Dessert wine ควรเก บท อ ณหภ ม เท าไหร

ผมก็เคยกินไวน์ ไวน์ 1 ขวดใหญ่ แบบขนาดปกติ กินคนเดียวหมดขวดนี่ผมว่า ถ้าเทียบกับเบียร์ขวดใหญ่ก็ต้องมีไม่ต่ำกว่า 5 ขวด เพราะไวน์นั้นมีแอลกอฮอลส์สูงกว่าเบียร์เยอะเลย

ผมเห็นคนฝรั่งเศสกินข้าวกัน 2 คนสามีภรรยามื้อเย็นเปิดไวน์กินกันตลอด

และผมฟังจากญาติผมที่ไปอยู่ฝรั่งเศส เค้าบอกว่าปกติเปิดไวน์แล้วต้องกินให้หมดไปเลยในคราวเดียวถึงจะดีที่สุด

ดังนั้นที่รณรงค์กันให้ลดแอลกอฮอล์กัน แต่คนฝรั่งเศสทำไมกินไวน์กันได้เยอะแบบนี้หละครับ มันไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของพวกเค้าเหรอ

2. น้ำผลไม้กระป๋อง (Canned Juice) ใช้แทนน้ำผลไม้สด ในกรณีที่หาผลไม้สดได้ยาก ทั้งผลไม้ในประเทศและต่างประเทศ คุณค่าทางอาหารอาจจะน้อยลงแต่สามารถเก็บไว้ได้นาน เช่น น้ำองุ่น น้ำส้ม น้ำสตรอเบอร์รี่ น้ำลิ้นจี่ ฯลฯ

3. น้ำผลไม้ปรุงรส (Fruit Squashes) เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากน้ำผลไม้ชนิดต่างๆ ผสมกับเครื่องปรุงรสดังนี้

3.1 ผสมกับน้ำเชื่อม (Syrup) เพื่อปรุงรสชาติของเครื่องดื่มให้มีรสหวานชื่น

3.2 ผสมกับน้ำเชื่อมผลไม้ (Cordials) คือ น้ำเชื่อมที่ผสมสี กลิ่น รสของผลไม้ ใบไม้ บางชนิด เพื่อให้มีสี กลิ่น รส ตามผลไม้นั้นๆ น้ำเชื่อมผลไม้ ได้แก่

- น้ำเชื่อมรสทับทิม (grenadine)

- น้ำเชื่อมรสมะนาว (Lemon)

- น้ำเชื่อมรสส้ม (orange)

- น้ำเชื่อมรส blackcurrant (cassis)

- น้ำเชื่อมรส rasberry

- น้ำเชื่อมรส cherry

ฯลฯ

  • น้ำอัดลม (Aerated waters) หมายถึง น้ำดื่มที่ผสมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อให้มีฟองมีรสซ่า ได้แก่

4.1 Soda water ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น ใช้ดื่มแทนน้ำ หรือใช้ผสมสุรา และเครื่องดื่มอื่นๆ

4.2 Artificial water คือ น้ำปรุงแต่งรสชาติ โดยเติมน้ำเชื่อม น้ำเชื่อมผลไม้ชนิดต่างๆ เข้าไป จึงได้ทั้งเครื่องดื่มที่มีรสซ่า และมีรสผลไม้ และรากไม้บางอย่าง

  • น้ำแร่ (Mineral water) มาจากแหล่งน้ำแร่ทางธรรมชาติ เป็นน้ำที่มีสารเกลือแร่ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมาก โดยปกติมักจะเสิร์ฟเป็นน้ำแร่แช่เย็น
  • น้ำสมุนไพร (Herbal Drinks or Herbal Juice) เป็นเครื่องดื่มสมุนไพรที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
  • น้ำผัก (Vegetable Juice) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

7.1 น้ำผักสด (Fresh Vegetable Juice) เป็นน้ำที่คั้นจากผักสดๆ โดยใช้เครื่องแยกกาก

7.2 น้ำผักกระป๋อง (Canned Vegetable Juice) เป็นน้ำผักที่บรรจุกระป๋องขายสำเร็จรูป

7.3 น้ำผักปั่น (Blended Vegetable Juice) เป็นน้ำผักสดหรือน้ำผักต่างๆ ที่ปั่นกับน้ำแข็ง น้ำเชื่อม และเกลือ

8. นมและผลิตภัณฑ์จากนม (Milk and Dairy Drinks) มักจะเสิร์ฟใน 2 ลักษณะ คือร้อนและเย็น

8.1 นมสด (Fresh Milk) จะเสิร์ฟเป็นนมร้อนและนมเย็น

8.2 โยเกิร์ตแบบน้ำ (Drinking Yogurt) เป็นโดยเกิร์ตที่ปรุงแต่งรสและกลิ่น

  • ชา กาแฟ และโกโก้ (Tea, Coffee and Cocoa) สามารถเสิร์ฟได้ทั้งแบบร้อนและเย็น

9.1 ชา (Tea) ที่นิยมให้บริการ คือ ชาซีลอน (Ceylon Tea) ดาร์จีลลิ่งที (Darjeeling Tea) จัสมินที (Jasmine Tea) ชาเขียว (Green Tea) ชาขาว (White Tea) และชาจีน (Chinese Tea)

9.2 กาแฟ (Coffee) นิยมให้บริการหลายลักษณะ โดยใช้กาแฟสำเร็จรูป หรือใช้กาแฟบดชงด้วยเครื่องทำกาแฟ หากเป็นกาแฟร้อนนิยมเสิร์ฟแบบต่างๆ เช่น

- กาแฟดำใส่น้ำตาล (Black Coffee)

- กาแฟธรรมดา (Regular Coffee)

- เอสเพรสโซ่ (Espresso)

- คาปูชิโน่ (Capuchino)

- กาแฟเย็น (Iced Coffee)

- โกโก้ (Cocoa)

เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสม (Hard Drinks)�

ประเภทของเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสม มีการแบ่งประเภทหลายแบบ ได้แก่

1. แบ่งด้วยกรรมวิธีในการผลิต การผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสมแต่ละประเภทมีกรรมวิธี และขั้นตอนในการผลิตแตกต่างกัน ดังนี้

- การหมัก (Fermentation) คือการนำเอาเชื้อหมัก (Yeast) ผสมกับวัตถุดิบ เช่น ข้าวบาร์เลย์ องุ่น ที่จะใช้ทำเครื่องดื่ม เชื้อหมักจะทำปฏิกิริยาเปลี่ยนน้ำตาลในวัตถุดิบให้กลายเป็นแอลกอฮอล์

- การกลั่น (Distillation) คือ การนำเอาผลผลิตที่ได้จากการหมักมากลั่น เพื่อลดปริมาณของน้ำ และเพิ่มสัดส่วนของแอลกอฮอล์ในสารละลายหรือเพื่อแยกแอลกอฮอล์ออกจากน้ำ

2. แบ่งด้วยขั้นตอนในการเตรียมการก่อนดื่ม ได้แก่

- เครื่องดื่มที่สามารถดื่มได้ทันที (ready – to – drink beverage) ไม่ต้องมีขั้นตอนในการปรุงรสหรือผสม

- เครื่องดื่มที่มีการเตรียมการก่อนดื่ม (prepared beverage) หมายถึง เครื่องดื่มที่ต้องมีการปรุงรส หรือผสมก่อนดื่ม

3. แบ่งตามช่วงเวลาของมื้ออาหาร เนื่องจากชาวตะวันตกนิยมดื่มอาหารในช่วงเวลาของการรับประทานอาหารแต่ละมื้อ จึงมีการแบ่งกลุ่มเครื่องดื่มในแต่ละช่วงของมื้ออาหาร ดังนี้

- เครื่องดื่มก่อนอาหาร (Aperitif) นิยมดื่มเพื่อดับกระหาย เรียกน้ำย่อย

- เหล้าองุ่น (Wine) เป็นเครื่องดื่มที่นิยมดื่มระหว่างมื้ออาหาร ควบคู่ไปกับการรับประทานอาหารแต่ละจาน

- เครื่องดื่มหลังอาหาร (Digestif) มักดื่มเหล้าที่มีรสหวาน เพื่อช่วยในการย่อยอาหารแต่ละจาน

แอพเพอริทิฟ (Aperitif)

  • คือประเภทเหล้ายาที่ทำจากเหล้าองุ่น สมุนไพร และเครื่องเทศ นิยมดื่ม
  • ก่อนอาหาร ที่ฝรั่งเศส อิตาลี

Aperitif

  • Campari
  • Sweet Vermouth
  • Dry Vermouth
  • Pimm’s No.1
  • Pernod
  • Dubonnet

แอพเพอริทิฟ (Aperitif)

  • เวอร์มุธ ( vermouth )
    • ผลิตจากเหล้าองุ่นขาวชนิดที่มีดีกรี และน้ำตาลในเหล้าสูง แล้วใช้เหล้าองุ่นหวาน 70 %
    • เหล้าไวน์ขาวชนิดที่แช่รากไม้ Absinthe ซึ่งเป็นต้นไม้ชนิดหนึ่งมีรสขม และ Nutmeg(แก่นจันทร์) และเครื่องเทศ มีกลิ่นและรสชาติแตกต่างกันออกไป
    • คล้ายกับยาบำรุงเลือดลมของไทย
    • เช่น Martini ,Pimm’s No.1

เวอร์มุธ ( vermouth )

  • Dry Vermouth มีสีขาว ออกไปทางเหลืองเป็นเหล้าค่อนข้างใส รสหอม ออกไปทางเปรี้ยว ๆ และฝาดนิด ๆ
  • Sweet Vermouth มีสีแดงออกไปทางน้ำตาลรสเปรี้ยว กระเดียดทางหวานข้นกว่า เหล้า Vermouth ที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่ได้แก่

เหล้าที่มาจากประเทศ Italy ได้แก่ Cinzano Red & White

ประโยชน์ของเหล้า Vermouth

  • ใช้ดื่มก่อนอาหาร
  • ใช้ผสม Cocktail
  • การเสิร์ฟ Vermouth ต้องเสิร์ฟแช่เย็น (หมายถึงเอาเหล้าชนิดนี้แช่ในตู้เย็น) เป็นเครื่องดื่มที่สดชื่นให้กำลัง

แอพเพอริทิฟ (Aperitif)

  • บิตเตอร์ ( Bitter )
    • ใส่รากไม้ผสมไปด้วย ซึ่งเป็นต้นไม้ในตระกูล Hobs หรือสมุนไพร ซึ่งชอบอยู่ตามเทือกเขาของประเทศ Switzerland และยังผสมพวกเปลือก Quinine ผิวส้มข้น ผิวมะนาวลงไปด้วยทำให้มีรสชาติแตกต่างกันไป
    • เหล้ายาที่มีรสขม นิยม ดื่มแก้โรคกระเพาะ และช่วยย่อยอาหาร บางชนิดขมมาก
    • เช่น Campari , Fernet

บิตเตอร์ ( Bitter ) เช่น

  • Lemon Bitter ผสมกับพวกผิวมะนาว จึงทำให้มีรสกระเดียดไปทางมะนาว และหอมซ่า ประโยชน์ทำให้สดชื่น บำรุงร่างกายและบำรุงอวัยวะเกี่ยวกับคือ บำรุงธาตุทั้ง 4 ให้ทำงานตามปกติ แก้เหน็ดเหนื่อยและคอแห้ง รวมทั้งใช้ปรุง Cocktail และอาหารหวานต่าง ๆ ได้

  • Orange Bitter มีประโยชน์เช่นเดียวกับ Angostura Bitter มีกลิ่นหอม เพราะผสมพวกผิวส้มและผักชนิดมีก้านมีรสเปรี้ยว เข้าไปรวมทั้ง Cascara Sagrada ทำให้แก้อาการวิงเวียนศีรษะ สิงสวาย ดื่มแล้วบำรุงหัวใจและทำให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่าขึ้น ส่วนมากใช้ในการปรุง Cocktail และผสมอาหารหวานบางอย่างได้

แอพเพอริทิฟ (Aperitif)

  • อนิส ( Anis ) (ดอกจันทร์) เหล้ายาอีกชนิดหนึ่งใช้รับประทานแก้อาการท้องเฟ้อและช่วยย่อยอาหารได้ดี เป็นเหล้าสีเหลืองใส กลิ่นหอมฉุน
  • ถ้าผสมกับน้ำแล้วจะมีสีเหลืองคล้ายน้ำซาวข้าวสีเหลืองข้น ใช้เสิร์ฟก่อนอาหาร โดยผสมกับน้ำเย็นเป็นสองเท่าของเหล้าหรือ 1:2 โดยประมาณ มีแอลกอฮอล์ประมาณ 40 – 45 ดีกรี
  • เช่น Pernod, Ricard

Brandy

  • เหล้าที่นิยมมาก ได้จากการหมักองุ่นให้เป็นไวน์ ( Wine ) แล้วจึงนำมากลั่นเป็นบรั่นดี จากนั้นนำไปเก็บบ่มให้ได้ สี กลิ่น รสที่ดี

  • บรั่นดีพื้นเมือง ( Domestic Brandy ) :บรั่นดีที่ผลิตจากองุ่นแล้วนำมากลั่นเป็นบรั่นดีอีกที เช่น Regency / German
  • บรั่นดีตามมาตรฐาน(Rrgular Brandy ) : นำเข้าต่างประเทศ
  • บรั่นดีเกรดสูง (Permium Brandy ): เก็บบ่มไว้ถังไม้โอ๊กนานโดยระบุคุณภาพเป็นอักษรย่อ หรือชื่อพิเศษ เช่น คอนยัค ( Cognac) อาร์มายัค ( Armagnac )

คอนยัค ( Cognac)

  • คอนยัคคือแอลกอฮอล์ที่กลั่นมาจากไวน์องุ่นและต้องใช้เวลาบ่มไว้ในถัง Oak อย่างน้อย 2-2 ½ ปีหลังการกลั่น ดังนั้นราคาของคอนยัคจึงขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่บ่มไว้ในถังครับ
  • สัญลักษณ์สำคัญที่ใช้บอกอายุของคอนยัค ซึ่งมีอยู่ 3 ระดับด้วยกันคือ
    • VS, VSOP และ XO

คอนยัค ( Cognac)

  • VS นั้นย่อมาจาก Very Special ซึ่งต้องผ่านการบ่มอย่างน้อย 2-2 ½ ปีขึ้นไป
  • VSOP ย่อมาจาก Very Superior Old Pale ซึ่งต้องผ่านการบ่มอย่างน้อย 4 ปีขึ้นไป
  • XO ย่อมาจาก Extra Old ซึ่งต้องผ่านการบ่มอย่างน้อย 6 ปีขึ้นไป(เรียกว่า Napoleon ก็ได้) แต่คอนยัคที่มีสัญลักษณ์ XO ส่วนมากจะมีอายุมากกว่า 6 ปี บางขวดมีอายุมากถึง 60 ปีเลยทีเดียว

คอนยัค ( Cognac)

  • คอนยัคกันตอนหลังอาหารและสามารถดื่มแบบเพียวๆหรือ on the rocks
  • บรั่นดียี่ห้อดังๆที่เราคุ้นเคยได้แก่ Hennessey, Remy Martin, Martell และ Courvoisier

อาร์มายัค ( Armagnac )

  • อมายัคจะบ่มในถังไม้โอ๊คดำ ซึ่งแตกต่างจากเครื่องดื่มที่ได้จากกลั่นตัวอื่น แม้กระทั่งคอนยัคเองก็จะบ่มจากถังไม้โอ๊คขาว

  • อมายัคจะมีการบ่มที่ยาวนานกว่าคอนยัค และสิ่งที่ไม่เหมือนคอนยัคอีกอย่างคืออมายัคจะมีการระบุปี (Vintage)

อาร์มายัค ( Armagnac )

  • อมายัคเองก็มีการแบ่งชนิดออกเป็น 3 ชนิดตามอายุการบ่ม
  • อมายัคที่มีอายุบ่มน้อยที่สุดคือประมาณ 3 ปี
  • ระดับ VSOP จะบ่มนานประมาณ5-10 ปี
  • ระดับที่มีอายุการบ่ม 15-25 ปี จะเรียกว่า Hors d’Age หรือ Vieille Réserve

Fruit Brandy

  • บรั่นดีผลไม้ คือบรั่นดีที่ทำจากผลไม้อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ผลองุ่น ซึ่งจะให้กลิ่นรสแตกต่างกันไป แบ่งเป็น 2 ชนิด �1. บรั่นดีผลไม้สีขาว (White Fruit Brandy) ผลิตจากการกลั่นผลไม้ โดยไม่ต้องบ่มในถังไม้ จะได้กลิ่นหอม และรสของผลไม้นั้น ๆ นิยมแช่ให้เย็นแล้วดื่มโดยไม่ผสม หรือจะนำไปผสมในค็อกเทลต่าง ๆ ก็ได้

�2. บรั่นดีผลไม้ที่มีสี (Colour Fruit Brandy) ผลิตจากการกลั่นผลไม้ แล้วนำไปเก็บบ่มในถังไม้โอ๊ก ผลไม้ที่นำมากลั่น เช่น

บรั่นดีผลไม้ที่มีสี (Colour Fruit Brandy)

  • แอบเปิ้ล เรียกว่า Apple Brandy, Calvados, Apple Jack �เชอร์รี่ " Kirschwasser, Kirsch �พลัม " Slivovits, Prunelle, Quetsch �แพร์ " Poire William �ราสเบอร์รี่ " Flamboise ��นอกจากนี้ยังสามารถทำจากผลไม้อื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งอาจเรียกบรั่นดีผลไม้ประเภทนี้ว่า "Eau-de-vie" ( อู เดอ วี)�

White Spirits

  • เป็นกลุ่มของสุราที่นิยมใช้ผสมเป็นคอกเทล
  • เช่น Vodka, Gin, Rum, Liqueur

Whisky

  • วิสกี้ คือ สุรากลั่นที่ทำจากข้าวชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยนำมาหมักแล้วกลั่นให้มีดีกรีที่สูงขึ้น เก็บใส่ถังไม้โอ๊ก
  • เช่น Scotch / Irish / American

Gin

  • ยิน (Gin)
  • ทำจากธัญพืชประเภทข้าวสาลี ข้าวโพด กรรมวิธีการผลิตเหมือนการผลิตวอดก้าให้ได้แอลกอฮอล์ที่บริสุทธิ์ที่สุด (คัดหัว-หางทิ้ง) หมักกับเครื่องเทศสมุนไพรเช่น เมล็ดจูนิเปอร์ (Juniper), อบเชย เป็นต้น นำไปกลั่นซ้ำอีกครั้งทำให้ยินมีกลิ่นหอมของจูนิเปอร์ และมีรสของสมุนไพร

Rum

  • รัมย์ (Rum) ทำจากอ้อย หรือ น้ำตาลอ้อย รัมย์ที่มีชื่อเสียงส่วนมากจะมาจากแคริบเบียน หรือแถบ

เปอเตอริโก Rum มี 3 สี ได้แก่

  • White Rum สีขาวเพราะไม่เก็บบ่ม
  • Gold Rum มีสีทองเพราะเก็บบ่มในถังไม้โอ๊ค แต่บ่มไม่นาน
  • Dark Rum จะรมควันถังไม้โอ๊คก่อนบ่ม และใส่วานิลาและคาราเมลลงไปให้มีสีดำ นิยมดื่มกับโคล่า

Vodka

  • วอดก้า (Vodka) ทำจากเมล็ดธัญพืชประเภทข้าวและแป้งจากหัวมันฝรั่ง นำไปกลั่นด้วยเครื่องกลั่นแบบต่อเนื่องเพื่อให้
  • ได้ความแรงแอลกอฮอล์สูงถึง 95 % มีความบริสุทธิ์จึงนำแอลกอฮอล์ที่ได้มากำจัดกลิ่นด้วยการผ่านถ่านไม้หรือวัตถุอื่น ๆ จนไร้กลิ่นรสของวัตถุดิบ แล้วปรับปรุงน้ำสุราให้มีแรงแอลกอฮอล์ไม่ต่ำกว่า 40 ดีกรี ก่อนบรรจุขวด

Liqueur

  • ลิเคียว (Liqueur) คือสุราที่ผสมผลไม้ สมุนไพร นม หรือครีมลงไป แบ่งเป็นลิเคียวที่มาจากผลไม้เรียก ฟรุตตี้ ลิเคียว จะมีกลิ่นและรสชาติเป็นแบบผลไม้ที่ผสมลงไป ลิเคียวที่มาจากสมุนไพร
  • เช่น เปปเปอมิ้น จะมีสีฟ้า ซามูก้า รสชาติโดยทั่วไปของลิเคียวส่วนมากจะหวาน ลิเคียวทำให้การทำคอกเทลมีรสชาติต่าง ๆ และมีสีสัน

Liqueur

  • ลิเคียว คือประเภทเหล้าที่มีรสหวานหอม ส่วนมากนิยมดื่มหลังอาหาร เพื่อย่อยอาหารมีดังนี้�- กรีนครีมเดอเมนต์ (สีเขียว) หรือจะใช้เป็นไวท์ครีมเดอเมนต์

(สีขาว) แทนก็ได้�- บลูคูราโซ่ (สีฟ้า) หรือจะใช้กาเลียโน่ (สีเหลืองกลิ่นกล้วยหอม) แทนก็ได้�- ออร์เร้นจ์คูราโซ่ (สีส้ม)�- คอนโทร่ (สีขาวใส) รสหอม ราคาแพง จึงต้องเปลี่ยนมาเป็นทริเปิ้ล เสค คูราโซ่ ซึ่งมีสีขาวใสเหมือนกัน รสหวานหอม กลิ่นส้ม แต่ราคาถูกกว่า สรรพคุณใกล้เคียงกัน��

Tequila

  • ตากีลา (Tequila) เป็นเหล้าสีขาว กลิ่นแรง หมักจากพืชที่เรียกว่า Mezcal ผลิตในประเทศเม็กซิโก ปกติตากีลาจะมีสีขาว แต่บางชนิดมีสีเหลืองทองจากการเก็บบ่มในถังไม้ �ปกติชาวพื้นเมืองเม็กซิโก นิยมดื่มเหล้าตากีลาโดยไม่ผสม หากแต่ก่อนดื่มจะหยิบเกลือใส่ปาก บีบมะนาวตาม แล้วจึงยกเหล้าขึ้นดื่ม เพื่อให้รสชาติของเหล้าคลุกเคล้ากับเกลือและมะนาวในปาก ในปัจจุบันนิยมนำตากีลามาทำเป็นเครื่องดื่มผสม เช่น Tequila Sunrise, Margarita เป็นต้น �เหล้าตากีลาที่รู้จักกันดีในประเทศไทย El-Toro, Cuervo, Sauza

Wine

  • เหล้าประเภทนี้ เป็นเหล้าองุ่นที่ผลิตจากประเทศแถบตอนใต้ เช่น สเปน โปรตุเกส อิตาลี กรีก ฮังการี และทางตอนใต้ของฝรั่งเศส เหล้าองุ่นประเภทนี้ แบ่งตามความนิยมที่ใช้มีดังต่อไปนี้
  • Port
  • Sherry
  • Mad ere
  • Malaga
  • Marshal
  • Anises

Port Wine

  • Port Wine เป็นเหล้าองุ่นที่ผลิตจากประเทศ Spain ,Portugal ,France ,Greece ทำจากเมือง Oporto ในประเทศสเปน มีชื่อเสียงมากเป็นเหล้าองุ่นที่เพิ่มน้ำตาลจากองุ่น

(eau-de-vie-de-vin)(Water of Life) เหล้าชนิดนี้ต้องเก็บไว้อย่างน้อยที่สุด 2 ปี

  • จะนำส่งออกจำหน่ายได้มีดีกรี 20 - 22 ดีกรี เรียกกันว่า Port นิยมดื่มกันมากในยุโรป ประเทศอังกฤษ

ประโยชน์ของเหล้า Port

  • ใช้ประโยชน์ในการประกอบอาหาร
  • ใช้ดื่มเป็นเหล้าก่อนอาหาร
  • ใช้ผสมทำ Cocktail

ไวน์ (Wine)

แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ

  • Table Wine หรือ Still Wine คือไวน์ที่หมักจากองุ่น
  • Sparkling Wine คือไวน์ที่มีแก๊สจึงทำให้มีรสซ่ามีทั้งสีขาว ชมพูและแดง
  • Fortified Wine คือไวน์ที่เพิ่มแอลกอฮอล์ให้สูงประมาณ 18- 22 ดีกรี จะมีกลิ่น รส

Table Wine

  • ไวน์ที่หมักจากองุ่น โดยไม่ต้องเพิ่มเติมสิ่งหนึ่งสิ่งใดลงไป ไม่มีแก๊ส ดีกรีที่นิยม 7-15 นิยมดื่มในทุกโอกาส แต่ส่วนใหญ่ดื่มประกอบอาหาร เพื่อเจริญอาหารและชูรสชาติของอาหาร มี 3 สี �- ไวน์แดง (Red Wine) จะมีตั้งแต่สีแดงอ่อน ถึงแดงเข้ม ขึ้นอยู่กับชนิดขององุ่นที่นำมาหมักและระยะเวลาในการหมัก ส่วนใหญ่ไวน์แดงจะมีรสฝาด และให้มีรสหวานน้อยมาก เรียกว่า Dry นิยมดื่มโดยไม่แช่เย็น �

Table Wine

  • -ไวน์ขาว (White Wine) จะมีตั้งแต่เหลืองซีดจนถึงเหลืองทอง ลักษณะโดยทั่วไปจะมีรสอ่อน กลิ่นน้อย ความหวานมีตั้งแต่หวานน้อยจนถึงหวานมาก ไม่มีรสฝาด นิยมดื่มโดยแช่เย็น �- ไวน์สีชมพู (Rose Wine) จะมีสีตั้งแต่ชมพูอ่อนจนถึงเกือบแดง ไวน์สีชมพูจะมีลักษณะระหว่างไวน์ขาวกับไวน์แดง คือมีความฝาดเล็กน้อยและมีรสเปรี้ยวอมหวาน จึงเป็นที่นิยม เพราะดื่มง่าย นิยมแช่เย็นก่อนดื่ม
  • เสริฟอุณหภูมิระหว่าง 8 - 12 องศา C �

Sparkling Wine

  • คือไวน์ที่มีแก๊สจึงทำให้มีรสซ่ามีทั้งสีขาว ชมพูและแดง Sparkling Wine 15 – 18 ดีกรี ใช้กรรมวิธีในการหมักไวน์ซ้ำเป็นครั้งที่สองภายในขวด และเก็บรักษาแก๊สนี้ไว้ จึงทำให้เกิดรสซ่า เป็นที่นิยมกันมาก จึงมีการจดลิขสิทธิ์ไว้ในชื่อ "Champagne" ของฝรั่งเศส ส่วนไวน์ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีคล้ายคลึงกันจะใช้คำว่า Sparkling Wine �แชมเปญนิยมดื่มเพื่อแสดงความยินดีต่อกัน เสิร์ฟโดยแช่เย็นจัด
  • เสริฟประมาณ 6 - 8 องศา C�

Fortified Wine

  • คือไวน์ที่เพิ่มแอลกอฮอล์ให้สูงประมาณ 18 - 22 ดีกรี จะมีกลิ่น รส และแอลกอฮอล์มากกว่าไวน์ธรรมดา

แช่เย็นเพียงเล็กน้อยก่อนดื่ม

  • คือ Aperitif และ Dessert wine

"Mocktail"

  • MOCK (ม็อก) แปลว่า การลอกเลียนแบบ "Mocktail" ถูกใช้เรียกชื่อแทนประเภทของเครื่องดื่มผสมที่ไม่มีแอลกอฮอล์ ( Non-Alcohol ) หรือมีแอลกอฮอล์ผสมอยู่บ้าง แต่ในปริมาณที่น้อยมากๆ มีกรรมวิธีการทำคล้ายกับค็อกเทล ( Cocktail ) วิธีการผสมมีหลายแบบ ไม่ว่าจะเป็น การเขย่า คน เท หรือการปั่น รสชาติจะเน้นความแตกต่างด้วยรสผลไม้ โยเกิร์ต นม ครีม ชา กาแฟ น้ำอัดลม โซดา น้ำเชื่อม และน้ำเชื่อมกลิ่นผลไม้ต่างๆ

“ค็อกเทล” (COCKTAIL)

  • คำว่า “ค็อกเทล” (COCKTAIL) หมายถึง เครื่องดื่มผสมที่มีเหล้า (วัตถุดิบที่มีแอลกอฮอล์) 1 ชนิดหรือมากกว่าเป็นส่วนประกอบในเครื่องดื่มแก้วนั้น เครื่องดื่มผสมบางแก้วมีส่วนประกอบที่เป็นเหล้าเป็นส่วน ประกอบชนิดเดียวหรือบางแก้วมีส่วนประกอบที่เป็นเหล้าถึง 3-4 ชนิด

วิธีการผสม Cocktail

  • 1.Shake&Strain วิธีการเขย่าและกรอง อุปกรณ์ในการผสมคือ กระบอกเช็ค (Shaker) โดยรินส่วนผสมลงในกระบอกเช็ค แล้วตักน้ำแข็งก้อนใส่ตา
  • ข้อห้ามของวิธีเขย่า ห้ามเทส่วนผสมที่มีแก๊ส เช่น โซดา น้ำอัดลม ลงในกระบอกเช็ค เพราะจะเกิดแรงดันทำให้ฝากระบอกเช็คกระเด็นหลุดออกมาได้ ควรจะเติมใส่ทีหลัง

  • 2. Stir วิธีการคนผสม ส่วนใหญ่นิยมคนผสมในแก้ว โดยใส่น้ำแข็ง 3/4 ของแก้ว แล้วเทส่วนผสมลงในแก้ว
  • 3.Build&Pour วิธีการรินหรือเท เทรินส่วนผสมทั้งหมดลงในแก้วที่มีน้ำแข็งรออยู่ โดยไม่ต้องคน ใส่หลอด แล้วยกเสิร์ฟได้เลย เน้นสีสันของเครื่องดื่ม 4.Blend วิธีการปั่น จะเทส่วนผสมทั้งหมดลงเครื่องปั่น (Blender) แล้วปั่นจนละเอียดเข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับวิธีการนี้ อาจจะเรียกได้อีกแบบว่า เครื่องดื่มผสมสมูธตี้ส์ Smoothies