การรวบรวมข อม ล documentation ม ว ธ การรวบรวม

การประมวลผลข้อมูล

เมื่อ :

วันพฤหัสบดี, 10 กันยายน 2563

การประมวลผลข้อมูล 1

ความหมายของข้อมูล

ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริง (fact) ที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์พิเศษ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งสามารถบันทึกไว้อย่างต่อเนื่องและมีความหมายอยู่ในตัว เช่น ชื่อนักเรียน อายุ เพศ จำนวนประชากร ปริมาณน้ำฝน เป็นต้น ข้อมูลจะมีอยู่จำนวนมาก และจะถูกนำไปประมวลผลเพื่อใช้ประโยชน์ในเรื่องต่าง ๆ ได้มากมาย

การรวบรวมข อม ล documentation ม ว ธ การรวบรวม

ภาพ ข้อมูลและการประมวลผล ที่มา https://pixabay.com ,PublicDomainPictures

ประเภทของข้อมูล

สามารถแบ่งประเภทข้อมูลได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความต้องการ ลักษณะของข้อมูลที่นำไปใช้และเกณฑ์ที่นำมาพิจารณา

  1. การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลเป็นการแบ่งข้อมูลขั้นพื้นฐานโดยพิจารณาจากการรับข้อมูลของประสาทสัมผัส (Sense) ของร่างกาย ได้แก่ ข้อมูลภาพที่ได้รับจากการมองเห็นด้วยดวงตา ข้อมูลเสียงที่ได้รับจากการฟังด้วยหู ข้อมูลกลิ่นที่ได้รับจากการสูดดมด้วยจมูก ข้อมูลรสชาติที่ได้รับจากการรับรสชาติด้วยลิ้น และข้อมูลสัมผัสที่ได้รับจากความรู้สึกด้วยผิวหนัง
  2. การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลที่ได้รับโดยพิจารณาจากลักษณะของที่มาหรือการได้รับข้อมูล

- ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลที่ได้จากจุดกำเนิดของข้อมูลนั้นๆ เป็นการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรงด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การจดบันทึก ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งข้อมูลปฐมภูมิจัดเป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ตัวอย่างข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ข้อมูลการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้จากการจดบันทึกในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา

- ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ การนำข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บรวบรวมหรือบันทึกไว้แล้วมาใช้งาน ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเก็บรวบรวมหรือบันทึกด้วยตนเอง จัดเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต มักผ่านการประมวลผลแล้ว บางครั้งจึงไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และข้อมูลที่ได้มีความคลาดเคลื่อน ไม่ทันสมัย ตัวอย่างข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ สถิติการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในปี พ.ศ. 2551

  1. การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีลักษณะคล้ายการแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล แต่มีการแยกลักษณะข้อมูลตามชนิดและนามสกุลของข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งจะตั้งตามประเภทของข้อมูลและโปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูล ได้แก่

- ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) เช่น ตัวหนังสือ ตัวเลข และสัญลักษณ์ ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้ายไฟล์เป็น .txt และ .doc

- ข้อมูลภาพ (Image Data) เช่น ภาพกราฟิกต่างๆ และภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้ายไฟล์เป็น .bmp .gif และ .jpg

- ข้อมูลเสียง (Sound Data) เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงเพลง ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น .wav .mp3

- ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) เช่นภาพเคลื่อนไหว ภาพมิวสิควีดิโอ ภาพยนตร์ คลิปวีดีโอ ข้อมูลประเภทนี้มักมีนามสกุลต่อท้ายชื่อไฟล์เป็น .avi .mov

  1. การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพิวเตอร์มีลักษณะคล้ายและใกล้เคียงกับการแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาก แต่มุ่งเน้นพิจารณาการแบ่งประเภทตามการนำข้อมูลไปใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่

- ข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data) มีลักษณะเป็นตัวเลขที่สามารถนำมาคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ได้ เช่น จำนวนเงินในกระเป๋า จำนวนค่าโดยสารรถประจำทาง และจำนวนนักเรียนในห้องเรียน

- ข้อมูลอักขระ (Character Data) มีลักษณะเป็นตัวอักษร ตัวหนังสือ และสัญลักษณ์ต่างๆ ซึ่งสามารถนำเสนอข้อมูลและเรียงลำดับได้แต่ไม่สามารถนำมาคำนวณได้ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เลขที่บ้าน และชื่อของนักเรียน

- ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากจุดพิกัดทางคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดรูปภาพหรือแผนที่ เช่น เครื่องหมายการค้า แบบก่อสร้างอาคาร และกราฟ

- ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลแสดงความเข้มและสีของรูปภาพที่เกิดจากการสแกนของสแกนเนอร์เป็นหลัก ซึ่งสามารถนำเสนอข้อมูล ย่อหรือขยาย และตัดต่อได้ แต่ไม่สามารถนำมาคำนวณหรือดำเนินการอย่างอื่นได้

แหล่งที่มา

พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2553). ระบบไอซีทีและการจัดการยุคใหม่. กรุงเทพฯ: วิตตี้กรุ๊ป.

พลพธู ปียวรรณ และสุภาพร เชิงเอี่ยม. (2555). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. สมุทรปราการ: ออฟเซ็ทพลัส.

IT24Hrs. Cloud Computing. [เว็บบล็อก]. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562. จากhttps://www.it24hrs.com/

วิธกี าร “รวบรวมขอ้ มลู ”

Bit.ly/krujin2564 ครูจินต์ชัญญา อิทธิประเวศน์

การสมั ภาษณ์ การสารวจ

(interview) (survey)

การสังเกต การทดลอง

(observe) (experiment)

การทบทวนเอกสาร การสามะโน

(document/literature review) (census)

แบบสำรวจ แบบสมั ภำษณ์

แบบสอบถำม แบบสงั เกต

ในปจั จบุ นั อาจนาเครอ่ื งมอื ในรปู แบบออนไลน์ เพอื่ ลด ภาระในการ จัดเกบ็ ขอ้ มลู ลด ข้อผดิ พลาด และช่วยทาให้สะดวก รวดเรว็ อาจใช.้ ..

แอพพลิเคชนั ่ สื่อสงั คมออนไลน์

โทรศพั ท์ อปุ กรณ์บนั ทึก เสียงและภำพ

เคร่อื งนับจำนวน เครอ่ื งอ่ำนบำรโ์ ค้ด (clickers) (barcode reader)

ในการรวบรวมขอ้ มลู แตล่ ะครงั้ ใหค้ รบถว้ น ถูกตอ้ ง

จะตอ้ ง

เพ่ือยนื ยนั วา่ และเปน็ มารยาทที่เหมาะสมใน ซง่ึ เปน็ สง่ิ สาคญั อยา่ งยง่ิ

ขอ้ มลู ทง้ั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ ขอ้ มูลตอ้ งอยบู่ นพน้ื ฐานของชว่ งเวลา ท่เี หมาะสมเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์

กับสิง่ ทจ่ี ะนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

ตวั อยา่ งท่ี สถานการณ์ (หน้าท่ี 144)

ในงานกฬี าสขี องโรงเรยี น นักเรยี นแต่ละหอ้ งต้องสง่ นกั กฬี าเพอ่ื แขง่ ขนั กฬี า 3 ประเภท

สมมุติ นักเรยี นวางแผนสารวจความต้องการของเพอ่ื นโดย จัดทาเครอ่ื งมอื ในการสารวจหรอื การสมั ภาษณ์ เชน่

แบบเกบ็ ข้อมลู แบบที่ 1

กฬี าท่ตี ้องการแข่งขัน ใช้วิธกี ารสมั ภาษณ์ (interview) ลกั ษณะแบบท่ี 1 เพ่ือนคนท่ี 12 3

1

2

3

แบบที่ 2 แบบท่ี 3

ใชว้ ธิ กี ารสมั ภาษณ์ (interview) ใชว้ ิธกี ารสารวจ (survey) ลักษณะแบบท่ี 2

แบบที่ ตวั อยา่ งที่

นกั เรยี นวางแผนสมั ภาษณเ์ พอื่ นเปน็ รายบคุ คล และ จึงออกแบบตารางในการเกบ็ ขอ้ มลู

ดงั นี้

แบบเกบ็ ขอ้ มลู

เพอื่ นคนท่ี กฬี าทตี่ อ้ งการแขง่ ขนั

1 12 3 2 3

แบบท่ี ตัวอยา่ งที่

นักเรยี นวางแผนสมั ภาษณเ์ พอ่ื นเปน็ รายบคุ คล และ โดยพจิ ารณาจากกฬี าทเี่ พอื่ นในหอ้ ง

สามารถเลน่ ได้ 5 ประเภท จึงออกแบบตารางในการเกบ็ ขอ้ มลู ดงั น้ี

แบบเกบ็ ขอ้ มลู

เพือ่ น บาสเกต็ บอล กีฬาทต่ี อ้ งการแขง่ ขนั ฟุตบอล คนที่ ปงิ ปอง วอลเลยบ์ อล ว่ายนา้

1

2

...

แบบที่ ตวั อยา่ งที่

นักเรยี นวางแผนใหเ้ พอื่ นแตล่ ะคน และ ต้องการกาหนดคาตอบเปน็ กฬี า 5 ประเภท เท่านนั้ นักเรยี นจงึ ออกแบบฟอรม์ การสารวจ ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

แบบสารวจกฬี าทต่ี อ้ งการสง่ เขา้ แขง่ ขนั

คาชแี้ จง : โปรดเขียนเครื่องหมาย x หน้าชอ่ งว่างประเภทกฬี า ท่ีคุณตอ้ งการสง่ เขา้ แขง่ ขันมากท่สี ดุ เลอื กเพยี ง 3 คาตอบ

บาสเก็ตบอล ปิงปอง วอลเลยบ์ อล ว่ายนา้ ฟตุ บอล

ตัวอยา่ งท่ี

สมมตุ ิ นกั เรยี นใช้ เครื่องมอื สัมภาษณแ์ บบที่ 1 ข้อมลู ทเี่ กบ็ รวบรวมมาไดด้ งั น้ี

เพื่อนคนที่ แบบเกบ็ ขอ้ มลู กฬี าทต่ี อ้ งการแขง่ ขนั

12 3

1 ฟุตบอล ว่ายนา้ ปงิ ปอง

2 วงิ่ ผลดั ฟตุ ปอง เทนนสิ

3

ตัดท้งิ

สมมตุ ิ นกั เรยี นใช้ เครือ่ งมอื สมั ภาษณแ์ บบที่ 1 ตัวอยา่ งท่ี ขอ้ มูลทเี่ กบ็ รวบรวมมาไดด้ งั นี้

แบบเกบ็ ขอ้ มลู

เพ่อื น กีฬาทต่ี อ้ งการแขง่ ขนั คนที่ 1 2 3

1 บอล วา่ ยนา้ ปิงปอง

2 ว่งิ ผลดั เทนนสิ -

3 วอลเลยบ์ อล เทนนสิ ฟตุ บอล

4 วอลเลยบ์ อล วา่ ยนา้ ฟตุ บอล

5 วา่ ยนา้ ฟตุ บอล ปิงปอง

6 ปงิ ปอง บาสเกต็ บอล วอลเลยบ์ อล

ปรับใหเ้ หมือนกนั โดย เปลย่ี นคำวำ่ บอล เป็น

ฟุตบอล

กจิ กรรม 5.1

กจิ กรรมกลมุ่

• • •

สรปุ ผล...

• หำกมีข้อมลู ที่ไม่ถกู ตอ้ ง จะไมส่ ำมำรถนำไป ประมวลผลได้

• แต่หำกเป็นแบบสอบถำมออนไลน์ จะลด โอกำสกำรได้รับข้อมลู ที่ผิดพลำดลง

กิจกรรม

อ้ำงอิง : ครหู น่ยุ ออนไลน์.com

ใบกจิ กรรม 12.2

อา้ งองิ :

• สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี, "เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ)",โรง พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ศูนยห์ นงั สอื แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 หน้า 4

• ครูหนุ่ยออนไลน์.com

• Bit.ly/krujin2564 • ครูจนิ ต์ชญั ญา อทิ ธิประเวศน์