

ชื่อเร่ือง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์

หน่วยท่ี 1 ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

- โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากาลงั - บอกโครงสร้างของระบบไฟฟ้ากาลงั ได้

- วงจรของระบบสายส่งและจ่ายไฟฟ้า - อธิบายวงจรและระบบสายส่งและจ่าย

- แรงดนั ในระบบส่ง และจ่ายพลงั งาน ไฟฟ้าได้

ไฟฟ้า - แสดงตวั อยา่ งในระบบส่งและจ่ายไฟฟ้าได้

หน่วยที่ 2 อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งาน - บอกชนิดของเสาไฟฟ้าได้
- อธิบายการปักเสาพาดสายได้
ไฟฟ้า - บอกลกั ษณะและชนิดของสายส่งไฟฟ้าได้
- ชนิดของเสาไฟฟ้า - อธิบายเกี่ยวกบั อุปกรณ์ป้องกนั วงจรของ
- การปักเสาพาดสายไฟฟ้า ระบบสายส่งไฟฟ้าได้
- ฉนวนไฟฟ้าของระบบสายส่งไฟฟ้า
- ลกั ษณะและชนิดของสายส่งไฟฟ้า
- อุปกรณ์ป้องกนั วงจรของระบบสาย
ส่งไฟฟ้า

หน่วยที่ 3 การหาค่าพารามเิ ตอร์ต่างๆของสาย - อธิบายผลของคา่ พารามิเตอร์ที่มีต่อสาย
ส่งไฟฟ้าได้
ส่ง ไฟฟ้า - คานวณคา่ พารามิเตอร์ต่างๆในสายส่ง
- คา่ ความตา้ นทานของสายส่งไฟฟ้า ไฟฟ้าได้
- คา่ ความเหน่ียวนาของสายส่งไฟฟ้า
- ค่าความจุไฟฟ้าของสายส่งไฟฟ้า

11

ชื่อเร่ือง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์

หน่วยที่ 4 การคานวณกระแสและแรงดันไฟฟ้า - อธิบายโครงสร้างของระบบผลิตและ
วงจรสมมูลของสายส่งไฟฟ้าได้
ในสายส่งไฟฟ้า
- โครงสร้างของระบบผลิตและวงจร - คานวณเกี่ยวกบั สายส่งระยะส้ัน สาย
สมมลู ของสายส่ง ส่ง
- สายส่งระยะส้นั ระยะปานกลาง และสายส่งระยะยาวได้
- สายส่งระยะปานกลาง
- สายส่งระยะยาว

หน่วยท่ี 5 การคานวณหาแรงดงึ และระยะ - คานวณหาแรงดึง และระยะหยอ่ นใน
สายตวั นาได้
หย่อนของสายส่งไฟฟ้า
- การคานวณหาแรงดึงและระยะ - อธิบายผลกระทบของเสาที่เกิดจาก
หยอ่ นในสายตวั นา แรงลมได้
- การคานวณกรณีท่ีมีเสาไฟฟ้าอยตู่ ่าง
ระดบั กนั - คานวณค่าแฟคเตอร์ความปลอดภยั ได้
- ผลกระทบต่อเสาท่ีเกิดจากแรงลม
- คา่ แฟคเตอร์ความปลอดภยั

หน่วยที่ 6 การคานวณค่าเปอร์ยูนติ

- รีแอคแตนซ์ ไดอะแกรม - อธิบายรีแอคแตนซไ์ ดอะแกรมได้

- การคานวณหาคา่ เปอร์ยนู ิต - คานวณค่าเปอร์ยนู ิตในระบบ 1 เฟส

- การกาหนดค่าฐานในระบบเปอร์ยนู ิต และ3 เฟสได้

- การคานวณหาค่าเปอร์ยนู ิตของระบบ

ไฟฟ้า 1 เฟส

- การคานวณหาคา่ เปอร์ยนู ิตของระบบ

ไฟฟ้า 3 เฟส

- การคานวณค่าอิมพีแดนซ์เปอร์ยนู ิตเม่ือ

ค่าฐานตา่ งกนั

12

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหัสวชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

หวั ข้อเรื่อง
ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

สาระสาคญั
การท่ีจะออกแบบระบบไฟฟ้ากาลงั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ระบบส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าจากโรงตน้

กาลงั (Power Plants) ไปถึงโหลด(Load) หรือผบู้ ริโภคจะมีกระบวนการตา่ งๆท่ีตอ้ งผา่ นมากมายท้งั การ
วางแผนกาลงั คน เคร่ืองมือต่างๆ อุปกรณ์รวมไปถึงเทคโนโลยตี า่ งๆ โดยมีจุดประสงคห์ ลกั กเ็ พอ่ื ทาให้
ระบบไฟฟ้าน้นั มีเสถียรภาพ(Stability) ซ่ึงมีความหมายวา่ ระบบไฟฟ้าที่สามารถจ่ายพลงั งานไฟฟ้าได้
อยา่ งตอ่ เน่ือง มีความน่าเช่ือถือและมีความมน่ั คงนน่ั เอง

สมรรถนะท่พี งึ ประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ)
1. เพ่ือใหม้ ีความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์นาไปปฏิบตั ิงานในอาชีพไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

สามารถเลือกวิถีการดารงชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ตน เพ่ือสร้างสรรคค์ วามเจริญต่อชุมชน ทอ้ งถ่ิน
และประเทศชาติ

2. เพอ่ื ใหเ้ ป็นผมู้ ีปัญญา มีทกั ษะในการจดั การ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝ่ เรียนรู้เพ่ือพฒั นา
คณุ ภาพชีวติ และการประกอบอาชีพ สามารถสร้างอาชีพ และพฒั นาอาชีพใหก้ า้ วหนา้ อยเู่ สมอ
3. เพ่ือใหม้ ีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมน่ั ใจและภาคภมู ิใจในวชิ าชีพที่เรียน รักวานรักหน่วยการเรียน
สามารถทาเป็นหม่คู ณะไดด้ ี โดยมีคามเคารพในสิทธิและหนา้ ที่ของตนเองและผอู้ ื่น
4. เพ่อื ใหเ้ ป็นผมู้ ีพฤติกรรมทางสังคมท่ีดีงาม ท้งั ในการทางาน การอยู่ร่วมกนั มีความรับผิดชอบต่อ
ครอบครัว หน่วยงาน ทอ้ งถ่ิน และประเทศชาติ อทุ ิศตวั เพื่อสงั คม เขา้ ใจและเห็นคุณค่าของ
ศิลปวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น รู้จกั ใช้ อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสร้างสิ่งแวดลอ้ มท่ีดี
5. เพื่อใหม้ ีบคุ ลิกภาพท่ีดี มีมนุษยสมั พนั ธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินยั ในตนเอง มีสุขภาพอามยั
สมบรู ณ์เหมาะสาหรับอาชีพน้นั ๆ

13

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

เนื้อหาสาระ

ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
- โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากาลงั
- วงจรของระบบสายส่งและจ่ายไฟฟ้า
- แรงดนั ในระบบส่ง และจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

14

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนหรือกจิ กรรมของผู้เรียน

ทดสอบก่อนเรียน ผเู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
ต้งั คาถามก่อนเขา้ สู่บทเรียน ผเู้ รียนตอบคาถาม
เขา้ สู่เน้ือหา ผเู้ รียนจดบนั ทึกเน้ือหาท่ีสาคญั
ทดสอบหลงั เรียน ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั

15

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

งานทม่ี อบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน
ต้งั คาถามและทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน
ถาม-ตอบ เก่ียวกบั เน้ือหาและทาแบบฝึกหดั

หลงั เรียน
ทดสอบหลงั เรียน

16

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

ส่ือการเรียนการสอน

ส่ือสิ่งพมิ พ์
ใบความรู้

ส่ือโสตทัศน์
แผน่ ใส, โปรเจคเตอร์

หุ่นจาลองหรือของจริง
-

17

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหัสวิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากาลงั

โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากาลงั ประกอบดว้ ย ระบบกาเนิดไฟฟ้า ระบบส่งกาลงั ไฟฟ้าและ
ระบบจาหน่ายไฟฟ้าซ่ึงมีรายละเอียดต่างๆ ดงั น้ี

ระบบกาเนิดไฟฟ้า

ระบบกาเนิดไฟฟ้า มีความหมายวา่ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงพลงั งานในรูปแบบต่างๆ ใหก้ ลายเป็น
พลงั ไฟฟ้า เช่น การเปลี่ยนพลงั งานลมที่หมุนกงั กนั ใหญ่ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและยงั มีการเปล่ียน

พลงั งานรูปแบบอื่นๆ อื่นๆ เช่น กา๊ ช ถา่ นหินลิกไนต์ น้า โดยส่วนใหญ่แลว้ จะนิยมเรียกช่ือตามแหลง่
ตน้ กาลงั ของโรงจกั รไฟฟ้า เช่น โรงไฟฟ้าพลงั ลม พลงั ความร้อน พลงั ความร้อน (ไอน้า) กงั หันก๊าช
พลงั น้า พลงั นิวเคลียร์ เป็นตน้ ระดบั ของแรงดนั ไฟฟ้าเริ่มตน้ ที่ผลิตออกมาจากโรงจกั รไฟฟ้าน้นั จะไม่
สูงมากนกั เช่น 11.5 kV หรือ 13.8 kV เป็นตน้ เน่ืองมาจากเหตุผลทางดา้ นเศรษฐศาสตร์ และปัญหา
ในเร่ืองฉนวนภายในเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ทาใหต้ อ้ งเพ่มิ แรงดนั ใหส้ ูงมากยงิ่ ข้นึ ดว้ ยหมอ้ แปลงไฟฟ้า ให้
เป็นแรงดนั มาตรฐานที่ใชใ้ นระบบส่งกาลงั คือ ระดบั ส่งแรงดนั สูงซ่ึงมีระดบั แรงดนั 230 kV ถึง 1,000
kV หรือระดบั แรงดนั สูงพิเศษซ่ึงมีระดบั แรงดนั ต้งั แต่ 1,000 kV ข้นึ ไป แตส่ าหรับแรงดนั ที่ใช้
ภายในประเทศไทยน้นั จะไดแ้ ก่ 69 kV , 115 kV , 230 kV , 500 kV

ระบบส่งกาลงั ไฟฟ้า
ระบบส่งกาลงั ไฟฟ้า มีความหมายวา่ ระบบท่ีกาลงั ทาหนา้ ท่ีส่งพลงั งานจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้า

ไปที่ระบบจาหน่ายไฟฟ้าโดยอาศยั ตวั นาไฟฟ้า หรือท่ีเรียกกนั วา่ สายส่งไฟฟ้า ( Transmission Line) เป็น
การถา่ ยโอนพลงั ไฟฟ้า ซ่ึงการส่งพลงั ไฟฟ้าน้นั จะสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คือ การโอน
สายบนอากาศเหนือศีรษะและการเดินสายเคเบิลใตด้ ิน(Underground Cable System)

18

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

รูปที่ 1.1 แสดงสายส่งไฟฟ้ายอ่ ยซ่ึงรับผิดชอบโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(Electricity
Generating Authority Thailand : EGAT)

รูปท่ี 1.1 แสดงสายส่งไฟฟ้ายอ่ ย

ระบบจาหน่ายไฟฟ้า
ระบบจาหน่ายไฟฟ้ามีความหมายวา่ ระบบท่ีทาหนา้ ที่รับแรงดนั ไฟฟ้าจากระบบส่งกาลงั เพอ่ื จ่ายใหก้ บั
โหลดหรือผใู้ ชท้ ว่ั ไป ซ่ึงระดบั ของแรงดนั ท่ีใชใ้ นระบบจาหน่ายของการไฟฟ้านครหลวง จะมีขนาด
เทา่ กบั 11 KV, 12 kV และ 33 kV

19

แผนการสอน

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า รหัสวชิ า 30104-2005

จานวน 3 ชั่วโมง จานวน 3 หน่วยกติ

สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยที่ 13 เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

รูปท่ี 1.2 โครงสร้างของระบบส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

และเพื่อใหเ้ กิดเสถียรภาพของระบบส่งจ่ายไฟฟ้า จึงจาเป็นที่จะตอ้ งทาการเช่ือมโยงระบบเขา้
ดว้ ยกนั โดยเฉพาระการเชื่อมโยงระหวา่ งสถานีไฟฟ้ายอ่ ยตน้ ทาง กบั สถานีไฟฟ้ายอ่ ยระบบจาหน่าย
เพราะวา่ สถานีไฟฟ้าท้งั สองแห่งดงั กล่าว เป็นศูนยร์ วมของการจ่ายพลงั งานไฟฟ้าเป็นจานวนมาก
เพราะฉะน้นั เพื่อลดปัญหาท่ีเกิดข้นึ กบั ผใู้ ชไ้ ฟฟ้า เช่น ไฟฟ้าไม่เพียงพอตอ่ การใชง้ าน และปัญหาที่เกิด
จากส่วนอื่นๆ อีก ทาใหจ้ าเป็นท่ีจะตอ้ งออกแบบวงจรที่ใชภ้ ายในสถานีใหม้ ีความเหมาะสม

20

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยท่ี 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

วงจรของระบบสายส่งและจ่ายไฟฟ้า
วงจรของระบบสายส่งและจ่ายไฟฟ้าจะใชว้ งจรพ้ืนฐาน 3 แบบ ไดแ้ ก่ แบบเรเดียล ( Radial System)
แบบลูป (Loop System) และระบบเนต็ เวิร์ค ( Network System)

วงจรของระบบสายส่งไฟฟ้า
สายส่งไฟฟ้ายอ่ ย หมายถึง สายส่งไฟฟ้าที่เช่ือมตอ่ ระหวา่ งสถานียอ่ ยตน้ ทางกบั สถานีไฟฟ้ายอ่ ยระบบ
จาหน่ายจะสามารถสรุปรูปแบบการตอ่ วงจรได้ ดงั น้ี

1.วงจรไฟฟ้าแบบเรเดียล ( Radial System) คอื การจดั รูปแบบของสายส่งที่ง่ายละธรรมดา
มากท่ีสุด ซ่ึงมีรูปแบบดงั รูปที่ 1.4 ซ่ึงวงจรแบบน้ีไม่เป็นท่ีนิยมมากนกั เพราะวา่ ถา้ เกิดฟอลต์ ( Fault)
หรือความผดิ พลาดข้ึนที่บสั ของสถานียอ่ ยตน้ ทางไฟฟ้าจะดบั ท้งั ระบบ

รูปที่ 1.4 แสดงการต่อวงจรสายแบบเรเดียล

21

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

2. วงจรไฟฟ้าแบบลูป (Loop System) คอื การส่งกาลงั ไฟฟ้าจากบสั ของสถานียอ่ ยจากตน้
ทางเขา้ ไปยงั สถานีไฟฟ้ายอ่ ยจากระบบจาหน่ายของแตล่ ะสถานี และวกกลบั มาท่ีเดิม ดงั รูปที่ 1.5 จากรูป
จะเห็นไดว้ า่ ถา้ หากเกิดความผดิ พลาดข้ึนท่ีสายส่งไฟฟ้ายอ่ ย (A) จะยงั สามารถใชไ้ ฟฟ้าท่ีจะมาจากสาน
ส่งไฟฟ้ายอ่ ย (B) ได้ แต่หากเกิดความผิดพลาดข้นึ ที่บสั ของสถานีไฟฟ้ายอ่ ยตน้ ทางไฟฟ้าจะดบั ท้งั ระบบ

รูปท่ี 1.5 แสดงการตอ่ วงจรสายส่งแบบลปู

22

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหัสวชิ า 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

แต่สามารถแกไ้ ขปัญหาที่มาจากการต่อสถานีไฟฟ้ายอ่ ยตน้ ทางเพียงแห่งเดียวได้โดยการตอ่ วงจร
แบบลูปท่ีมีการจ่ายพลงั งานไฟฟ้าจากแหล่งจ่าย 2 แหล่งจ่ายดว้ ยกนั โดยทาการต่อ CB1 เขา้ กบั บสั สถานี
ไฟฟ้ายอ่ ยตน้ ทาง (แห่งที่ 1) และต่อ CB 2 เขา้ กบั สถานียอ่ ยตน้ ทาง(แห่งท่ี 2) แต่อยา่ งไรกต็ าม การ
แกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการดงั กล่าว จะเป็นเหตุใหอ้ ิมพแี ดนซ์ของระบบมีคา่ ต่าและทาใหก้ ระแสมีความ
ผดิ พลาดสูง
3. วงจรไฟฟ้าแบบเน็ตเวริ ์ค ( Network System) จะมีรูปแบบเหมือนกบั ตาข่ายเพราะวา่ เป็นการเช่ือมโยง
ระหวา่ งสายส่งไฟฟ้ายอ่ ยจากหลายๆทางดงั รูปท่ี 1.6

รูปท่ี 1.6 แสดงการตอ่ วงจรสายส่งแบบเนต็ เวิร์ค

23

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหัสวชิ า 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยท่ี 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

วงจรของระบบจ่ายไฟฟ้า
สาหรับวงจรของระบบจ่ายไฟฟ้าแรงสูง(High Tension Feeder) หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ สาย

ป้อนหลกั คอื สายไฟฟ้าท่ีตอ่ จากสถานีไฟฟ้ายอ่ ยระบบจาหน่าย ส่งไปตามแนวถนนเพ่ือจ่ายใหก้ บั ผใู้ ช้
ไฟฟ้าทว่ั ไป โดยผา่ นทางหมอ้ แปลงระบบจาหน่ายและสายจาหน่ายแรงต่า (Low Tension Feeder) จ่าย
ไฟฟ้าดว้ ยระบบ 3 เฟส 3 สาย โดยมีพกิ ดั แรงดนั ขนาด 11 kV, 22 kV, 33 kV (กฟภ.)
และ 12 kV , 24 kV (กฟน.) ซ่ึงวธิ ีการติดต้งั จะมี 2 แบบคือ เดินสายเหนือศีรษะและใชส้ ายเคเบิลใตด้ ิน
โดยการเดินสายบนอากาศเหนือศีรษะน้นั จะสามารถสรุปรูปแบบการต่อวงจรไดด้ งั น้ี
1. วงจรไฟฟ้าแบบเรเดียล
1.1 วงจรไฟฟ้าแบบเรเดียลชนิดธรรมดา จะมีรูปแบบคอื สายป้อยหลกั และเช่ือมต่อเขา้ กบั สถานีไฟฟ้า
ยอ่ ยระบบจาหน่ายเพียงสถานีเดียว ทาใหเ้ ม่ือเกิดความผิดพลาดไฟฟ้าจะดบั ท้งั หมด ซ่ึงวงจรไฟฟ้าแบบ
น้ีจะใชก้ บั ยา่ นชุมชนที่ไม่มากนกั หรือตามตรอกซอกซอยต่างๆ ซ่ึงจะมีรูปแบบวงจรดงั รูปท่ี 1.7

รูปที่ 1.7 แสดงวงจรระบบจาหน่ายของสายป้อนหลกั แบบเรเดียลธรรมดา (ชนิดเดินบน
สายอากาศเหนือศีรษะ)

24

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหัสวิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

1.2 วงจรไฟฟ้าแบบเรเดียลชนิดต่อเชื่อมในสภาวะฉุกเฉิน จะมีรูปแบบ คือ สามารถปลดสายป้อนส่วยท่ี
มีปัญหาออกจากระบบเพ่อื ทาการซ่อมแซม และยงั สามารถใชส้ วติ ช์ ต่อเช่ือมเขา้ กบั สายป้อนวงจรอื่นๆ
ที่อยใู่ กลเ้ คียงเพ่อื ทาการจ่ายไฟฟ้าใหเ้ ป็นการชว่ั คราวจนกระทงั่ ทาการแกไ้ ขปัญหาเสร็จเรียบร้อยจึงทา
การปรับเปล่ียนให้ระบบกลบั สู่ภาวะปกติอีกคร้ังหน่ึง ดงั รูปท่ี 1.8

รูปที่ 1.8 แสดงการจ่ายไฟฟ้าของสายป้อนแบบเรเดียลชนิดต่อเชื่อมในสภาวะฉุกเฉิน

25

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยท่ี 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลังงานไฟฟ้า

1.3 วงจรไฟฟ้าแบบเรเดียลชนิดต่อเช่ือมดว้ ยอุปกรณ์ตดั ตอนอนุมตั ิ จะมีรูปแบบดงั รูป 1.9 คือ ในสภาวะ
ปกติสายป้อนหลกั A, B จะจ่ายไฟฟ้าดว้ ยวงจรไฟฟ้าแบบเรเดียลธรรมดา เพราะวา่ อปุ กรณ์ตดั ตอน
อตั โนมตั ิ จะอยใู่ นสภาวะเปิ ดวงจรคา้ งเอาไว้ แต่ถา้ เกิดความผิดพลาดข้ึน จะมีการส่ังปลดความ
ผิดพลาดออกจากระบบและทาการเชื่อมตอ่ สายป้อนหลกั อีกดา้ นหน่ึงโดยอตั โนมตั ิ

รูป 1.9 แสดงวงจรไฟฟ้าแบบเรเดียลชนิดต่อเชื่อมดว้ ยอปุ กรณ์

จากภาพวงจร ถา้ เกิดความผิดพลาดข้ึนที่สายป้อนตาแหน่ง A2 จะมีการสั่งปลด ARS
(A) และ (B) เพอ่ื ปลดสายป้อน A2 ออกจากวงจร และจากน้นั จะทาการสบั อุปกรณ์ตดั ตอนอตั โนมตั ิ
(3) เพือ่ ใหส้ ายป้อนหลกั B จ่ายไฟฟ้าใหก้ บั A3 แทนเพราะฉะน้นั สายป้อน A จะจ่ายใหก้ บั เฉพาะส่วน
ของ A1 เทา่ น้นั

26

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

2.วงจรไฟฟ้าแบบลปู (Loop System) คือ การปรับปรุงรูปแบบการจ่ายไฟฟ้าใหด้ ีกวา่ แบบเรเดียล จาก
รูปท่ี 1.10 สายป้อนหลกั จะออกจากสถานีไฟฟ้ายอ่ ยเพ่ือจ่ายใหก้ บั พ้นื ท่ีของโหลด และจากน้นั จึงยอ้ ย
กลบั สู่บสั สถานีไฟฟ้ายอ่ ย ถา้ หากเกิดความผดิ พลาดข้ึนท่ีส่วนหน่ึงส่วนใดของลปู เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่
อยทู่ ่ีสถานีไฟฟ้ายอ่ ยจะทาการตดั วงจรโดยทนั ที เป็นเหตุใหไ้ ฟฟ้าดบั ท้งั ระบบ ซ่ึงการซ่อมแซมสามารถ
ทาไดโ้ ดยการปลดสวิตชต์ ดั ตอนหวั และทา้ ยของลปู ท่ีเกิดความผดิ พลาดออกจาดระบบ และหลงั จากน้นั
คอ่ ยทาการสับเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่สถานีไฟฟ้ายอ่ ยอีกคร้ังหน่ึงเพือ่ ทาการจ่ายไฟฟ้าให้กบั ลูปที่เหลืออยู่
แตย่ งั สามารถเพ่มิ ความน่าเชื่อถือใหก้ บั โหลดโดยการลูปสายป้อนที่ออกจาดหมอ้ แปลงคนละลูก หรือทา
การลูปสายป้อนจากสถานีไฟฟ้ายอ่ ยแยกเป็นอิสระออกจากกนั

รูปท่ี 1.10 แสดงรูปแบบการจ่ายไฟฟ้าของวงจรสายป้อนแบบลปู

27

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหัสวิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยท่ี 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

3. วงจรไฟฟ้าแบบเนต็ เวิร์ค ( Network System) ดงั รูปท่ี 1.11 การจดั วงจรไฟฟ้าแบบน้ีจะใหค้ วาม
น่าเช่ือถือมากที่สุด แต่กจ็ ะมีค่าใชจ้ ่ายท่ีสูงกวา่ แบบเรเดียลและแบบลปู ซ่ึงสามารถทาไดห้ ลายรูปแบบ

รูปท่ี 1.11 แสดงวงจรระบบจาหน่ายแบบเน็ตเวริ ์ค

28

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 1-3 หน่วยที่ 1 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง ระบบการส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

โดยแตล่ ะแบบจะมีความซบั ซอ้ นต่างกนั การออกแบบวงจรเพอื่ ใชง้ านในแต่ละพ้นื ที่จะข้ึนอยกู่ บั
องคป์ ระกอบท่ีใชใ้ นการพิจารณาหลายอยา่ ง เช่น

- ความต่อเนื่องในการจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
- ตน้ ทนุ การติดต้งั
- ความมีศกั ยภาพในการรับโหลดเพมิ่ ไดเ้ กินพกิ ดั ของหมอ้ แปลงไดท้ นั ทีทนั ใดหรือไม่
- ความสม่าเสมอของแรงดนั

แรงดนั ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
ระดบั แรงดนั ไฟฟ้าที่ใชใ้ นแตล่ ะประเทศจะมีความแตกต่างกนั ตามความเหมาะสม ซ่ึงสาหรับ

ประเทศไทยน้นั จะแบง่ ออกได้ ดงั น้ี
ระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูง จะมีระดบั แรงดนั ไฟฟ้าขนาด 69 kV, 115 kV, 230 kV, 500 kV โดย

ส่วนมากจะอยใู่ นความรับผิดชอบของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
ระบบจ่ายไฟฟ้าแรงสูง จะมีระดบั แรงดนั ไฟฟ้าขนาด 11 kV , 12 kV ,22 kV,24 kV และ33 kV
ระบบจ่ายไฟฟ้าแรงต่า จะมีระดบั ไฟฟ้าขนาด 220/380V ดว้ ยการต่อหมอ้ แปลงไฟฟ้าเป็นแบบ

เดลตา้ – วาย ( − Y Delta- Wye)ดงั แสดงในรูปท่ี 1.12

รูปที่ 1.12 แสดงการต่อหมอ้ แปลไฟฟ้าเป็นแบบเดลตา้ –วาย ( − Y Delta- Wye)

29

แผนการสอน

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า รหสั วิชา 30104-2005

จานวน 3 ช่ัวโมง จานวน 3 หน่วยกติ

สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยท่ี 1 เรื่อง การหาค่าพารามเิ ตอร์ต่างๆของสายส่งไฟฟ้า

การประเมินผล

ก่อนเรียน
..................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ขณะเรียน
..................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

หลงั เรียน
..................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

30

แผนการสอน

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า รหสั วิชา 30104-2005

จานวน 3 ชั่วโมง จานวน 3 หน่วยกติ

สัปดาห์ท่ี 1-3 หน่วยที่ 1 เรื่อง การหาค่าพารามิเตอร์ต่างๆของสายส่งไฟฟ้า

บนั ทึกหลงั การสอน

ผลการใช้แผนการสอน
..................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ผลการเรียนของนกั เรียน
..................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ผลการสอนของครู
..................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

31

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 4-5 หน่วยที่ 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

หัวข้อเรื่อง
อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

สาระสาคัญ
การส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าจะสามารถทาได้ 2 ระบบ คอื การส่งจ่ายบนอากาศเหนือศีรษะ และ

การเดินสายเคเบิลใตด้ ิน โดยตวั อยา่ งของการส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าใตด้ ิน จะไดแ้ ก่ การส่งจ่ายพลงั งาน
ไฟฟ้าใหก้ บั สถานีไฟฟ้ายอ่ ยตา่ งๆ รวมไปถึงระบบจาหน่ายที่ใชก้ บั อาคารสูง ตวั อยา่ งเช่น โรงงาน
อุตสาหกรม คอนโดมิเนียมทวั่ ไป เพราะวา่ การส่งจ่ายวิธีน้ีมีความปลอดภยั ช่วยลดอนั ตรายจากสาย
ไฟฟ้าแรงสูง และยงั สามารถค่าใชจ้ ่ายในการดูแลรักษาอีกดว้ ย แตข่ อ้ เสียก็คือ การติดต้งั ลงทนุ คอ่ นขา้ ง
สูง ซ่ึงสูงกวา่ การเดินบนอากาศเหนือศีรษะถึง 10 เท่าเลยทีเดียว และใชเ้ วลาในการติดต้งั นานเพราะวา่
ตอ้ งทาการขดุ ดินตลอดแนวท่ีวางสายเคเบิล แต่สาหรับเน้ือหาในท่ีน้ีจะนาเสนอเฉพาะการเดินสายบน
อากาศเหนือศีรษะเท่าน้นั

สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ)
1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์นาไปปฏิบตั ิงานในอาชีพไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

สามารถเลือกวถิ ีการดารงชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ตน เพ่ือสร้างสรรคค์ วามเจริญต่อชุมชน ทอ้ งถ่ิน
และประเทศชาติ

2. เพอ่ื ใหเ้ ป็นผมู้ ีปัญญา มีทกั ษะในการจดั การ มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่ เรียนรู้เพ่ือพฒั นา
คณุ ภาพชีวติ และการประกอบอาชีพ สามารถสร้างอาชีพ และพฒั นาอาชีพใหก้ า้ วหนา้ อยเู่ สมอ
3. เพ่ือใหม้ ีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีความมน่ั ใจและภาคภมู ิใจในวชิ าชีพที่เรียน รักวานรักหน่วยการเรียน
สามารถทาเป็นหม่คู ณะไดด้ ี โดยมีคามเคารพในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผอู้ ื่น
4. เพื่อใหเ้ ป็นผมู้ ีพฤติกรรมทางสงั คมท่ีดีงาม ท้งั ในการทางาน การอยู่ร่วมกนั มีความรับผดิ ชอบต่อ
ครอบครัว หน่วยงาน ทอ้ งถ่ิน และประเทศชาติ อทุ ิศตวั เพ่อื สงั คม เขา้ ใจและเห็นคุณค่าของ
ศิลปวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน รู้จกั ใช้ อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสร้างส่ิงแวดลอ้ มท่ีดี
5. เพอ่ื ใหม้ ีบคุ ลิกภาพท่ีดี มีมนุษยสมั พนั ธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวนิ ยั ในตนเอง มีสุขภาพอามยั
สมบูรณ์เหมาะสาหรับอาชีพน้นั ๆ

32

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

เนื้อหาสาระ

อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
- ชนิดของเสาไฟฟ้า
- การปักเสาพาดสายไฟฟ้า
- ฉนวนไฟฟ้าของระบบสายส่งไฟฟ้า
- ลกั ษณะและชนิดของสายส่งไฟฟ้า
- อปุ กรณ์ป้องกนั วงจรของระบบสายส่งไฟฟ้า

33

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยที่ 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้ันตอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนหรือกจิ กรรมของผู้เรียน

ทดสอบก่อนเรียน ผเู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
ต้งั คาถามก่อนเขา้ สู่บทเรียน ผเู้ รียนตอบคาถาม
เขา้ สู่เน้ือหา ผเู้ รียนจดบนั ทึกเน้ือหาท่ีสาคญั
ทดสอบหลงั เรียน ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั

34

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน
ต้งั คาถามและทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน
ถาม-ตอบ เก่ียวกบั เน้ือหาและทาแบบฝึกหัด

หลงั เรียน
ทดสอบหลงั เรียน

35

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหัสวิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยที่ 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

ส่ือการเรียนการสอน

ส่ือสิ่งพมิ พ์
ใบความรู้

ส่ือโสตทัศน์
แผน่ ใส, โปรเจคเตอร์

หุ่นจาลองหรือของจริง
-

36

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

ชนิดของเสาไฟฟ้า (Electricity Tower)
ในปัจจุบนั เสาไฟฟ้าท่ีติดต้งั ใชง้ านในระบบส่งจ่ายไฟฟ้าจะแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ชนิด ไดแ้ ก่เสาไม้
เสาคอนกรีต และเสาโครงเหลก็ โดยการท่ีจะเลือกใชเ้ สาไฟฟ้าชนิดตา่ งๆ น้นั จะมีหลกั การในการ
พิจารณาเบ้ืองตน้ ดงั น้ี
1. ระยะทางในการส่งจ่ายพลงั ไฟฟ้า
2. ความสูงของเสาไฟฟ้า
3.แรงดนั ไฟฟ้าท่ีใชง้ าน
4. อตั ราการรับแรงดึงของเสา (kg-m)
ซ่ึงโดยปกติแลว้ ความสูงของเสาน้นั จะถูกออกแบบใหส้ มั พนั ธ์กบั ระดบั แรงดนั และอตั ราการรับแรงดนั
ของเสา

เสาไม้ (Wood Pole)
ในปัจจุบนั ไมเ่ ป็นที่นิยมในการใชง้ าน เนื่องจากหายาก มีราคาแพง และมีการผกุ ร่อนทาใหอ้ ายุ

การใชง้ านไมย่ าวนาน โดยเสาไมน้ ้นั จะถกู นาไปใชง้ านบางจุดหรือติดต้งั ชว่ั คราวเทา่ น้นั
เสาคอนกรีต (Concrete Pole)

เนื่องจากมีความทนทานและมีคณุ สมบตั ิทนการกดั กร่อนไดด้ ีกวา่ เสาไม้ ซ่ึงในปัจจุบนั น้นั หา
ยาก เสาคอนกรีตจึงถูกนามาใชง้ านทดแทนเสาไม้ ซ่ึงจะสามารถแบ่งประเภทของเสาคอนกรีตออกเป็น
3 ประเภทดงั ตอ่ ไปน้ี
1. เสาคอนกรีตแรงต่า ใชง้ านกบั ระบบไฟฟ้าแรงดนั ต่า 220/380 V ซ่ึงจะมีขนาดความสูง 6,8.5,10,10.5
เมตร
2. เสาคอนกรีตแรงดนั ปานกลาง ใชง้ านกบั ระบบจาหน่ายแรงสูง 12,22,24,33 KV จะมีขนาดความสูง
12,14 และ 16 เมตร

37

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

3. เสาคอนกรีตแรงดนั สูง ใชง้ านกบั ระบบส่งกาลงั แรงสูง 69 KV และ 115 KV และยงั ใช้
งานร่วมกบั ระบบจาหน่ายแรงสูง สายเคเบิลของระบบส่ือสาร โคมไฟถนน เป็นตน้ มีขนาดความสูง
20 และ 22 เมตร

รูปท่ี 2.1 แสดงเสาคอนกรีต

เสาโครง เหลก็ (Steel Tower)
โดยทวั่ ไปจะใชก้ บั สายส่งแรงสูงต้งั แต่ 69 KV ถึง 500 KV ผลิตข้ึนจากเหลก็ อาบสงั กะสียดึ ประกอบ
เขา้ ดว้ ยกนั โดยปรกติจะมีฐาน 4 ขา ต้งั อยบู่ นฐานรากที่มน่ั คงแขง็ แรง ซ่ึงในปัจจุบนั จะมีเสาโครง
เหลก็ ที่ใชง้ านอยหู่ ลายรูปแบบ ซ่ึงมีดงั ต่อไปน้ี
1. เสาโครงเหลก็ ส่ีเหล่ียมจตั ุรัส
2. เสาโครงเหลก็ รูปสี่เหลี่ยมผืนผา้
3. เสาโครงเหลก็ แบบคอร์เซต
4.เสาโครงเหลก็ รูปขาหยงั่ ต้งั บนป้ันจนั่
5. เสาโครงเหลก็ แบบหมุน
6. เสาโครงเหลก็ แบบเอม็ ซี

7. เสาโครงเหลก็ แบบยดึ โยง

38

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหัสวชิ า 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

รูปที่ 2.2 แสดงโครงสร้างของเสาเหลก็

39

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วชิ า 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยที่ 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

รูปท่ี 2.2 แสดงโครงสร้างของเสาเหลก็ ( ต่อ )

รูปท่ี 2.3 แสดงการติดต้งั สายส่งไฟฟ้าแรงสูง 230 kV

40

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยที่ 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

รูปท่ี 2.3 ( ต่อ ) แสดงการแสดงการประกอบเสาโครงเหลก็ 115 KV

การปัดเสาพาดสายไฟฟ้า
ในการติดต้งั หรือปักเสาไฟฟ้าลงหลมุ จะมีวิธีในการปักเสา 2 วิธี คือ ใชแ้ รงงานจากคนและ

การใชร้ ถยนตป์ ักเสา

การพจิ ารณาความลกึ ในการปักเสา
เม่ือตอ้ งการปักเสาไฟฟ้าลงดินจะตอ้ งพิจารณาสภาพของดินในบริเวณน้นั ๆ ดงั ตารางที่ 2.1 และ 2.2

41

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

ตารางที่ 2.1 มาตรฐาน กฟภ. ของขนาดเสาคอนกรีตและการปักลงดิน

ความยาว ปักลงในดิน(m) แรงบิดโคง้ ระดบั
ของเสา
ดินอ่อน ดินปาน ดินแขง็ หินแขง็ (kg - m) แรงดนั
(m)
กลาง
8
9 1.50 1.30 1.10 1.00 760 220/380V
10
12 1.50 1.30 1.10 1.00 1,070 220/380V
14
16 1.70 1.50 1.30 1.00 - 220/380V

2.00 1.80 1.60 1.20 2,550 11 – 22 kV

2.30 2.00 1.70 1.20 3,590 11 – 22 kV

- 2.20 - - 5,300 -

ตารางที่ 2.2 มาตรฐาน กฟน. ของขนาดเสาคอนกรีตและการปักลงดิน
ความยาวของ ปักลงไป แรงบิดโคง้ ระดบั แรงดนั อุปกรณ์ติดต้งั ร่วมบนเสา
เสาท้งั ตน้ ใน ดิน (m) (kg - m)

(m)

6.00 1.20 1,150 220/380V เคร่ืองวดั แรงต่า(kW - hr)
8.50 1.30 2,000 220/380V เคร่ืองวดั แรงต่า โคมไฟถนน
10.00 1.75 2,350 220/380V เครื่องวดั แรงต่า โคมไฟถนน
10.50 2.10 4,500 220/380V หมอ้ แปลงไฟฟ้า โคมไฟถนน
12.00 1.75 3,500 12 – 24 kV หมอ้ แปลงไฟฟ้า เคร่ืองวดั แรงสูง
12.35 2.10 4,500 12 – 24 kV หมอ้ แปลงไฟฟ้า เคร่ืองวดั แรงสูง

42

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ที่ 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

ความยาวของ ปักลงไปใน แรงบิดโคง้ ระดบั แรงดนั อุปกรณ์ติดต้งั ร่วมบนเสา
เสาท้งั ตน้ ดิน (m) (kg - m)
12 – 24 kV เหมือนเสา 12 m เดินสายขนาด
(m) 2.00 4,150 69 kV 24 kV 2 วงจร
14.00 115 kV
2.00 14,000 เดินสาย 2 วงจรขนาด 69 kV
20.00 และ 24 kV โคมไฟถนน
2.00 14,000
20.00 เดินสาย 2 วงจร ขนาด 115 kV
และ 24 kV โคมไฟถนน ลอ่ ฟ้า

การพจิ ารณาระยะห่างระหว่างเสาไฟฟ้า
ตามมาตรฐานของการไฟฟ้าส่วนภมู ิภาคของระบบจาหน่ายแรงสูง จะมีการกาหนดระยะห่างในการปัก
เสา ดงั น้ี
1. ระบบจาหน่ายท่ีติดต้งั ผา่ นหมบู่ า้ น จะตอ้ งมีระยะห่างเสาไฟฟ้าปกติ 40, 80 หรือ 100 เมตร
พิจารณาตามความเหมาะสม
2. ระบบจาหน่ายที่พาดดว้ ยสายเคเบิลอากาศ จะตอ้ งมีระยะห่างเสาไฟฟ้าปกติ 40 – 50 เมตร
3. ระบบจาหน่ายติดต้งั แบบในเมือง จะตอ้ งมีระยะห่างระหวา่ งเสาปกติ 40 เมตร
4. ระบบจาหน่ายท่ีติดต้งั นอกเมือง ระยะห่างระหวา่ งเสาไมเ่ กินคา่ ตามตารางที่ 2.3

43

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยที่ 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

ตารางท่ี 2.3 ระยะห่างระหวา่ งเสาไฟฟ้าตามมาตรฐาน กฟภ.

พ้ืนท่ีหนา้ ตดั ระบุ (ตร.มม.)

อะลูมิเนียม อะลมู ิเนียมแกน อะลูมิเนียม 1 วงจร(Feeder) 2 วงจร(Feeder)

เหลก็ (ACSR) อลั ลอย

35, 50, 70 - - 50 50

95 35/6, 50/8 35, 50 100 80

120 - - 80 - 100 80

150 - - 80 - 100 80

185 - - 80 80

240 - - 50 50

การจัดวางสาย
รูปแบบของการวางสายบนอากาศเหนือศีรษะ ( Overhead Transmission Line ) จะแสดง
ดงั รูปท่ี 2.4

44

วิชา การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหัสวชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อุปกรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

รูปที่ 2.4 แสดงรูปแบบการจกั วางสายบนอากาศเหนือศีรษะ

45

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ชั่วโมง รหสั วิชา 30104-2005
สัปดาห์ท่ี 4-5 หน่วยท่ี 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เร่ือง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

รูปที่ 2.4 (ต่อ) แสดงรูปแบบการจกั วางสายบนอากาศเหนือศีรษะ

46

วชิ า การส่งและจ่ายไฟฟ้า แผนการสอน

จานวน 3 ช่ัวโมง รหัสวชิ า 30104-2005
สัปดาห์ที่ 4-5 หน่วยที่ 2 จานวน 3 หน่วยกติ
เรื่อง อปุ กรณ์ในระบบส่งและจ่ายพลงั งานไฟฟ้า

เขตของการเดนิ สายไฟฟ้า
เขตของการเดินสายไฟฟ้าจะ หมายถึง ระยะจากจุดก่ึงกลางเสาท้งั สองดา้ น เพื่อใหป้ ลอดภยั ในชีวิตและ
ทรัพยส์ ินในบริเวณพ้นื ท่ีที่ต้งั เสา พ้ืนท่ีโดยรอบโคนเสา ดงั แสดงในรูปที่ 2.5 และตารางท่ี 2.4 จะแสดง
ขอ้ กาหนดโดยกวา้ งของเขตเดินสายไฟฟ้า

รูปที่ 2.5 แสดงเขตของเดินสายไฟฟ้า