เฉลย แบบฝึกหัด มนุษยสัมพันธ์ในการ ทํา งาน บทที่6

ความหมายของศาสนา

คำว่าศาสนามาจากภาษาลาติน แปลว่าการเข้า ด้วยกัน หรือการรวมตัว ให้เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าดังนั้น

แปลเป็นไทยว่า ศาสนาเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ ด้วยศรัทธาระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า พจนานุกรมฉบับบัณฑิตสถาน พ.ศ 2525 ได้ให้นิยามคำว่าศาสนาหมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ อันมีหลักคือแสดงกำหนด และสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาป อันเป็นไปในฝ่ายศิลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้ง L ลัทธิพิธี ที่กระทำตามความเห็น หรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ สรุปศาสนาคือ ระบบความเชื่อและการปฏิบัติ ให้เป็นคนดีซึ่งคนส่วนใหญ่ในสังคมให้การยอมรับโดยทุกศาสนาต่างมีหลักคำสอนโดยพื้นฐานเหมือนกัน คือให้ความสำคัญด้านจิตใจ ไม่ยึดเหนี่ยวกับวัตถุสิ่งของและมุ่งให้ผู้ประพฤติปฏิบัติเป็นคนดี ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข

ความสำคัญของศาสนาศาสนา

พุทธศาสนามีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของบุคคลในสังคมและอิทธิพลต่อสังคมดังนี้

1 เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจและเป็นที่พึ่งพาทางใจ

2 เป็นแหล่งกำเนิดของจริยธรรมคือการทำคุณงามความดีงดเว้นการทำชั่วรู้ว่าจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะเกิดความสุขทั้งต่อตนและสังคม

3 เป็นบรรทัดฐานในการดำเนินชีวิตศาสนาเป็นแนวทางดำเนินชีวิตการประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในสังคม

4 เป็นกลไกการควบคุมสังคมศาสนาเป็นเครื่องควบคุมการกระทำผิดทางกายวาจาและใจ ด้วยหลักธรรมสั่งสอนซึ่งกฎหมาย

ไม่อาจทำได้เพราะกฎหมายควบคุมการทำผิดทั้งกายแต่คงไม่สามารถควบคุมจิตใจคนได้

5 เป็นแหล่งกำเนิดของศิลปวัฒนธรรมคนไทยมีความผูกพันกับวัดงานด้านสถาปัตยกรรมวรรณกรรมจิตรกรรมประติมากรรม

ดยมาจากศาสนาได้แรงบันดาลใจเรื่องนรกสวรรค์ตลอดจนประเพณีต่างๆของศาสนานั้นๆด้วย ทำให้คนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

คุณธรรมจริยธรรมจะช่วยหล่อหลอมให้คนเป็นคนที่สมบูรณ์ปฏิบัติดีทั้งกายวาจาและใจ

เป็นมรดกทางสังคมและทางวัฒนธรรมเพราะหลักธรรมศาสนาสถานตลอดจนพิธีกรรมต่างๆ

บ่งชี้ถึงความเจริญหรือความเสื่อมของสังคมนั้นๆได้

สาเหตุการมีศาสนา

1 ความต้องการทางด้านจิตใจเพื่อให้มีสิ่งยึดเหนี่ยวเพื่อเป็นเป้าหมายในการกระทำต่างๆเช่นเพื่อให้มีกำลังใจในการดำเนินชีวิต

2 เกิดจากความกลัวมนุษย์ในสังคมดั้งเดิมหรือสังคมที่ยังไม่เจริญตะกั่วปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือสิ่งลึกลับที่ตนหาคําตอบไม่ได้จึงต้องหาทาง

ขจัดความกลัวด้วยการบูชาเทพเจ้าการนับถือผีเป็นต้น

3 ความต้องการรู้แจ้งเห็นจริงเพื่อให้เกิดการหลุดพ้นทุกข์

4 เพื่อประโยชน์ของชุมชนโดยทุกคนปฏิบัติจากบรรทัดฐานด้วยกันเพื่อจะได้อยู่อย่างเป็นสุข

หน้าที่ของศาสนา

1 สร้างแบบของความประพฤติในแนวเดียวกันและทุกคนต้องปฏิบัติตามบรรทัดฐานธรรมสรณ์ได้กำหนด

2 ความสามัคคีศาสนาช่วยทำให้บุคคลมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหรือมีความสามัคคีในการทำกิจกรรมต่างๆ

3 ให้ประพฤติอยู่ในขอบเขตศิลธรรมทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดีมีศีลธรรมมีเมตตาต่อกัน

4 ให้ขวัญและกำลังใจในยามที่ต้องประสบความไม่แน่นอนยากไร้ที่ผิดหวังในชีวิต

5 ช่วยรักษาระเบียบบรรทัดฐานที่ต้องปฏิบัติมักจะสอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของสังคมนั้นๆทำให้คนมีจุดมุ่งหมายปลายทางตามที่สังคมได้กำหนด

องค์ประกอบของศาสนาของศาสนาสำคัญมี 6 ประการดังนี้

1 ศาสนาคือผู้สถาปนาหรือผู้ประกาศศาสนามีตัวตนอยู่จริงพระพุทธศาสนามีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดาศาสนาคริสต์มีพระเยซู

เป็นศาสดาศาสนา

2ศาสดาของศาสนาทำคือคำสั่งสอนหรือคัมภีร์ที่รวบรวมไว้เป็นหลักฐานของความเชื่อ

เช่นพระพุทธศาสนามีคัมภีร์พระไตรปิฎกศาสนาคริสต์มีคัมภีร์ไบเบิลศาสนาอิสลามมีคัมภีร์อัลกุ

3 สนามบุคคลคือสาวกผู้ถือปฏิบัติตามศาสนากิจสืบทอดศาสนาเชน เช่นพระพุทธศาสนามีพระภิกษุและสามเณร ศาสนาคริสต์มี

มีบาทหลวงศาสนาอิสลามมีโต๊ะอิหม่าม

4 ศาสนพิธีคือพิธีกรรมที่เป็นแนวในการปฏิบัติของผู้ที่นับถือศาสนานั้นๆ

5 ศาสนาสถานคือสถานที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนาเพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมและเป็นศูนย์กลางเผยแพร่ศาสนา

6 สัญลักษณ์คือเครื่องหมายหรือสิ่งแทนศาสนา

ประเภทของศาสนา

ประเภทของศาสนา จัดตามความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้าและเทพเจ้ามี 5 ประการดังนี้

เทวนิยมนับถือพระเจ้าองค์เดียวเช่นศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลาม นิยมนับถือพระเจ้าหลายองค์เช่นศาสนาชินโตศาสนาพราหมณ์ลัทธิขงจื้อเป็นต้น

ศาสนาสําคัญของไทย

1 พระพุทธศาสนา

2 ศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลาม

ศาสนาคริสต์ ลักษณะของศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่มีคนนิยมนับถือเกือบทั่วโลกศาสนาคริสต์มีที่มาจากศาสนายิวโดยมีแหล่งกำเนิดที่ปาเลสไตน์เกิดหลังศาสนาพุทธ 543 ปี

คำสอนที่สำคัญคือเรื่องความรักให้รักพระเจ้ารักครอบครัวรักเพื่อนมนุษย์ให้เมตตาต่อผู้กระทำโดย

ไม่ตั้งใจเห็นใจผู้มีความทุกข์ให้ทำความดีและว่านอนสอนง่ายอดทน

นิกายในศาสนาคริสต์มี 3 นิกาย 1. นิกายโรมันคาทอลิก(Roman Catholic) 2.นิกายกรีทออร์ธอดอกซ์ (Greek orthodox) 3. นิกายโปรเตสแดนส์ (Protesstant)

พิธีกรรม 7 อย่างกระทำตั้งแต่เกิดจนตาย 1. ศีลล้างบาปหรือศีลจุ่ม เพราะมีความเชื่อว่ามนุษย์มรติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด 2 ศีลมหาสนิท คือการรับประทานขนมกับเหล้าองุ่นซึ่งเป็นอาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซูขนมปังคือพระกายเหล้าองุ่นคือพระโลหิต 3 ศิลป์แก้บาปเป็นการสารภาพบาปพระจะยกโทษให้และอบรมสั่งสอน 4 ศิลป์กำลังเป็นพิธีเจิมน้ำมันหลังล้างบาปทารูปไม้กางเขนที่ตัวและแก้มเพื่อเพิ่มพละกำลัง 5 ศีลสมรส เป็นการประกาศความรักและความเชื่อถือระหว่างตนกับผู้เป็นพระเจ้า

6 สินอนุกรม เป็นศีลบวชที่ให้กับบุคคลที่เป็นพระเท่านั้น

7 สินเจริญ เป็นสินทางสุดท้ายเพื่อล้างบาปแก่คนเจ็บหนักใกล้ตาย

ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมาก พระศาสดาของศาสนามีนามว่าพระมะหะหมัด หรือมูฮัมหมัด แหล่งกำเนิดอยู่ที่ซาอุดิอาระเบีย มุสลิมในไทยส่วนใหญ่เป็นนิกายซุนนีย์ (Sunnis) นิกายอิสลาม 1 นิกายซุนนีย์ (The Sunnis) 2 นิกายชีอะฮ์ (The shia ) การปฏิบัติศาสนากิจ ชาวมุสลิมจะต้องปฏิบัติดังนี้ 1 การปฏิญาณตน ยอมรับ อัลเลาะห์เป็นพระเจ้าองค์เดียว

2 การนมัสการ 5 เวลา (ละหมาด) คือรุ่งเช้า เที่ยงวัน บ่าย อาทิตย์ตกดิน และเวลากลางคืน

3 ถือศีลอด ในเดือนละมะฎอน คือเดือน 9 ทางจันทรคติ เป็นเวลา 1 เดือน เมื่ออายุ 15 ปีขึ้นไป

4 การบริจาคทรัพย์ หรือซะกาศ เพื่อแบ่งปันให้คนยากจน ยากไร้ เพื่อลดช่องว่างในสังคม

5 การประกอบพิธีฮัจญ์

หลักสำคัญของศาสนาอิสลาม 1 ไม่แบ่งชั้นวรรณะ 2 เชื่อว่าเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้าย เป็นพระบัญชาของพระมะหะหมัด 3 ไม่เสพสุรา 4 ชายมีภรรยาได้ 4 คน โดยทุกคนต้องมีความสุขและสิทธิ์เท่าเทียมกัน

พระพุทธศาสนา ประมาณพ. ศ. 300 พระพุทธศาสนา นิกายหินยาน หรือนิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ เริ่มเข้ามาในอาณาจักรทวารวดี สาระสำคัญดังนี้ 1 พระศาสดาคือพระพุทธเจ้า 2 ทรงตรัสรู้ อริยสัจ 4 ประกอบด้วยทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค 3 หลักธรรมที่สำคัญ คือ การดับทุกข์ บอกให้รู้ถึงหนทางดับทุกข์ คือ มีเกิด มีดับ แสดงถึงความไม่เที่ยง 4 ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นหลักธรรมขั้นพื้นฐาน ที่ทุกคนปฏิบัติได้ ถ้าใช้ธรรมะเป็นสิ่งประจำใจ 5 ศีลธรรมพระพุทธศาสนา 5.1 โลกุตรธรรม ขึ้นอยู่กับอริยสัจ เป็นการสอนให้เห็นเหตุแห่งทุกข์ และบอกให้รู้ทางดับ "ไม่มีอะไรเป็นตัวเรา ไม่มีอะไรเป็นของเรา" เมื่อมีเกิดก็ต้องมีดับ นี่คือความไม่เที่ยง 5.2 โลกิยธรรม เป็นการสอนทำให้ทำใจให้บริสุทธิ์ เว้นจากการทำบาป ให้ถึงพร้อมซึ่งความดีทั้งปวง เป็นธรรมปุถุชน ได้แก่ศีล 5 ธรรม วลาเป็นฤกษ์ดีทั้งหมดถ้าไม่ทำชั่ว แต่ก็ไม่ปฏิเสธโหราศาสตร์ ดาราศาสตร์

หลักสำคัญบางประการของพระพุทธศาสนา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 1 การพึ่งพาตัวเอง ให้พึ่งพาตัวเอง ช่วยเหลือตัวเอง 2 ฤกษ์ยาม ทุกช่วงเวลาเป็นฤกษ์ดีทั้งหมดถ้าไม่ทำชั่ว แต่ก็ไม่ปฏิเสธโหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ 3 ความเสมอภาคเสรีภาพ 4 ยกย่องฐานะหญิง 5 เชื่อด้วยเหตุผลหรือปัญญา และปฏิเสธการล้างบาป

หลักธรรมในการสร้างความสัมพันธ์ (1 ) สังคหวัตถุ 4 เป็นคุณธรรมที่คู่พบกับพรธรรมวิหาร 4 จัดว่าเป็นคุณธรรมภายใน มีความหมายถึงการสงเคราะห์ซึ่งกันและกัน การเข้าร่วมด้วยกัน และอยู่ด้วยกันด้วยความสุข ประกอบด้วย 1. ทาน คือการให้การเผื่อแผ่แบ่งปันต้องมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ที่พึ่งพามีต่อกัน 2. ปิยวาจาคือการพูดวาจาสุภาพไพเราะ น่าฟัง ด้วยความปรารถนาดีต่อกัน จริงใจ ไม่ถูกกาละเทศะ คำพูดที่ดีจะสามารถผูกมิตรสร้างความประทับใจให้แก่ผู้อื่นได้ 3. อัตถจริยา คือการทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคมเสียสละเพื่อส่วนรวมผู้ที่ปฏิบัติจะได้รับการยอมรับนับถือ และเป็นแนวทางการสร้างภาวะผู้นำอีกด้วย 4. สมานัตตา คือการวางตนเสมอต้นเสมอปลายกระทำตนเหมาะสมทั้งต่อหน้าและลับหลังแม้สภาพสังคมจะเปลี่ยนแปลง

(2) สาราณียธรรม 6 เป็นคุณธรรมที่ทำให้ระลึกถึงกันเกินความเคารพนับถือและความสามัคคีได้แก่ 1. เมตตากายกรรมคือการที่บุคคลปฏิบัติต่อกันด้วยความเมตตา 2. เมตตาวจีกรรมคือการสร้างทางวาจาด้วยความเมตตาด้วยคำพูดที่เป็นประโยชน์ให้เกียรติผู้สนทนาใช้คำพูดที่สุภาพเหมาะสม 3. เมตตามโนกรรมคือการมีจิตใจที่เมตตาต่อผู้อื่นมีความปรารถนาดีมองโลกในแง่ดี 4. สาธารณโภคี คือแบ่งปันทรัพย์สินเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นที่ลำบากและขาดแคลน ทำบุญสร้างกุศล 5. ศีลสามัญญูตา คือ เป็นผู้มีศีล ประพฤติตนตามระเบียบของสังคม มีวินัยในตนเอง เป็นคนดีในสังคม 6 ทิฏฐิสามัญญูตา คือการเห็นร่วมกับผู้อื่นทำตามคลองธรรม ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นยึดหลักของความเป็นจริง ปราณีประนอม

(3) ฆราวาสธรรม 4 เป็นคุณธรรมของการอยู่ร่วมกันโดยเฉพาะจัดเป็นคุณธรรมของผู้ครองเรือน สามีและภรรยาที่พึ่งมีต่อกันและกันได้แก่ 1. สัจจะคือความซื่อสัตย์ต่อกัน 2. ธรรมะ คือความข่มใจควบคุมอารมณ์ ฝึกฝนให้คิดในทางที่ดีงาม ปรับตัวกับสภาพแวดล้อม 3. ขันติ คือความอดทน อดกลั้น ขันติจากทมะ คือการอดทนจากสิ่งกระทบที่มาจากภายนอก เช่น ความยากลำบาก 4 จาคะ คือความแบ่งปัน เสียสละ มีน้ำใจเป็นเครื่องผูกพันที่ทำให้เกิดความรัก นับถือ

(4) เบญจศีลและเบญจธรรม เป็นคุณธรรมปุถุชนสามัญ พึ่งพากระทำเพื่อสังคมเกิดความสงบร่มเย็น

หลักธรรมในการสร้างความสำเร็จ 1 อริยสัจ 4 แปลว่า สิ่งที่ทำให้ผู้ประเสริฐทางปัญญา 4 ประการ เป็นคุณธรรมสูงสุดของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นหนทางแห่งการดับทุกข์ และเข้าใจธรรมชาติที่สำคัญของชีวิตได้แก่ 1. ทุกข์ คือความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ 2. สมุทัย คือสาเหตุแห่งทุกข์ 3. นิโรธ คือการดับทุกข์หมดห่วงกังวล 4. มรรคคือหนทางแห่งการดับทุกข์มี 8 ประการ เรียกว่า มรรคมีองค์ 8 คือ 4.1 สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) เข้าใจในสิ่งต่างๆในความเป็นจริงและนำไปปฏิบัติได้แก่ "ไตรสิกขา" ซึ่งแปลว่าขอพึ่งพา ปฏิบัติ 3 ประการ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) 4.2 สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ คิดออกจากสิ่งผูกพันที่เป็นทุก ไม่พยาบาทมุ่งร้าย ไม่เบียดเบียน 4.3 สัมมาวาจา วาจาชอบ เว้นการพูดเท็จ ส่อเสียด เพ้อเจ้อ หยาบคาย 4.4 สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ เว้นจากการทรมานสัตว์ ขโมย ผิดในกาม 4.5 สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ เว้นอาชีพที่ผิดศีลธรรม (ค้าคน อาวุธ ยาเสพติด ทำลายชีวิต) 4.6 สัมมาวายามะ พยายามชอบ ป้องกันและกำจัดความชั่ว สร้างและรักษาความดี 4.7 สัมมาสติ ระลึกชอบ ระลึกอานันท์ทำให้มีสติที่ดี 4.8 สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ ตั้งใจแน่วแน่ให้มีสมาธิ มีความมั่นคงทางจิตใจ

2 อิทธิบาท 4 เป็นคุณธรรมแห่งความสำเร็จมี 4 ข้อดังนี้

1 ฉันทะ คือพอใจในสิ่งที่ทำทำด้วยใจรัก รักงาน

2 วิริยะ คือความขยันหมั่นเพียร ทำด้วยความพยายามอดทน ไม่ย่อท้อสู้งาน

3 จิตตะ คือทำด้วยความมุ่งใจ ใส่ใจในงานไม่ปล่อยจิตให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอย ใส่ใจงาน

4 วิมังสา คือตรวจสอบทดลอง วางแผน แก้ไขปรับปรุงคุณภาพของงาน ทำด้วยปัญญา

3 ขันติโสรัจจะ ผู้ที่ปฏิบัติจะทำงานด้วยความสุข ได้รับความเอ็นดูจากผู้ใหญ่และศรัทธาจากผู้น้อย ขันติ คือ อดกลั้นอดทน ต่อความยากลำบาก ความโกรธ และทุกข์ โสรัจจะ คือ การทำจิตใจสดชื่น ไม่ขุ่นมัวกับเรื่องที่ไม่พอใจ มีความสงบเสงี่ยม

อบายมุข 6 เป็นหนทางแห่งความเสื่อม เป็นสาเหตุของการทำลายสุขภาพ สติปัญญา ทรัพย์และทำลายบุคลิกภาพที่ดีของบุคคล อีกทั้งยังได้รับความตำหนิจากสังคมจึงควรละเว้นได้แก่ 1 ดื่มน้ำเมา

2 เที่ยวกลางคืน

3 เที่ยวดูการละเล่น

4 เล่นการพนัน

5 คบคนชั่วเป็นมิตร

6 เกียจคร้านการงานหลักธรรมของผู้นำ ผู้ใหญ่ นักปกครอง

(1) พรหมวิหาร 4 เป็นคุณธรรมของผู้ใหญ่ของพ่อแม่ได้แก่

8 อวิหิงสา ไม่ข่มเหงเบียดเบียนในทรัพย์สินหรือเสรีภาพของผู้อื่น ไม่หลงระเริงต่ออำนาจ

2 อัตถัญญุตา รู้จักผลรู้ว่าสิ่งที่ทำอยู่จะได้รับผลอย่างไรมีเป้าหมายอะไรรู้ถึงผลดีผลเสีย

3 อัตตัญญุตา รู้จักตน รู้ธรรมชาติของตัวเองที่จะปฏิบัติได้ถูกต้องเหมาะสมตามสภาพการณ์

6. ปริสัญญุตา รู้จักสังคม วางตัวได้เหมาะสมกับทุกสถานการณ์

หลักธรรมที่ค้ำจุนโลก หิริ โอตตัปปะ เป็นหลักธรรมที่ค้ำจุนโลกป้องกันบุคคลทำความชั่วเพื่อให้ทุกคนบนโลก