คู่มือการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษา 5 ปี

คาํ นาํ

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และไดมี
การประกาศในราชกิจจานุเบกษาลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ๒๕๖๑ และไดกําหนดไวชัดเจนใหสถานศึกษาแตละ
แหง“…จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุงคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาและ
ดําเนินการตามแผนพัฒนาท่ีกําหนดไว”ดังนั้นแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจําป จึงเปนเคร่ืองมือของสถานศึกษาในการสื่อสารกระบวนการดําเนินการ ใหบุคลากรที่เกี่ยวของ
ภายในสถานศึกษาไดยึดเปนแนวทางการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบเพ่ือนําไปสูการ
พัฒนาการจดั การศกึ ษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ

ดังนั้นเพื่อเปนการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหมีความ
เขมแข็ง ถูกตองตามที่กฏหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวของกําหนด จึงไดจัดทําคูมือฉบับน้ีข้ึนเพ่ือใหสถานศึกษา
สามารถใชเปนแนวทางในการดาํ เนินงานการจดั ทําแผนพฒั นาการศึกษา ของสถานศึกษาตอ ไป

ผูจ ัดทาํ
นายณรงค พนั หนูเทยี น
ผอู ํานวยการกลุมนโยบายและแผน
สํานกั งานศึกษาธิการจังหวดั นาน
สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบัญ

คํานาํ ก
คําชี้แจง ค
สารบัญ จ

ตอนท่ี ๑ บทนํา 1

ตอนที่ ๒ แนวคดิ หลกั การ และความสาํ คัญ 2-5
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งานตามวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA)
การจัดทาํ และนาํ ไปสูการใชแ ผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

ตอนที่ ๓ กระบวนการจดั ทาํ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา 6-15
ขนั้ ตอนการจดั ทําแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ ๓ - ๕ ป)
เคา โครง โครงการตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษา

ตอนท่ี ๔ การจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการประจาํ ป (Action Plan) 16-25
วัตถุประสงคข องการจัดทาํ แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ป
ประโยชนที่ไดร ับจากแผนปฏิบตั ิการประจําป
ขนั้ ตอนการจัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป
รูปแบบแผนปฏิบัติการประจําป
แบบฟอรมโครงการ

ตอนที่ 1
บทนํา

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการไดออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาพ.ศ. ๒๕๖๑ และไดมีการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาลงวันท่ี ๒๓ กุมภาพันธ๒๕๖๑ และไดกําหนดไวชัดเจนใหสถานศึกษาแตละแหง
“ … จัดทําแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุงคุณ ตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการ
ตามแผนพฒั นาท่กี ําหนดไว ซ่งึ หนว ยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาตองจดั ทาํ แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
หา้ํ ดตามมาตรฐาน ไดอยา งถกู ตอ งเหมาะสม เปนไปในทิศทางเดยี วกนั รองรับประกาศ สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐานเร่ืองแนวปฏิบัติการดําเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน.ศ.
๒๕๖๑ กําหนดใหสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานตองดําเนินการ โดยในขอ๒ตองจัดใหมีระบบประกัน
คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา(๒.๒) จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใหสอดคลองกับ
สภาพปญหาและความตองการจําเปนของสถานศึกษาอยางเปนระบบโดยสะทอนคุณภาพความสําเร็จอยาง
ชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามบทบาทหนาท่ีและ
ความรับผิดชอบของสถานศึกษา โดยขบั เคลื่อนใหสอดคลองเหมาะสมกับบริบทพื้นท่ี โดยใชแผนพัฒนาการจัด
การศกึ ษาสคู วามมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน ของสถานศึกษาเปนสาํ คัญ และตอบสนองตอการพัฒนาอยางถูกตอง
เหมาะสมเปนไปตามเจตนาของการสรา งระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษาทีม่ ี ประสทิ ธิภาพ

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจําป จึงเครื่องมือจําเปนของ
สถานศึกษาในการส่ือสารกระบวนการดําเนินการ ใหกับบุคลากรท่ีเกี่ยวของภายในสถานศึกษาไดยึดเปนแนว
ทางการดําเนินการท่ีชัดเจน การปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบในของสถานศึกษาโดย
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาจะสะทอนการขับเคล่ือน กระบวนการดําเนินการตามวิสัยทัศนและพันธกิจท่ีเปน
ฉันทามติจากผูรับผิดชอบการจัดการศึกษาของสถานศึกษาผูรับโอกาสของการจัดการศึกษา และผูสงเสริม
สนับสนุนการจัดการศกึ ษาใหม คี ุณภาพตามเจตนารมณท ่ีกําหนดไวตามกฎหมายทางการศึกษาที่เก่ียวของ ไปสู
การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปเพื่อการดําเนินการตามโครงการ กิจกรรม และวัตถุประสงคจนกระท่ังได
ขอมูลสารสนเทศในการจัดทํารายงาน ผลการปฏิบัติงานประจําปของสถานศึกษา มีกระบวนการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการบรรลเุ ปา หมายคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้นบุคลากร
ผูทําหนา ทีด่ งั กลา วจงึ จําเปนทีจ่ ะตอ งมคี วามรูความเขา ใจ ในความสัมพันธ เช่ือมโยงระหวางแผนพัฒนาการจัด
การศกึ ษาและแผนปฏิบัติการประจําป เพ่ือนําไปสูการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ กระท่ังไดขอมูลสารสนเทศจาก
การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิประจําป ในการนําไปประยุกตใชสําหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีหมุนเวียนใช
ประโยชนจากขอมูลสารสนเทศโดยสถานศึกษาจัดทําเปนเอกสารสรุปผลการดําเนินการที่เปนรายงานผลการ
ปฏิบัติการประจําป ของสถานศึกษาและสถานศึกษาจะไดประโยชนจากการใชเพ่ือการจัดทํารายงานผลการ
ประเมนิ ตนเอง (SAR: Self - Assessment Report) ไดตอไป

คูมอื การจดั ทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 1

ตอนที่ 2
แนวคิด หลักการ และความสาํ คัญ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาตามแนวทาง
เปา หมาย อดุ มการณข องกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาทั้งยุทธศาสตรชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ แผนการศึกษาแหงชาติ ตลอดจนพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติกําหนดใหหนวยงานท่ี
เกี่ยวของกบั การจัดการศึกษาและสถานศึกษดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาท่ียึดแนวคิดพ้ืนฐาน
หลักการใหสอดคลองกับการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ การเปดโอกาสใหผูเกี่ยวของทุกภาคสวนมีสวนในการ
รวมดําเนินการ ตลอดกระบวนการดําเนินการ การใชสารสนเทศสําหรับการพัฒนาคุณภาพ การสราง
วฒั นธรรมคณุ ภาพของสถานศึกษาและการจัดทําระบบการพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาดําเนินการ
พัฒนาเพื่อมุงสรงคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาตามท่ีระบุไวในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพดาน
การศึกษาพ.ศ. ๒๕๖๑ โดยการจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอยางเปนระบบโดยสะทอน
คณุ ภาพความสาํ เรจ็ อยางชัดเจนตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
สถานศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานควรออกแบบระบบการประกัน คณุ ภาพภายในท่ีมี
แนวทางหลกั ดงั นี้

๑. กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและคา เปาหมาย ความสําเรจ็

๒. จัดทําแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
๓. ดาํ เนนิ งานตามแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๔. ประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
๕. ตดิ ตามผลการดําเนนิ การเพอ่ื พฒั นาสถานศึกษาใหมีคุณภาพ
๖. จัดทาํ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง(SAR: Self – Assessment Report)

๗. พฒั นาสถานศึกษาใหมคี ุณภาพภายใตการใชผลการประเมินคุณภาพภายในใหเ กิดประสิทธิภาพ

และพฒั นาอยางตอเน่ือง
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศกึ ษาเนนการใชแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและการบริหาร

จัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธควบคูก นั เพ่อื ใหเ กิดความชัดเจนเหมาะสมและสามารถดําเนินการพฒั นาสูอนาคต
ไดอยางเปน ระบบ และมีการบริหารจัดการสถานศึกษาซึ่งเนนความเปนระบบมคี วามเปนเหตุเปนผล ยดึ
กระบวนการเชงิ กลยทุ ธเพ่ือการดําเนินการจึงตองเช่อื มโยงและมีความสัมพนั ธร ะหวางกันการบริหารจัดการ
เชิงกลยทุ ธข องสถานศึกษาเปนกระบวนการศกึ ษา วเิ คราะหสังเคราะหออกแบบและวางแผนดาํ เนินการที่ให
เห็นความสาํ คัญกบั การมองความสาํ เร็จของปจจบุ ันสูอนาคตภายใตก ารพจิ ารณาถึงความเปน ไปไดในการใช
ความสามารถของบุคลากรในสถานศึกษาดวยการระดมทรัพยากรมาใช และการพจิ ารณาถึงทางเลือกตางๆ
อยางรอบคอบและชัดเจนวาจะสามารถนําพาสถานศึกษาไปสูเ ปา หมายตามภารกจิ ท่ีสอดคลองกับวสิ ยั ทศั น
พนั ธกจิ และเปา ประสงคหลักทีว่ างไวน อกจากน้นั การวางแผนกลยทุ ธเ กยี่ วของกบั การวิเคราะหทุกปจ จยั ที่
คาดวา จะกอใหเ กิดการเปลยี่ นแปลงในอนาคตและผลกระทบตอสถานศึกษาท้ังในแงของโอกาสและอปุ สรรค
เพอ่ื จะบอกทิศทาง ทีส่ ถานศึกษากําหนดขึ้นอยา งชดั เจนในการดาํ เนนิ การสูอนาคตได ตามผงั การบรหิ าร
จัดการเชงิ กลยุทธ

คูม ือการจดั ทาํ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 2

วงจรคุณภาพการบริหารเชิงระบบ (PDCA) การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จะตอ งออกแบบการดําเนนิ การภายในสถานศกึ ษาทีเ่ นน การสรางความเขาใจสําหรับบุคลากรท่ีเกี่ยวของ
ใหตรงกันในทุกขั้นตอนการสรางความเขาใจในความสัมพันธเช่ือมโยง การดําเนินการ ระหวางขั้นตอน
ของการดําเนนิ การสถานศึกษาสวนใหญจ ะยดึ ขัน้ ตอนของวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ(PDCA)
เพ่ือขับเคลื่อนคุณภาพ ทั้งขับเคลื่อนคุณภาพของสถานศึกษาทั้งขับเคล่ือนคุณภาพงานของกลุมงาน ท้ัง
ขับเคลื่อนคุณภาพของบุคคลที่มีบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบ ภายใต ๔ ข้ันตอนสําคัญ
ประกอบดว ย

P : Planning การวางแผนพัฒนาคุณภาพ
D : Doing การปฏบิ ตั ิงานตามแผนพฒั นาคุณภาพ
C : Checking การตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพ
A : Action การปรบั ปรุงและพัฒนาคณุ ภาพ

สถานศึกษาจะตอ งประยุกตใ ชวงจรคณุ ภาพเพื่อใหสอดคลอ งเหมาะสม กบั บรบิ ทของสถานศึกษาโดย
ยึดการพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทเ่ี กิดจากการประยุกตใชขอมูลสารสนเทศมา
ออกแบบวางแผนการบริหารจดั การเชงิ กลยุทธซ งึ่ บุคลากรท่เี กี่ยวขอ งมีสวนรวมตอการขับเคล่ือนการพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษาจนเกิดเปนวัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษา โดยทุกคนยึดม่ันท่ีจะดําเนินการ
อยางเปน ระบบและมีประสทิ ธภิ าพประกอบดวย ๔ ข้ัน ดังน้ี คอื

ขั้นการวางแผนพัฒนาคุณภาพ P : Planningเปนขั้นการกําหนดกรอบรายละเอียดของการ
ดําเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ผานการศึกษา วิเคราะหสังเคราะหสําหรับการวางแนวทาง
เพ่ือพัฒนาดวยการพิจารณาคัดเลือกแนวทางท่ีมีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาท่ีสุดในการ
แกไ ข ปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงและพัฒนาคุณภาพโดยจะชวยสงเสริมใหการคาดการณสิ่งที่จะเปนผลสําเร็จ
ในอนาคต มีความชัดเจนมากทีส่ ุด

ขน้ั การปฏบิ ัตงิ านตามแผนพฒั นาคุณภาพ D:Doingเปนข้ันการนําแนวทางท่ีผานการวางแผนไวอยาง
ชัดเจนมาสูการปฏิบัติตามกิจกรรมซ่ึงกําหนดไวในแนวทางดังกลาวเพ่ือสรางความสําเร็จใหบรรลุตาม
วตั ถปุ ระสงคทง้ั การแกไ ข ปรับปรงุ เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคณุ ภาพจนเกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด

ข้ันการตรวจสอบประเมินผลการพัฒนาคุณภาพ C : Checkingเปนข้ันการเลือกใชวิธีการและ
เคร่ืองมือเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลสารสนเทศจากการดําเนินการแกไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
คุณภาพสําหรับนํามา วิเคราะหแปลผลและเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเงื่อนไขของความสําเร็จจาก
การดาํ เนนิ การวาบรรลุผลสําเรจ็ หรือไม อยา งไร

คูมือการจัดทาํ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 3

ขั้นการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ A : Actionเปนข้ันการนําผลการประเมินมาพิจารณาอยาง
ละเอียดรอบคอบและตัดสินในการพิจารณาแนวทาง สําหรับการแกไขปรับปรุงเปล่ียนแปลงและพัฒนา
คุณภาพไปประยุกตใ ช เพือ่ สรา งกระบวนการสนับสนนุ ความกาวหนา อยา งเปนระบบและมีความตอ เนื่อง

สถานศึกษาวางแผนและออกแบบการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยการ
ประยุกตใชวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA) สําหรับการกํากับวางแผน และออกแบบขับเคลื่อน
วงจรใหเกิดความเปนพลวัต(Dynamic) ซึ่งจะทําใหวงจรดําเนินเปนระบบและมีความตอเน่ืองสอดคลองกับ
เปาหมายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาซึ่งตองกําหนดไวในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาท่ีมีความสอดคลองกับมาตรฐานของการประกันคุณภาพภายในประกอบดวยมาตรฐานดาน
ผลลัพธ(มาตรฐานคณุ ภาพผเู รียนทีจ่ ําแนกเปนผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน และคุณลักษณะที่พึงประสงค
ของผูเ รียน)กับมาตรฐานดานกระบวนการ(มาตรฐาน ดา นกระบวนการบริหารและการจัดการกับมาตรฐานดาน
กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ) ดําเนินการศึกษาวิเคราะห สังเคราะหนโยบาย
ทางการจัดการศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของหนวยงานตนสังกัดจุดเนนการพัฒนา
กลุมเปาหมายของการศึกษา ผลที่เกิดจากการสังเคราะหผลการประเมินในรอบปที่ผานมาเปาหมาย คุณภาพ
ตามมาตรฐานซ่ึงบุคลากรที่เกี่ยวของมีสวนรวมตลอดกระบวนการ การดําเนินการพัฒนาคุณภาพท่ีตอบสนอง
ตอความตองการพัฒนาคุณภาพ ของผูมีสวนไดสวนเสียดวยการตรวจสอบใหมีความสอดคลองกับขอมูล
สารสนเทศ ทถี่ กู ตอ งเหมาะสม เพียงพอ ชดั เจน ซึ่งจะกอใหเกิดประสิทธิภาพของการดําเนินการพัฒนาสําหรับ
การบริหารสถานศึกษาเชิงกลยทุ ธผานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาและแผนปฏิบตั กิ ารประจําปของสถานศึกษา
ทไ่ี ดจดั ทาํ ขน้ึ และนําไปสูการใชอ ยา งเปน ระบบ

บคุ ลากรในสถานศึกษาควรศึกษาความสมั พนั ธของความเชื่อมโยงและความเปนเหตเุ ปนผลของการนาํ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจําปของสถานศึกษ ใหสามารถสรุป
สาระสําคัญทแี่ สดงใหเหน็ ความสมั พนั ธเชอ่ื มโยงระหวางการใชแ ผนท้งั ๒ลักษณะคือ

1. แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา( Education Develop Plan)
- เปนแผนแมบทที่สถานศึกษากาํ หนดกรอบความสําเรจ็ แนวทางการดาํ เนินงาน การตดิ ตาม

ตรวจสอบและประเมนิ ผล เพ่ือตรวจสอบการบรรลตุ ามเปา หมาย
-ระยะเวลาการดาํ เนนิ งานและกาํ หนดเปาหมายการดาํ เนนิ งาน 3-5 ป
- นาํ ผลการดาํ เนนิ งานจากแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปทผี่ านมาปรบั ใหเหมาะสมกับสถานการณ
- แนวทางการดาํ เนนิ งานกาํ หนดกรอบไวกวา งๆตามนโยบาย
- วเิ คราะหความสอดคลองของยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ แผนปฏิรูป

ประเทศ นโยบาย จดุ เนน ของหนว ยงานทเี่ กยี่ วของระดับตา งๆ เพ่ือวางแผนการพัฒนาคุณภาพ
- โครงการ/กจิ กรรม ออกแบบไวตลอด 3-5 ป มคี วามเช่ือมโยงและสามารถดําเนินการ

เพ่ือใหเกดิ คณุ ภาพในองคกรระยะยาว
2. แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปของสถานศึกษา (Action Plan)
- เปนแผนทเี่ กิดจากการวิเคราะหแผนพัฒนาการจัดการศึกษา เพ่ือการดาํ เนินงานเปนรายป
- ระยะเวลาดําเนนิ งาน 1 ป
- นําเปาหมายของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาลงสกู ารปฏิบตั ิในแตล ะป
- มีการปรับปรงุ ระหวางการปฏบิ ัติตามแผนปฏิบตั ิการประจาํ ป
- กิจกรรมในโครงการ กาํ หนดไวข ดั เจน สามารถปฏิบัตใิ หเ กดิ รูปธรรมได
- วเิ คราะหโ ครงการ/กจิ กรรม ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อดาํ เนนิ การตดิ ตาม

ตรวจสอบและประเมินผล
- โครงการ/กจิ กรรม เลือกดําเนินการกอน หลงั ในแตละปตามลําดบั โดยพจิ ารณาจาก

ความสาํ คัญของโครงการ/กจิ กรรมทส่ี อดคลองกับสถานการณ

คูมอื การจัดทาํ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 4

แนวคิดในการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาจะตองดาํ เนินการใหบ รรลุตามเปา หมาย
ของการจัดการศึกษาตามกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ งกับการจดั การศึกษาท่ีเนนใหมีการดําเนินการอยางเปนระบบและ
ปฏิบัติอยางตอเนื่องโดยสงเสริมสนับสนุนใหมีการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาที่ยึดสภาพปญหาความตองการของชุมชนทองถิ่นควบคูไปกับการใหความสําคัญของการใช
ขอมลู สารเทศทีเ่ ปนปจ จยั หลักสําหรบั การวางแผนรว มกันระหวา งบคุ ลากรท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
ท่ีมีสวนเกี่ยวของสถานศึกษาจะตองมีการระดมสมองเพ่ือการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอก
เพ่ือใหไดขอสรุปในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เนนผูใหบริการทางการศึกษาซ่ึงมีความ
สอดคลองเหมาะสมกับความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียเปดโอกาสใหบุคลากรที่เก่ียวของรวมคิดรวม
ออกแบบรวมวางแผนรวมจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาในการกําหนดวิสัยทัศนพันธกิจเปาหมายเงื่อนไข
และภาพแหงความสําเร็จท่ีครอบคลุมภารกิจและความรับผิดชอบสําหรับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา ที่สถานศึกษาไดกําหนดผานแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษ และแผนปฏิบัติการ
ประจําปของสถานศึกษา ซึ่งจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองดําเนินการอยางมีคุณภาพมีประสิทธิภาพและถูกตองตาม
หลักวิชาการ และทฤษฎีทางการศึกษาท่ีเกี่ยวของทั้งดานการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ(Strategic -
Management) วงจรคณุ ภาพการบริหารงานเชิงระบบ(PDCA) การจัดทําและนําไปสูการใชแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา จึงเปนที่นายอมรับ และเช่ือถือไดวาการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาตามแนวคิด หลักการท่ีเสนอความเชื่อมโยงการวางกรอบแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ดังกลาวจะ
สามารถขับเคลื่อนสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ผานการทําโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการประจําป
จนกระทัง่ บรรลุเปาหมายคณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาไดอยา งมีประสิทธิภาพ ดําเนินการไดอยางเปน
ระบบและมีความตอเนอื่ ง

คมู ือการจดั ทาํ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา หนา 5

ตอนที่ ๓
กระบวนการจัดทาํ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา( Education Develop Plan)

กระบวนการจดั ทาํ แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา เปนขั้นตอนของการกําหนดเปาหมาย
และแนวทางในการพฒั นาการจัดกา ศึกษาของสถานศึกษาในชวงระยะเวลาที่ (กาํ หนด–๕ ป)โดยจดั ทําไวเ ปน
ลายลกั ษณอักษรเพ่ือใหเกิดความม่นั ใจวา สถานศึกษาจะดาํ เนนิ การตาม ท่ีกาํ หนดรวมกนั โดยอาศยั หลักการ
และแนวคิดการบริหารจัดการ

วเิ คราะหป ญหา อุปสรรค และความตอ งการจําเปน ของสถานศึกษา
SWOT Analysis and TOWS Matrix

สถานศึกษารวมกนั กําหนดวิสยั ทศั น พันธกิจ เปาหมาย
จัดทาํ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาทีม่ งุ พฒั นาคณุ ภาพ
สถานศกึ ษาทัง้ ระบบตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา (ระยะ ๓-๕ ป)

จัดทาํ แผนปฏบิ ัติการประจําป
ดาํ เนินการตามแผน

ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมิน

พฒั นาและปรับปรงุ การดาํ เนินงาน

คูมือการจัดทาํ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 6

ข้นั ตอนการจัดทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา (ระยะ ๓ –๕ป )
แตงต้ังคณะทาํ งาน

รวบรวมขอมลู สารสนเทศเกย่ี วกับสภาพภายในและภายนอก
ของสถานศกึ ษา

วเิ คราะหและประเมินศกั ยภาพของสถานศกึ ษา
กําหนดทศิ ทางการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

วสิ ัยทัศน พนั ธกจิ และเปาประสงค
กําหนดกรอบกลยุทธการพัฒนา วัตถปุ ระสงคเชงิ กลยุทธ ตวั ช้วี ดั

คาเปาหมาย กลยทุ ธร ิเร่มิ โครงการ
จัดทาํ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาท่ีมงุ พัฒนาคุณภาพ

ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

คูมือการจัดทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 7

ขัน้ ท่ี ๑ แตงตั้งคณะทาํ งาน

๑. คณะทาํ งานควรประกอบดวยผูท่ีเก่ียวขอ งผมู ีสวนไดส วนเสยี ในการจัดการศึกษาท้ังภายนอกและ

ภายในสถานศกึ ษา ไดแกผ แู ทนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน/ครู/ นักเรยี น/ ชมุ ชน/ องคกรปกครอง
สวนทองถ่ิน ทงั้ น้ีควรมีผูทรงคุณวฒุ ิเปนท่ีปรึกษาดวยคณะกรรมการและคณะทํางานอาจจําแนกเปน ดานๆ ตาม
ความเหมาะสม เชนคณะกรรมการทีป่ รึกษาคณะกรรมการอาํ นวยการคณะกรรมการดําเนนิ การแตล ะดานเชน
ดานขอมลู และสารสนเทศ โดยกําหนดบทบาทหนา ทใี่ หส ามารถจดั ทําแผนพฒั นาการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนา
สถานศึกษาใหบ รรลวุ ัตถุประสงคแ ละมีประสิทธิภาพ

๒. สรางความรคู วามเขา ใจคณะทาํ งาน และบุคลากรที่เกีย่ วของเกย่ี วกับการวางแผนการพัฒนา

การจดั การศึกษา
ขั้นที่ ๒ รวบรวมขอมลู สารสนเทศเกีย่ วกับสภาพภายในและภายนอก ของสถานศึกษา

ขอมูลพืน้ ฐานและระบบสารสนเทศตองถูกตอ งครบถว นและเปน ปจจุบนั ครอบคลมุ งานทกุ ดานทั้ง
ดา นวชิ าการดานงบประมาณดานบุคลากร และดานบรหิ ารทัว่ ไปโดยใชเครอ่ื งมอื และเทคโนโลยใี นการเก็บ
รวบรวมขอ มูลวิเคราะหข อมูลนําเสนอขอมลู ที่ถูกตองเท่ยี งตรงจากแหลงขอมลู ท่ีเชื่อถือได มกี ารวเิ คราะห
สารสนเทศวิเคราะหความขาด- เกินเทียบกับเกณฑมาตรฐาน เพื่อจะใชเ ปน ฐานขอมูลในการจดั ทาํ
แผนพฒั นาการจัดการศึกษา

๑. ขอมลู พน้ื ฐานดานปริมาณอาทนิ ักเรยี นจาํ แนกตามระดับชั้นครแู ละบุคลากรทางการ

ศึกษา ทดี่ นิ และสิง่ กอ สรา ง
๒. ขอมลู ดา นคุณภาพผูเรียนอาทิผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นทุกระดับ ประกอบดว ย ระดบั สถานศึกษา

ระดบั เขตพื้นที่การศึกษาระดับชาตคิ ุณภาพผเู รยี นจากผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอกสุขภาพ
ผูเ รยี นรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของสถานศึกษารวมถึงนโยบายอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวของกับผเู รยี น
เปนตน

๓. ขอมูลดานกระบวนการบริหารและการจัดการอาทิกฎหมาย นโยบายที่เก่ียวของมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษารายงานผลการดําเนินงานท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษา
แหลงเรียนรูภายในและภายนอกสถานศึกษาปราชญชาวบานภูมิปญญาทองถิ่นบันทึกรายงานการประชุม
รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในรายงานผลการประเมินภายนอกของสถานศกึ ษา เปน ตน

๔. ดา นกระบวนการจัดการเรยี นการสอน อาทหิ ลกั สตู รในแตล ะระดับ แผนการจัดการเรียนรแู ผนการ
จัดประสบการณบนั ทึกหลงั สอนแฟมสะสมผลงานของครูการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนสื่อสารสนเทศที่ใชในการ
จัดการเรียนการสอน เปน ตน

๕. นโยบายทเ่ี กี่ยวของในระดบั ตางๆ

ขน้ั ที่ ๓ การวเิ คราะหขอมลู เกย่ี วกับสภาพภายในและภายนอกของสถานศึก
การวเิ คราะหขอมลู ทเ่ี ก่ยี วของกับสภาพภายในดานจดุ เดน จุดทค่ี วรพฒั นา สภาพภายนอกดานโอกาส

และอุปสรรคของสถานศึกษานั้น มกี ารวเิ คราะหห ลายแนวทางเชน Scenario Planning / Five Forces
Model / BSC / KPI / SWOT Analysis / TOWS Matrix เปน ตน โดยในเอกสารฉบับนี้ ไดยกตวั อยา งการ
วิเคราะหขอมูลดวยวธิ ี TOWS Matrix

คมู ือการจัดทําแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 8

ปจ จยั ภายใน จุดแข็ง Strengths = S จุดออ น Weaknesses = W

S๑ นักเรียนมคี ุณธรรมจริยธรรม และมีคุณลกั ษณะ W๑ นักเรียนมีผลสมั ฤทธ์ิตกวาเกณฑที่กาํ หนด

ทพี่ งึ ประสงคตามหลกั สูตร W๒ นกั เรียนยังขาดทักษะการเรยี นทีส่ ําคญั ในศตวรรษท่ี
โดยเฉพาะทักษะการคิดวิเคราะห การสือ่ สาร
S๒ นกั เรียนสุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดี การคดิ คํานวณ
การจดั กระบวนการจัดการเรียนการสอนยงั ไมใช
S๓ สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาท่เี หมาะสมกบั ผูเรียน รูปแบบการเรียน

ปจ จยั ภายนอก สอดคลอ งกบั ทองถ่ิน การสอนทห่ี ลากหลาย

โอกาส Opportunities = O กลยุทธเชิงรุก SO Strategies กลยุทธเชิงแกไ ข WO Strategies

ปลูกฝงนักเรียนใหมคี ุณธรรม จริยธรรมและมีคุณลักษณะ WO๑เรง ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให
O๑ ตน สังกัดและหนวยงานเอกชนใหก ารสนับสนุนการศกึ ษาSO๑ ทส่ี งู ขึน้
เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั มาใชเพม่ิ ประสิทธภิ าพใน
O๒. ชมุ ชนมเี อกลักษณ ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เดนชัด พงึ ประสงคโ ดยใชเอกลกั ษณ ขนบธรรมเนียมประเพณี การจัดการเรียนรู
O๓. ความกา วหนาทางเทคโนโลยี ทําใหนักเรียนสามารถ และเครือขา ยความรว มมือกบั ชมุ ชน สถาบนั ทางศาสนา
แสวงหาความรูจากแหลง ความรูตาง ๆ ไดดวยตนเอง อยา งใกลช ิด พฒั นานักเรยี นใหม ีทักษะ
การเรียนรูทส่ี าํ คัญในศตวรรษท๒ี่ ๑ โดยมุงเนน
SO๒ เสรมิ สรา งนักเรียนสุขภาพกาย สุขภาพจติ ทักษะการคิดวเิ คราะห การสอ่ื สาร

O๔. ชมุ ชน อปท. หนว ยงานภาครัฐสถาบันศาสนา ที่ดีดวยความรวมมอื กับหนวยสาธารณสุขในพน้ื ที่ การคดิ คาํ นวณ
ปรบั ปรุงการจัดกระบวนการจัดการเรียนการ
มีสวนรวมในการบริหารจัดการศึกษาท่เี ขม แข็ง SO๓ พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาสอดคลองกับทองถ่นิ และ SO๓ สอนและกิจกรรม
O๕. มีแหลงเรยี นรแู ละภมู ปิ ญ ญาภายนอกใหศึกษาอยา ง การเรียนรูดวยรปู แบบท่ีหลากหลาย โดยใช
หลากหลาย ความตอ งการและความถนัดของผูเรยี นโดยใชแหลงเรียนรู เทคโนโลยที ี่ทนั สม

และภูมิปญ ญาภายนอกใหศกึ ษาอยา งหลากหลาย และใหแหลงเรียนรูในชุมชน

อปุ สรรค Threats = T กลยุทธเ ชิงปอ งกนั ST Strategies กลยุทธเ ชิงรับ WT Strategies
WT๑ พฒั นาระบบการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา
T๑ นโยบายการจํากดั อัตรากาํ ลัง ST๑ เสริมสรางความรวมมอื ระหวา งบา น วัด โรงเรียน ใหเ ขม แข็งพรอมรบั การเปลี่ยนแปลง
T๒ นโยบายการศึกษามกี ารเปลีย่ นแปลงบอยสง ผล อยา งใกลใ นการดูแลนักเรียนอยางใกลชิด

ใหโรงเรียนมคี วามยุงยากการบริหารจัดการ

T๓ ปฏสิ มั พันธระหวางบา น วดั โรงเรยี นไมตอเน่ืองสงผลตอ

พฤติกรรมไมพ งึ ประสงคของนักเรียน
T๔ อตั ราการหยารางของผปู กครองมแี นวโนมสูงขน้ึ ทําให
เด็กอาศยั กับบุคคลอ่ืนสงผลตอความพรอ มในการเรียนรู
ของนักเรียน

ข้ันที่ ๔ การกาํ หนดทิศทางการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
ทิศทางการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเปนการกาํ หนดเปาหมายท่สี ถานศึกษาตอ งดาํ เนินการ

จัดการศกึ ษาเปรียบเสมือนเปนผลลพั ธระดบั สูงท่สี ถานศกึ ษาตองการทีจ่ ะบรรลซุ งึ่ การกาํ หนดทิศทางของ
สถานศกึ ษาเปน กระบวนการท่ีบคุ ลากรทุกฝา ยของสถานศึกษารว มกันตงั้ ปณิธานความมุงหวงั ต้ังมั่น ปรารถนา
ทจี่ ะพฒั นาสถานศึกษาไปสคู วามสําเร็จ โดยรวมกันระดมพลังปญ ญา วิจารณญาณและแรงบนั ดาลใจตรวจสอบ
ทบทวน กลัน่ กรองจดั วางสรางสรรค สภาพท่ีพึงประสงคของสถานศกึ ษาทิศทางของสถานศึกษาประกอบดวย
วิสยั ทัศน พันธกิจ เปาประสงค

คูมอื การจดั ทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 9

๔.๑ การกําหนดวสิ ัยทัศน (Vision)
วสิ ยั ทศั นจะเปน การมองไปในอนาคต(Future Perspective)เปน ส่งิ ที่จะบอกถึงส่งิ ที่

สถานศึกษาอยากจะเปน ในอนาคตเปน การบอกถึงทิศทางขององคกรในอนาคต
ตัวอยา งการกาํ หนดวสิ ัยทศั น

ดา น ภาพความสาํ เร็จในอนาคต กาํ หนดวสิ ยั ทัศน
1. คุณภาพ
ผูเ รยี น ..............................................

นกั เรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการเพิม่ ข้ึน ......................

..............................................

มคี วามเปน เลิศทางวชิ าการ มีทักษะท่ี ......................

จาํ เปนในศตวรรษที่ ๒๑ เปนคนดี

มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีวินัย ซอื่ สตั ยภายในป..............มุงพัฒนา

มีจติ สาธารณะ รักในสถาบันหลกั ของชาติใหผ ูเรียนเปนคนดี คนเกง

ยึดมนั่ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยมีความเปนไทย พรอ ม

อนั พระมหากษตั ริยเ ปนประมุข มีสุขภาวะ หรบั วิถีชีวติ ในศตวรรษ
ทดี่ ี และมีภมู ิคุมกนั จากภัยในทกุ รปู แบบท๒ี่ ๑

2. คุณภาพการ
จดั สถานศึกษามีหลักสตู รสถานศึกษาท่ี
การเรยี นการสอน เหมาะสมกบั ผเู รียนสอดคลอ งกบั ทอ งถิ่น
ท่เี นนผูเรียน การเปลยี่ นแปลง มกี ระบวนการจดั
เปนสํา คญั กระบวนการเรยี นรูที่เนนผูเรียนเปน สาํ คัญ

และมกี ารวัดผลประเมนิ ผลนักเรียน
ในรปู แบบที่หลากหลายตามสภาพจรงิ

3. คณุ ภาพการบรหิ าร เปน โรงเรยี นคณุ ภาพชัน้ นาํ ท่ีมีเอกลกั ษณ
จดั การ อนั โดดเดน มีระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่เขม แขง็ มีผลงาน

เปน ทป่ี ระจกั ษ มี สภาพแวดลอมท่ีอบอุนปลอดภยั เอ้ือตอ การเรียนรู
มีแหลงเรียนรทู มี่ ีคณุ ภาพ ไดรับ การยอมรบั และเชอ่ื ม่นั ของชมุ ชน
สงั คม และไดร ับความรวมมอื จากทกุ ภาคสวน ใน การจัดการศึกษา

๔.๒ การกาํ หนดพันธกิจ (Mission) พันธกจิ เปน บทบาทหนาท่ีของสถานศกึ ษาทตี่ องดําเนินการ
เพ่อื ใหวิสัยทศั นเ ปนจรงิ พนั ธกิจจงึ เปนการบงบอกหนา ที่ของสถานศึกษาท่ีกาํ ลังทํา หรือจะทําในอนาคตใหแก
ผรู บั บริกาหรือสงั คมไดร ับรูว าเรากาํ ลงั ทําอะไร ขอความท่ปี รากฏในพนั ธกิจมักระบผุ ลผลติ ของสถานศึกษากลมุ
หรือผรู ับบริการ หรอื วิธกี ารดําเนินงานและความรับผิดชอบของสถานศกึ ษา

คูมอื การจัดทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 10

ตวั อยางการกาํ หนดพันธกจิ

วิสัยทัศน (Vision : V) มงุ พัฒนาใหผ เู รยี นเปนคนดีคนเกง มีความพรอมสาํ หรับวถิ ีชีวติ ในศตวรรษท๒่ี ๑

มาตรฐานการศกึ ษา Key Word สาํ คัญของวสิ ัยทศั นพันธกจิ ของสถานศึกษา

๑. ดานคุณภาพ V๑ ผเู รยี นเปนคนดี ๑. ปลกู ฝง คณุ ธรรม จริยธรรม
ของผเู รียน V๒ ผูเรยี นเปน คนเกง คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค
ดานกระบวน V๓ มีความเปนไทย เปน พลเมอื งท่ีดี มีความเปนไทย
การเรียนการสอน V๔ พรอมสําหรับวิถชี ีวิต ภูมิคมุ กันจากภยั ในทุกรปู แบบ
ทีเ่ นนผูเ รยี น มสี ขุ ภาวะที่ดี และมีวถิ ชี วี ิต
เปนสําคัญ ในศตวรรษที่ ๒๑ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. ดา นการบริหาร ๒. พัฒนาผูเรียนใหมีพัฒนาการ
และการจัดการ สมวัย มีผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการ
สงู ข้ึนและมที กั ษะการเรียนรูที่
สาํ คัญในศตวรรษท่ี ๒๑
๓. พฒั นาหลักสตู ร กระบวนการเรยี น
การสอน และการวัดผลประเมิน
ผลทีเ่ นนผูเรยี นเปน สําคัญ

คูมือการจัดทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 11

๔.๓ การกาํ หนดเปาประสงค (Goal) เปาประสงคเ ปนส่งิ ที่คาดหวังในอนาคตหรือผลลัพธท่อี งคกร
ตองการใหเ กดิ ขึ้นโดยมคี วามเชือ่ มโยงกับวสิ ยั ทัศนแ ละพนั ธกจิ เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดกลยุทธ
และประเมินผลความสําเร็จตอไป

ตัวอยางการกาํ หนดเปาประสงค

วสิ ัยทศั น พันธกิจ(M) เปาประสงค (G)
๑. นักเรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
มงุ พัฒนาใหผูเรียน 1.ปลกู ฝงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค
เปน คนดี คนเกง คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค มีวินยั ในตนเองสงู เปนพลเมือง
มีความเปนไทย ความมีวนิ ัยในตนเองสงู ที่ดี มีความเปนไทยภมู คิ ุมกัน
พรอ มสําหรับวถิ ีชีวติ เปน มีความเปนไทยภมู คิ มุ กันจากภยั ในทุก
พลเมืองทด่ี ใี นศตวรรษท่ี ๒๑ รปู แบบ มสี ขุ ภาวะทีด่ ี และมีวถิ ปี รัชญา 2. มผี ลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการสงู ขึน้
ของเศรษฐกิจพอเพยี งชวี ิตตามหลกั และมที กั ษะการเรียนรทู สี่ ํา คัญ
ปรชั ญา
๒. นกั เรียนใหม พี ัฒนาการสมวยั 3. จดั กระบวนการเรียนการสอน
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการวดั ผลประเมินผลทเี่ นน
๒. พัฒนานกั เรยี นใหม ผี ลสมั ฤทธิ์ทาง ผเู รยี นเปน สาํ คญั
วชิ าการสูงข้นึ ในศตวรรษท๒่ี ๑
และมที ักษะการเรียนรูท๓่ี .สถานศึกษา
มหี ลกั สตู รสําคญั ในศตวรรษที่ ๒๑
๓. พัฒนาหลกั สตู ร
กระบวนการเรียนการสอน
และการวดั ผลประเมนิ ผล
ท่เี นน ผูเรยี นเปนสาํ คญั

วธิ เี ขียนเปาประสงค ความเปลีย่ นแปลงในอนาคต

กลุม ท่สี ถานศกึ ษามอบคณุ คาใหคณุ คาท่ีมอบให มวี ินัยในตนเองสงู เปนพลเมือง
ที่ดี มีความเปนไทยภูมิคมุ กั
ผเู รียน คณุ ธรรม จริยธรรม จากภยั ในทุกรปู แบบ มีสขุ ภาวะที่ดี
คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค และมีวิถชี ีวติ ตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

คูมอื การจดั ทาํ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 12

ขัน้ ตอนที่ ๕ การกําหนดกรอบกลยุทธพ ัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษา(Strategic Formulation)
การกําหนดกลยุทธ(Strategic Formulation) ของสถานศึกษาเปนการเลือกวิธีการทํางานท่ีมุงสู

จุดหมายปลายทางอยา งมีทศิ ทางทเ่ี หมาะสม สอดคลองกับสภาพแวดลอมของสถานศึกษาตอบสนองวิธีการสู
จุดหมาย ปลายทางระดับนโยบายสามารถดําเนินการไดประสบความสําเร็จนาํ ไปปฏิบัติไดจริง การกําหนดกล
ยุทธเปนการนำขอมูลและความรูตาง ๆ ท่ีไดรับจากข้ันตอนการกําหนดทิศทางของหนวยงานและการศึกษา
สถานภาพหนวยงาน(SWOT - Analysis) ดวยการวิเคราะหสภาพแวดลอมท่ีเปนจุดแข็ง(Strength) จุดออน
(Weakness) โอกาส (Opportunity) และอปุ สรรค(Threat) ของสถานศึกษา มาจัดทําเปนกลยุทธในรูปแบบ
ตางๆ การกําหนดกลยุทธเปรียบเสมือนการตอบคําถามวา“เราจะไปถึงจุดน้ันไดอยางไร?หรือเราจะบรรลุ
ทิศทางของหนวยงานไดอยางไร?(How do we get there?)” กรอบกลยุทธของสถานศึกษาประกอบดวย
ประเด็นกลยุทธระดับสถานศึกษาวัตถุประสงคเชิงกลยุทธตัวช้ีวัด คาเปาหมาย กลยุทธริเร่ิม (กลยุทธระดับ
แผนงาน)

๕.๑ การกําหนดประเด็นกลยุทธ (กลยทุ ธระดับสถานศึกษา)
ประเดน็ กลยุทธระดับสถานศึกษา Strategic Issuesเปนประเดน็ กลยทุ ธหลักทสี่ ถานศึกษา
กําหนดการดําเนนิ งานเพอี่ ใหบรรลุ พนั ธกิจและเปาประสงคใน การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาโดย
วิเคราะหจ ากพันธกิจและเปาประสงค แลวมากําหนดเปนประเด็นกลยุทธ (ซึง่ ข้นึ อยกู ับบริบทของ
สถานศึกษา)

ตวั อยา งการจดั ทําประเดน็ กลยุทธ

พนั ธกิจ เปาประสงค ประเดน็ กลยุทธ

๑. ปลกู ฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม๑. นกั เรียนใหมพี ัฒนาการสมวัย๑. พัฒนาศักยภาพผเู รยี นสูวิถี

คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค มผี ลสมั ฤทธิท์ างวิชาการ ในศตวรรษท่ี ๒๑

เปนพลเมอื งท่ีดี มีความเปนไทย สูงขึ้นและมที ักษะการเรียนร๒.ปลกู ฝง คณุ ธรรม จริยธรรม

ภูมคิ มุ กันจากภยั ในทกุ รูปแบบท่สี ํา คัญในศตวรรษที่ ๒๑และคา นยิ มทพี่ ึงประสงค

มีสขุ ภาวะท่ีดี และมีวถิ ีชวี ติ ๒.นกั เรยี นมคี ุณธรรม ๓. พฒั นากระบวนการเรียน

ตามหลักปรชั ญาของ จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะ การสอนทเ่ี นน ผเู รียน

เศรษฐกจิ พอเพียง ทพ่ี งึ ประสงคเปน พลเมอื งท่ีดีเปนสําคัญ

๒. พฒั นานกั เรยี นใหมผี ล มภี ูมิคุมกันภยั อนั ตรายในทกุ รูปแบบ๔. พัฒนาประสิทธิภาพ

สัมฤทธ์ิทางวิชาการสูงขึ้นมีสุขภาวะทดี่ ีและมีวิถีชีวิตการบริหารจดั การ

และมีทักษะการเรียนรู ตามหลกั ปรชั ญาของ

ทส่ี ํา คญั ในศตวรรษที่ ๒๑ เศรษฐกจิ พอเพียง

๓. พฒั นาหลักสตู ร ๓. สถานศกึ ษามหี ลักสูตร

กระบวนการเรียนการสอน สถานศกึ ษา หลักสูตรเสรมิ

และการวดั ผลประเมินผล กระบวนการจัดการเรียนรู

ที่เนนผูเรยี นเปนสาํ คญั และการวัดผลประเมินผล
๔. พัฒนาครูเปนครูยคุ ใหม ตามสภาพจริงและเนน
ที่มีขดี ความสามารถ ผเู รียนเปนสําคัญ ในการจดั การเรียนรรู องรับการ

เปล่ยี นแปลง และสามารถปฏิบัตงิ านไดตาม มาตรฐาน

วิชาชพี

คูม อื การจดั ทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 13

๕.๒ การกําหนดวตั ถปุ ระสงคเชิงกลยุทธ วัตถุประสงคเ ชงิ กลยุทธเปน ผลสาํ เรจ็ ตา งๆทีต่ องการบรรลุ
ภายใตป ระเด็นกลยุทธโ ดยการกาํ หนดวตั ถุประสงคเชิงกลยุทธข องสถนศกึ ษ าโดยวิเคราะหจากเปา ประสงค
และมาตรฐานการศึกษาเปนหลกั

ตัวอยางการกาํ หนดวตั ถุประสงคเชิงกลยทุ ธ

เปาประสงค:ผูเรียนมีพัฒนาการสมวัยมีผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการสงู ขนึ้ และมีทักษะการเรยี นรูทีส่ ําคญั
ในศตวรรษที่ ๒๑

ประเดน็ กลยทุ ธ วตั ถุประสงคเชิงกลยทุ ธ

พฒั นาศักยภาพผเู รียน ๑. เดก็ ปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยดา นรางกาย อารมณ-จติ ใจ สูวถิ ีในศตวรรษที่

๒๑ สังคมและสตปิ ญญา

๒. ผูเรยี นมีผลสมั ฤทธว์ิ ิชาการสูงข้ึน

3. นักเรียนมที ักษะการเรียนรูส าํ คัญในศตวรรษท่ี ๒๑

๕.๓ การกําหนดตวั ช้วี ัด และคาเปาหมาย

ตวั ชีว้ ดั (Key Performance Indicators)เปน ตัวชว้ี ัดของวตั ถปุ ระสงคเ ชงิ กลยทุ ธซ ึ่งตัวชวี้ ดั
เหลานีจ้ ะเปน เคร่ืองมือทใ่ี ชในการวัด ประเมินผลวาการดําเนนิ งาน บรรลวุ ัตถุประสงคเ ชิงกลยุทธใ นแตล ะ
กลยทุ ธห รอื ไม

คา เปา หมายเปนความสาํ เร็จท่สี ถานศึกษาตองการจะบรรลใุ นแตละตัวชว้ี ดั

ตัวอยา งการกําหนดตวั ชวี้ ดั และคา เปาหมาย

ประเด็นกลยุทธท ี่ ๑ พัฒนาศักยภาพผเู รยี นสวู ถิ ใี นศตวรรษท่ี ๒๑

วตั ถุประสงค ตัวชวี้ ดั ขอ มลู พน้ื ฐาน คา เปา หมาย
- รอ ยละของนกั เรยี น
เชิงกลยทุ ธ ๒๕๖5 ๒๕๖6 ๒๕๖7 ๒๕๖8 ๒๕๖9 ๒๕70
๑. เด็กปฐมวัย ๙๐.๒๕ ๙๒.๕๐ ๙๔.๐๐ ๙๖.๐๐ ๙๘.๐๐ ๑๐๐

มีพัฒนาการ ระดบั กอนประถมศึกษา ตัวชว้ี ัดกาํ หนดใหสอดคลองกบั ประเดน็ พจิ ารณา
ดานรางกาย ที่มพี ัฒนาการผาน
เกณฑ ในแตล ะมาตรฐานการศกึ ษา

ดา นอารมณ ในระดบั ดีขึน้ ไป

และจติ ใจ

ดา นสงั คมละแ

ดานสตปิ ญ ญา

คูมอื การจดั ทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 14

๕.๔ การกําหนดกลยุทธรเิ รมิ่ (Strategic Initiative) กลยุทธริเร่ิมเปน การกําหนดวธิ กี ารดําเนนิ การ
ทแี่ ตกตา งจากเดิมทส่ี ถานศกึ ษาจะตองทาํ เพ่ือใหบ รรลวุ ตั ถุประสงคเชิงกลยุทธโ ดยนาํ ผลจากการวิเคราะห
TOWS Matrix และนโยบายทีเ่ ก่ียวของในระดบั ตา งๆมาใชใ นการกาํ หนด

ตวั อยางการกาํ หนดกลยุทธร เิ ริม่
กลยุทธร เิ รม่ิ : พฒั นาเด็กปฐมวยั ใหมีพฒั นาการสมวยั รอบดานโดยการจดั ประสบการณ กิจกรรมในท่ี
หลากหลาย และการรวมมือกับผปู กครองอยา งใกลชดิ

ทศิ ทาง/จดุ เนน (จะทํา อะไร?) กิจกรรม(จะทาํ อยา งไร?)

พฒั นาเด็กปฐมวัยใหมีพัฒนาการโดย การจัดประสบการณ กิจกรรมในรปู แบบท่ี หลากหลาย
สมวยั รอบดา น และการรว มมือกบั ผูปกครองอยางใกลชิด

๕.๕ โครงการและกจิ กรรม
การกาํ หนดโครงการ/ กจิ กรรมระยะ๓ - ๕ ปเปนการกําหนดโครงการ/กิจกรรมแตละกลยทุ ธ

รเิ รมิ่ ทคี่ าดจะดาํ เนินการในระยะ๓-๕ปเ พ่อื ตอบสนอง วตั ถุประสงคเ ชิงกลยุทธ ตวั ช้วี ดั และคาเปา หมาย ของ
โรงเรียนในระยะ ๓ –๕ป

คมู ือการจดั ทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 15

ตอนที่ ๔
การจัดทาํ แผนปฏิบัติการประจาํ ป (Action Plan)
กระบวนการวางแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาโดยใชกระบวนการวางแผนกลยุทธใ น
กระบวนการท๒่ี เปนการนํากลยทุ ธไปสูการปฏิบัติ ในกระบวนการนตี้ องอาศัยแผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปเปน
เครื่องมือสาํ หรบั ใชเ ปนแนวทางปฏบิ ตั ิสําหรบั สว นตา งๆใหเ ปนไปอยา งสอดประสานกันทั้งในแงท ิศทาง และ
จังหวะเวลาโดยสรุปแผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปเปน แผนทท่ี าํ ขึ้นสําหรบั ใชในการบรหิ ารหนวยงานใหเ กดิ
ความสําเร็จและมีประสทิ ธภิ าพตามวตั ถปุ ระสงค และเปาหมายตามทหี่ นวยงานกาํ หนด มรี ะบบการทาํ งานท่ี
ชัดเจนและ เปน ขน้ั ตอน มีการใชง บประมาณอยา งคมุ คา และมกี ารตรวจสอบผลการปฏิบัติอยางสมา่ํ เสมอ
วตั ถุประสงคของการจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการประจําป

๑. เพื่อกาํ หนดแนวทางในการปฏบิ ัติงานตามโครงการ กิจกรรมใหบรรลุตามเปาหมายของโครงการ

๒. เพ่ือระบุรายการใชจา ยงบประมาณสําหรับการพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา

๓. เพอื่ จัดลาํ ดบั ความสําคัญของการดาํ เนินโครงการ/กจิ กรรมการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา

๔. เพ่ือกํากบั ตดิ ตามและประเมินผลการดําเนินงานพฒั นาคณุ ภาพ การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ประโยชนท ่ไี ดร บั จากแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป
๑. สถานศกึ ษามที ิศทางและแนวทางในการดาํ เนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแตล ะปง บประมาณ

ทส่ี อดคลองกับงบประมาณที่ไดรบั จดั สรรในแตล ะปง บประมาณ

๒. ผบู รหิ ารสถานศึกษา ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และผเู กย่ี วของใชเ ปน เครื่องมือใน

การควบคมุ กํากับตดิ ตามในการใชงบประมาณ ใหเ กดิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

๓. สถานศึกษามีเครอื่ งมอื สาํ คญั ในการบรหิ ารจดั การระบบคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาระบบการ

ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา

ขนั้ ตอนการจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการประจาํ ป

ขน้ั ที่ ๑ วเิ คราะหแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระยะ ๓- ๕ ป
ข้นั ที่ ๒ ประมาณการงบประมาณรายรับของโรงเรียน
ขัน้ ท่ี ๓ ประมาณการรายจา ยงบประมาณ
ขน้ั ท่ี ๔ การวิเคราะหก ําหนดโครงการตามแผนกลยุทธ
ขน้ั ที่ ๕ การจัดทาํ รา งแผนปฏบิ ัติการ

คมู ือการจัดทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 16

ข้ันท่ี ๑ วิเคราะหแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ ๓ - ๕ ป ในขัน้ นีเ้ ปนการวเิ คราะหเพ่อื ยนื ยัน
ทิศทางการจัดการศึกษา(วสิ ยั ทศั น/ พันธกิจ/เปา ประสงค)วตั ถุประสงคตัวชี้วัดคา เปา หมาระยะ ๓ - ๕ ป
เพื่อกาํ หนดทิศทางและกรอบกลยุทธก ารพัฒนาประจําป

ตารางการกาํ หนดกรอบกลยุทธประจําป………… .
กลยุทธที่ .................................................................................
วัตถปุ ระสงค ตวั ชวี้ ัด ขอมูลฐานป..... คา เปา หมายป. .... แนวทางการพฒั นา
(กลยุทธริเร่ิม)

ขัน้ ท่ี ๒ ประมาณการงบประมาณรายรับของโรงเรยี น การประมาณการรายรบั เปน การดําเนินการเพื่อทราบ
วงเงนิ ทีค่ าดวา จะไดร บั และเพ่ือใชเปน กรอบในการกาํ หนดวงเงินรายจา ยทจี่ ะเกิดขน้ึ ในปงบประมาณน้นั ๆให
ใกลเ คียงกบั วงเงนิ ทีป่ ระมาณการไวหรอื ไมเกนิ ท่ีคาดไวม ากเกินไป

รายไดข องสถานศกึ ษา

งบประมาณแผนดินเงนิ นอกงบประมาณ

- งบบคุ ลากร (เงนิ เดอื น เงนิ ประจําตาํ แหนง - รายไดส ถานศึกษา

และคา จา ง) - เงนิ บรจิ าค

- งบดําเนนิ การ (คาตอบแทน, ใชสอยวสั ดุ - อ่ืนๆ

สาธารณปู โภค)
- งบลงทุน (คาครุภณั ฑ ท่ีดนิ และส่ิงกอสรา ง)
- งบอดุ หนนุ (คาหนังสอื เรียน / คา เคร่อื งแบบนกั เรยี น / คาอปุ กรณการ
เรยี น / คา กิจกรรมพัฒนาผูเรียน / คา จัดกิจกรรมการเรียนการสอน /
ปจจัยพื้นฐาน)

คูมือการจัดทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 17

แบบฟอรมประมาณการรายรบั สถานศึกษา

ประเภทรายรบั ประมาณการรายรับ ปการศึกษา......... รวม
1. เงินงบประมาณ 1 ต.ค. 256...ถงึ 1 เม.ย. 256.. ถึง
1.1 บคุ ลากร 31 ม.ี ค. 256... 30 ก.ย. 256...

- เงนิ เดือน
- คาจางประจาํ
- คา จา งชว่ั คราว
- เงินเพิม่ อืน่ ๆ
1.2. งบดําเนินงาน
- คาสาธารณูปโภค
- คาตอบแทน
- คาใชสอย
- คา วัสดุ
1.3. งบเงนิ อดุ หนุน
- คาจดั การเรียนการ
สอน
- คาหนงั สือเรียน
- คาเคร่อื งแบบ
นักเรียน
- คากจิ กรรมพฒั นา
ผูเรยี น
- คาอปุ กรณก าร
เรยี น
2. เงินนอกงบประมาณ
2.1 เงินรายได
สถานศึกษา
2.2 เงินบรจิ าค
2.3 เงินสนบั สนุนจาก
................
2.4 อนื่ ๆ

รวม

คูมือการจดั ทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 18

ขนั้ ที่ ๓ ประมาณการรายจายงบประมาณ การประมาณการรายจายของโรงเรียนเปนการวเิ คราะหรายจาย
ท่เี กดิ ขนึ้ ในการพัฒนาสถานศึกษาซ่ึงรายจายของสถานศึกษาแบง ออกเปน 3 กลุมไดแก งานประจาํ ตาม
โครงสรา ง โครงการตามกลยุทธ และงบกลางสาํ รองจา ย

รายจายของสถานศกึ ษา

งานประจําตามโครงสรา ง โครงการตามแผนกลยทุ ธ งบสํารองจา ย

งานวิชาการ กลยุทธที่ ...................... สาํ รองจา ยกรณงี านงาน/กิจกรรมระหวางป
งานบรหิ ารทั่วไป กลยทุ ธท่ี ......................
งานบริหารงบประมาณ กลยทุ ธท่ี ......................
งานบริหารบคุ คล กลยุทธท่ี ......................

ประมาณการรายจา ยตามโครงสราง

งาน/โครงการ/ เปาหมาย งบประมาณ ประเภท ผรู บั ผิดชอบ
กิจกรรม งบประมาณ

งานวชิ าการ
โครงการ............
กิจกรรม.............
งานบรหิ ารทวั่ ไป
โครงการ............
กิจกรรม.............
งานบริหาร
งบประมาณ
โครงการ............
กิจกรรม.............
งานบริหารบุคคล
โครงการ............
กจิ กรรม.............
รวม

ขน้ั ที่ ๔ การวิเคราะหกําหนดโครงการตามแผนกลยุทธ ในข้นั ตอนการวเิ คราะหโ ครงการบรรจุในแผนปฏิบตั ิ
การประจาํ ปเปนการคัดเลือกโครงการเพื่อบรรจุในแผนปฏิบตั กิ ารประจําป มกี ระบวนการในการคดั เลือก
โครงการดงั นี้

๑) วเิ คราะหค ดั เลือกโครงการท่กี ําหนดไวใ นแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา ระยะ ๓ - ๕ ป
๒) จัดทาํ รายละเอยี ดโครงการตามรูปแบบฟอรม โครงการ
๓) ประเมินความความสมบรู ณข องโครงการทจี่ ะบรรจใุ นแผนปฏิบตั ิการประจาํ ป

ขั้นที่ 5 การจดั ทํารา งแผนปฏิบัตกิ าร เปนการนําขอมูลจากการวเิ คราะหขน้ั ตอนท๑่ี -๔มาสังเคราะหลง
ในเอกสารแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปของสถานศึกษา ซง่ึ มีเคาโครงแผนปฏิบตั กิ ารประจําปก ารศึกษา/
งบประมาณ ดงั น้ี

คูมอื การจัดทําแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 19

แผนปฏบิ ัติการ ประจาํ ปก ารศกึ ษา/งบประมาณ..............

โรงเรียน......................................................
คาํ นํา
สารบัญ

คําอนุมัติ/เห็นชอบการใชแ ผนปฏิบตั ิการประจาํ ป
สว นที่ 1 บทนํา :

เปน สว นของการแนะนําสถานศึกษาในภาพรวมโดยสรปุ โดยอาจระบุประวัติความเปนมา ภารกจิ
และปริมาณงานในปจจุบันพรอมทงั้ ผลการทบทวนสภาพแวดลอมของสถานศกึ ษาประกอบดว ย

- ประวัตคิ วามเปน มาและขอมูลสถานศกึ ษาโดยยอ
- สภาพปจจบุ ันของสถานศึกษา
- สรุปผลการดําเนนิ งานในรอบปทีผ่ านมา
- ผลงานทป่ี ระสบผลสําเร็จ
- ผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกและผลการวเิ คราะหส ภาพแวดลอมภายใน

สว นท่ี 2 ทิศทางและกลยทุ ธการจดั การศกึ ษา๒ :เปน การนําขอ มลู จากทิศทางการจดั การศึกษา ระยะ 3
- 5 ปม ากําหนด ทศิ ทางการจัดการศึกษาและเปา หมาย ในระยะ ๑ ป

- วิสยั ทัศน/ คําอธบิ ายวสิ ยั ทศั น
- พันธกิจ
- เปาประสงค
- ประเด็นกลยทุ ธ
สวนที่ 3 ประมาณการงบประมาณรายรบั -รายจา ยเปนการระบุงบประมาณทีส่ ถานศึกษาไดรับและใชจ าย
การบรหิ ารจดั การศกึ ษาท้งั เงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ

๓.๑ การประมาณการรายรับ ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปก ารศกึ ษา..........

ประเภทรายรบั ประมาณการรายรับ ปการศึกษา......... รวม
1. เงนิ งบประมาณ 1 ต.ค. 256...ถึง 1 เม.ย. 256.. ถึง
1.1 บุคลากร 31 ม.ี ค. 256... 30 ก.ย. 256...

- เงินเดือน
- คาจา งประจาํ
- คาจา งชว่ั คราว
- เงนิ เพ่มิ อนื่ ๆ
1.2. งบดําเนินงาน
- คา สาธารณปู โภค
- คา ตอบแทน
- คา ใชสอย
- คาวสั ดุ

คูมอื การจัดทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 20

1.3. งบเงนิ อุดหนนุ
- คา จัดการเรียนการ
สอน
- คา หนังสอื เรียน
- คา เครือ่ งแบบ
นักเรียน
- คากิจกรรมพัฒนา
ผเู รยี น
- คา อุปกรณการ
เรียน
2. เงินนอกงบประมาณ
2.1 เงินรายได
สถานศกึ ษา
2.2 เงนิ บริจาค
2.3 เงินสนบั สนุนจาก
................
2.4 อนื่ ๆ

รวม

๓.๒ ประมาณการรายจายประจําปก ารศึกษา ........................
๓.๒.๑ รายจายประจําตามโครงสรา ง
งาน/โครงการ/ เปา หมาย งบประมาณ ประเภท ผูรับผิดชอบ
กจิ กรรม งบประมาณ ผูรบั ผิดชอบ
งานวิชาการ
โครงการ............
กิจกรรม.............
งานบริหารทว่ั ไป
โครงการ............
กิจกรรม.............
งานบริหาร
งบประมาณ
โครงการ............
กิจกรรม.............
งานบรหิ ารบุคคล
โครงการ............
กจิ กรรม.............
รวม

๓.๒.๒ รายจายพัฒนาคณุ ภาพตามประเดน็ กลยทุ ธ

ประเด็นกลยุทธท่ี.............................................................................................

โครงการ/กจิ กรรม เปาหมาย ตวั ชว้ี ัด งบประมาณ

คมู อื การจดั ทําแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 21

๓.๒.๓ งบกลางสาํ รองจา ย
ตั้งงบกลาง จาํ นวน..............................................บาท
หมายเหตุ รวมประมาณการรายรบั ทง้ั สิ้น จะตองเทา กบั รวมรายจายทัง้ สิ้น
สวนท่ี 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจําปการศึกษา..........

สวนน้ีเปนการวิเคราะหนําโครงการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาระยะ3-๕ปของแตละป
การศึกษามาจดั ทาํ รายละเอียดโครงการตามรูปแบบโครงการที่กําหนด
สว นท่ี 5 การกํากบั ตดิ ตาม ประเมินผลและรายงาน

ระบุขอมลู รายละเอยี ดเกีย่ วกับการติดตามประเมนิ ผลและการรายงานผลการดาํ เนินงานตาม
แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโดยคาํ นงึ ถงึ การมีสว นรว ม

1. ปฏิทินการตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ และรายงานผลการดาํ เนนิ โครงการ
๒. แบบรายงานผลโครงการการดําเนินโครงการ
ภาคผนวก
เปนเอกสารท่สี ถานศึกษาตองการแสดงรายละเอยี ดหรือระบุขอ มลู สาํ คัญอ่ืน ๆ ทเี่ กีย่ วของกบั แผน
เพอ่ื ประโยชนใ นการอา งองิ
- ตารางขอมูลพน้ื ฐาน
- คณะกรรมการ/คณะทํางานจัดทําแผน
- อน่ื ๆ

คมู ือการจดั ทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 22

แบบฟอรมโครงการ

ช่อื โครงการ… .......................…………………………………………………………………… ..
แผนงาน … .......................… ………………………… ...……………………………………… ..
มาตรฐาน … .......................…… .…. …………………………………………………………… ..
หนว ยงานทร่ี ับผิดชอบ… .......................……………………………………………… .........
ผรู บั ผิดชอบโครงการ… ........................…. …………………………………………… .........
ลักษณะโครงการ โครงการตอ เน่อื ง โครงการใหม
ระยะเวลาดาํ เนินโครงการ……………………………………………………………………… ..
สนองกลยุทธท ่ี… ……………………………………………………………………………… .

๑. หลักการและเหตุผล
………………………………………………………………………………………………………………………………………… .……

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… .…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………… .………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..… ………………………
………………………………………………………………………………………………………………………… .…

๒. วตั ถปุ ระสงค
๒.๑...................................................................................................................................................…. …

……………………………………………………………………………………………………………………… ........................................

๒.๒...................................................................................................................................................…. …
………………………………………………………………………………………………………………… ...........................................…

๒.๓...................................................................................................................................................…. …
……………………………………………………………………………………………………………………… ........................................

๓. เปาหมาย
เชิงปริมาณ
๓.๑...................................................................................................................................................…. …

……………………………………………………………………………………………………………………… ........................................

๓.๒...................................................................................................................................................…. …
……………………………………………………………………………………………………………………… ........................................

๓.๓...................................................................................................................................................…. …
……………………………………………………………………………………………………………………… ......................................

คูมอื การจดั ทาํ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 23

เชงิ คุณภาพ
๓.๔...................................................................................................................................................…. …
……………………………………………………………………………………………………………………… ........................................

๓.๕...................................................................................................................................................…. …
……………………………………………………………………………………………………………………… ........................................

๔. กจิ กรรม และขนั้ ตอนการดาํ เนนิ งาน

กิจกรรม/ข้นั ตอนการดํา เนนิ งาน ระยะเวลา ผูร ับผดิ ชอบ
กิจกรรมที่ ๑...............…. …………………………… .
ข้ันตอนการดําเนนิ งาน บาทเงินรายได
๑.๑………………………………………………………… .
๑.๒…………………………………………………………
๑.๓.................................................................

กิจกรรมที่ ๒....................................................
ขัน้ ตอนการดําเนินงาน
๒.๑………………………………………………………… .
๒.๒…………………………………………………………
๒.๓.................................................................

๕. งบประมาณ
๕.๑ รวมท้งั หมด…………………… .บาท (งบอุดหนนุ .................

สถานศึกษา............. บาท

๕.๒ คา ใชจ ายจาํ แนกตามกิจกรรม

รวม รายละเอียดการใชจ ายงบประมาณ

กจิ กรรม

งบประมาณ ตอบแทน ใชสอย วสั ดุ

กจิ กรรมท่ี ๑...........................................

คา ใชจาย
๑.๑.......................................................

๑.๒.......................................................

๑.๓.......................................................

กจิ กรรมท๒่ี ...........................................
คา ใชจ า ย
๒.๑.......................................................
๒.๒.......................................................

๒.๓.......................................................

คมู ือการจดั ทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 24

๖. การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เครื่องมือ
ตวั ช้วี ัดความสาํ เรจ็

๗. ผลทีค่ าดวา จะไดร ับ
.................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

(ลงช่ือ) ผเู สนอโครงการ
(....................................................)

(ลงชอ่ื ) ผูอ นุมัติโครงการ
(....................................................)

คมู ือการจดั ทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา หนา 25