Inverter ท การไฟฟ าส วนภ ม ภาค ร บรอง 2561

สำหรับกระแสการเปิดเผยคำวินัจฉัยดังกล่าว สืบเนื่องจากสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ได้รับหนังสือร้องเรียนจากผู้ร้อง 1 ราย ยื่นขอให้ตรวจสอบ กรณีกระทรวงพลังงานกำหนดนโยบายและแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า โดยให้เอกชนเป็นเจ้าของโรงไฟฟ้า ทำให้สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าของรัฐลดลงต่ำกว่า 51% อันเป็นการขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 56 วรรคสอง

ทั้งนี้ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 มาตรา 56 กำหนดไว้ว่า รัฐต้องจัดหรือดำเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึงตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน โครงสร้างหรือโครงข่ายขั้นพื้นฐานของกิจการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของรัฐอันจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของประชาชนหรือเพื่อความมั่นคงของรัฐ รัฐจะกระทำด้วยประการใดให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนหรือทำให้รัฐเป็นเจ้าของน้อยกว่า 51% มิได้

และก่อนหน้านี้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจผู้ผลิตไฟฟ้าของประเทศ ระบุว่าปัจจุบันกำลังการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. คิดเป็นสัดส่วนราว 35% ของกำลังการผลิตไฟฟ้าทั้งประเทศ และในช่วง 10 ปีข้างหน้ากำลังผลิตใหม่ที่ กฟผ. ได้รับมอบหมายเป็นผู้ดำเนินการตามแผน PDP2018 จะต้องจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบตามแผน 5,400 เมกะวัตต์ ก็จะทำให้สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. ยังคงอยู่ในระดับ 31% ขณะเดียวกันแผน PDP จะมีการทบทวนทุก ๆ 5 ปี ซึ่งอาจทำให้สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. จะมีการเปลี่ยนแปลงได้ในอนาคต

โดยหลังจากสำนักตรวจการแผ่นดินได้รับหนังสือร้องเรียน ได้ออกหนังสือเมื่อวันที่ 1 ก.ค. ถึงผู้ร้องเรียน เพื่อแจ้งผลการวินิจฉัยของผู้ตรวจการแผ่นดิน โดยระบุว่าอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 33 แห่ง พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. 2560 เสนอแนะต่อกระทรวงพลังงานให้พิจารณาทบทวนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน (พ.ศ.2559-2563) และแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ พ.ศ. 2558-2579 (PDP2015) ซึ่งปรับแผนใหม่ เป็นแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ พ.ศ. 2561-2580 (PDP2018) เพื่อกำหนดแนวทางให้รัฐมีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าที่ไม่น้อยกว่า 51% ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ ให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน นับแต่วันได้รับหนังสือแจ้งผลการวินิจฉัย และดำเนินการให้รัฐมีสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 51% ภายในกำหนด 10 ปี นับจากปี พ.ศ. 2562

Inverter ท การไฟฟ าส วนภ ม ภาค ร บรอง 2561

ทั้งนี้ ตามอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินมีเพียงแค่เสนอแนะแนวทางดำเนินการให้แก่หน่วยงานรัฐ ซึ่งหน่วยงานของรัฐไม่จำเป็นต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ตรวจการแผ่นดิน แต่อย่างไรก็ตามหากหน่วยงานรัฐไม่ปฏิบัติตาม ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจในการนำเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป นอกจากนี้ยังสามารถนำเรื่องนี้ไปสู่การวินิจฉัยของศาลปกครองว่าการกระทำของรัฐในเรื่องนี้ถูกต้องชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญหรือไม่

จากกระแสข่าวดังกล่าวที่เกิดขึ้น ทำให้หุ้นในกลุ่มโรงไฟฟ้าปรับตัวลดลง อาทิ บมจ.บีซีพีจี (BCPG), บมจ.กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ (GULF) และ บมจ.โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ (GPSC) ปรับตัวลงแรง กระทั่งปิดตลาดวันที่ 4 ก.ค. บมจ.กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ หรือ GULF ผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหญ่ เป็นหลักทรัพย์ที่มีมูลค่าการซื้อขายสูงสุด มูลค่าการซื้อขาย 4,821.23 ล้านบาท ลดลง -3.00 บาท คิดเป็น -2.33% ตามมาด้วยอันดับ 2 บมจ.โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ หรือ GPSC มูลค่าการซื้อขาย 4,198.29 ล้านบาท ลดลง -2.50 บาท คิดเป็น -3.48%

Inverter ท การไฟฟ าส วนภ ม ภาค ร บรอง 2561

  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์-ภารกิจ-ค่านิยม
    • โครงสร้างองค์กร
    • คณะกรรมการและผู้บริหาร
      • คณะกรรมการ
      • คณะผู้บริหาร
      • ทำเนียบอดีตผู้ว่าการ
    • ผลการดำเนินงาน
      • รายงานประจำปี
      • รายงานทางการเงิน
      • รายงานผลการดำเนินงาน
      • การพัฒนาความยั่งยืน ของ กฟภ.
      • การดำเนินงานด้านทรัพยากรบุคคล
      • การใช้จ่ายงบประมาณ
      • PEA Smart Grid Index (SGI)
    • แผนงานและโครงการ
    • การดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล
      • รายงานแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านไฟฟ้าเพื่อรองรับยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทย
    • กองทุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม
    • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
      • การกำกับดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของ กฟภ. (Compliance)
    • การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจของ กฟภ.
    • ยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานขององค์กร
    • พ.ร.บ. กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
    • มาตรฐานการปฏิบัติงาน
    • นโยบายองค์กร
  • ข่าวสารประกาศ
    • ประกาศดับไฟ
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศขายทอดตลาด
    • ข่าวรับสมัครงาน
    • ปฏิทิน Off Peak
    • Product List
    • PEA Product Acceptance
    • Pre-Qualification Lists
    • PEA จิตอาสา
    • GRID by PEA
    • การรับรองผลิตภัณฑ์มิเตอร์
    • การขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์
    • DRPilot
    • อัตราค่าบริการทดสอบอุปกรณ์
    • ประกาศขยายระยะเวลาและรายชื่อห้องทดสอบของโรงงานผู้ผลิต (ชั่วคราว)
  • ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้า
    • ไฟฟ้าน่ารู้
    • Infographic
    • เกี่ยวกับค่าไฟฟ้า
    • การขอใช้ไฟฟ้า
    • ค่า FiTv
    • ข้อมูลเกี่ยวกับการอัดประจุไฟฟ้า (EV Charging Info)
    • ค่า Ft
  • ดาวน์โหลดเอกสาร
  • บริการอื่น ๆ
    • ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง
    • งานด้านพลังงาน
      • งานส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน
      • งานรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน
      • งานรับเชื่อมต่อเครื่องกำเนิดพลังงานไฟฟ้า
      • ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน (PPIM)
      • ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้อง
      • มาตรฐาน GSEE
  • ติดต่อเรา

การขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์


ติดต่อ/ส่งเอกสาร กองวิจัยและควบคุมุคณภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า (กวอ.) ฝ่ายวิจัย นวัตกรรม และควบคุมคุณภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า (ฝวน.) ชั้น 12 อาคาร LED สำนักงานใหญ่ PEA โทรศัพท์ : 02-590-5578 อัพเดทข้อมูลล่าสุด : 8 ธันวาคม 2566