น เทศศาสตรมหาบ ณฑ ต ม.กร งเทพ สาขา

จุฬาฯ พัฒนาหลักสูตรและระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงคณาจารย์และบุคลากรที่มีคุณภาพ มีประสบการณ์ มีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย และเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมรอบด้าน เพื่อให้นิสิตได้รับการศึกษาที่ดีที่สุด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ

หลักสูตรที่เปิดสอนของคณะ วิทยาลัย และสถาบัน

  • ภาควิชาของคณะครุศาสตร์ (Faculty of Education)

    คณะครุศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่

    1. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
    2. เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา (Educational Communication and Technology)
    3. ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา (Art, Music and Dance Education)
    4. นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา (Educational Policy, Management, and Leadership)
    5. การศึกษาตลอดชีวิต(Lifelong Education)
    6. วิจัยและจิตวิทยาการศึกษา(Educational Research and Psychology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) Bachelor of Education (B.Ed.) 10 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การศึกษาปฐมวัย* (Early Childhood Education)
    2. ประถมศึกษา* (Elementary Education)
    3. มัธยมศึกษา* (Secondary Education)
    4. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)
    5. เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology)
    6. ศิลปศึกษา* (Art Education)
    7. ดนตรีศึกษา* (Music Education)
    8. ธุรกิจศึกษา* (Business Education)
    9. การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal Education)
    10. จิตวิทยาการปรึกษา การแนะแนว และการศึกษาพิเศษ (Counseling Psychology, Guidance and Special Education)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) Master of Education (M.Ed.) 21 สาขาวิชาได้แก่

    1. การศึกษาปฐมวัย(Early Childhood Education)
    2. ประถมศึกษา (Elementary Education)
    3. พลศึกษา (Physical Education)
    4. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)
    5. การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (นานาชาติ) (Teaching English as a Foreign Language)
    6. การศึกษาคณิตศาสตร์ (Mathematics Education)
    7. การสอนภาษาไทย (Teaching Thai Language)
    8. การศึกษาวิทยาศาสตร์(Science Education)
    9. การสอนสังคมศึกษา (Teaching Social Studies)
    10. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
    11. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Educational Technology and Communications)
    12. ศิลปศึกษา (Art Education)
    13. ดนตรีศึกษา (Music Education)
    14. บริหารการศึกษา (Educational Administration)
    15. นิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร (Supervision and Curriculum Development)
    16. พัฒนศึกษา (Development Education)
    17. การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal Education)
    18. การวัดและประเมินผลการศึกษา (Educational Measurement and Evaluation)
    19. วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา (Educational Research Methodology)
    20. สถิติการศึกษา (Educational Statistics)
    21. จิตวิทยาการศึกษ (Educational Psychology)
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (ป.บัณฑิตชั้นสูง) Higher Graduate Diploma (Higher Grad. Dip.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การจัดการอุดมศึกษา (นานาชาติ) (Higher Education Management)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 12 สาขาวิชาได้แก่

    1. การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education)
    2. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)
    3. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Educational Technology and Communications)
    4. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
    5. ศิลปศึกษา (Art Education)
    6. บริหารการศึกษา (Educational Administration)
    7. พัฒนศึกษา (Development Education)
    8. อุดมศึกษา (Higher Education)
    9. การศึกษานอกระบบโรงเรียน(Non-Formal Education)
    10. การวัดและประเมินผลการศึกษา (Educational Measurement and Evaluation)
    11. วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา (Educational Research Methodology)
    12. จิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology)
  • หมายเหตุ

    • * เปิดสอนโปรแกรมเกียรตินิยมด้วย เริ่มรับนิสิตเข้าโปรแกรม ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์คณะ

  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) Bachelor of Science (B.S.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    1. จิตวิทยา (Psychology)
    2. วิทยาศาสตร์จิตวิทยา (นานาชาติ) (Psychological Science)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา (ศศ.ม.) Master of Arts Program in Psychology (M.A.) ประกอบด้วย 3 แขนงวิชา ได้แก่

    1. แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology)
    2. แขนงวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (Industrial and Organizational Psychology)
    3. แขนงวิชาการวิจัยจิตวิทยาประยุกต์ (Applied Psychological Research)

      2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา (ศศ.ม.) Master of Arts Program in Counseling Psychology (M.A.)

      3. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา (วท.ม.) Master of Science Program in Psychological Science (M.S.) ประกอบด้วย 3 แขนงวิชา ได้แก่

    4. แขนงวิชาจิตวิทยาสังคม (Social Psychology)
    5. แขนงวิชาจิตวิทยาธุรกิจ (Business Psychology)
    6. แขนงวิชาจิตวิทยาปริชาน (Cognitive Psychology)
  • ### หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy Program in Psychology (Ph.D.) ประกอบด้วย 3 แขนงวิชา ได้แก่

    1. แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology)
    2. แขนงวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (Industrial and Organizational Psychology)
    3. แขนงวิชาการวิจัยจิตวิทยาประยุกต์ (Applied Psychological Research)

      2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy Program in Counseling Psychology (Ph.D.)

      3. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา (วท.ด.) Doctor of Philosophy Program in Psychological Science (Ph.D.) ประกอบด้วย 3 แขนงวิชา ได้แก่

    4. แขนงวิชาจิตวิทยาสังคม (Social Psychology)
    5. แขนงวิชาจิตวิทยาธุรกิจ (Business Psychology)
    6. แขนงวิชาจิตวิทยาปริชาน (Cognitive Psychology)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์คณะ

  • ภาควิชาของคณะทันตแพทยศาสตร์ (Faculty of Dentistry)

    คณะทันตแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 16 ภาควิชา ได้แก่

  • กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
  • จุลชีววิทยา (Microbiology)
  • ชีวเคมี (Biochemistry)
  • ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
  • ทันตกรรมชุมชน (Community Dentistry)
  • ทันตกรรมบดเคี้ยว (Occlusion)
  • ทันตกรรมประดิษฐ์( Prosthodontics)
  • ทันตกรรมสำหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
  • ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
  • ทันตพยาธิวิทยา (Oral Pathology)
  • ปริทันตวิทยา (Periodontology)
  • เภสัชวิทยา (Pharmacology)
  • รังสีวิทยา (Radiology)
  • เวชศาสตร์ช่องปาก(Oral Medicine)
  • ศัลยศาสตร์ (Oral and Maxillofacial Surgery)
  • สรีรวิทยา (Physiology)
  • ### หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ
  • ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (ท.บ.) Doctor of Dental Surgery (D.D.S.) หลักสูตร 6 ปี
  • ### หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) Graduate Diploma in Clinical Sciences[Grad.Dip.in Clin.Sc. (…)] 5 สาขาวิชา ได้แก่

  • ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
  • ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
  • วิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontology)
  • วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก*** (Oral Diagnostic Sciences)
  • ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล(Oral and Maxillofacial Surgery)
  • ### หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 13 สาขาวิชา ได้แก่

  • ทันตกรรมจัดฟัน Orthodontics
  • ทันตกรรมประดิษฐ์ Prosthodontics
  • ทันตกรรมหัตถการ (นานาชาติ) Operative Dentistry (International Program)
  • วิทยาเอ็นโดดอนต์ Endodontics
  • รังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral and Maxilllofacial Radiology
  • ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral and Maxillofacial Surgery
  • เวชศาสตร์ช่องปาก Oral Medicine
  • ทันตกรรมสำหรับเด็ก Pediatric Dentistry
  • ปริทันตศาสตร์ Periodontics
  • ทันตกรรมบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากและใบหน้า Occlusion and Orofacial Pain
  • ชีววิทยาช่องปาก (นานาชาติ) Oral Biology (International Program)
  • ทันตกรรมบูรณะเพื่อความสวยงามและทันตกรรมรากเทียม (นานาชาติ) Esthetic Restorative and Implant Dentistry (International Program)
  • ทันตกรรมผู้ส่งอายุและการดูแลผู้ป่วยพิเศษ (นานาชาติ) Geriatric and Special Patients Care (International Program)
  • ### หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences Program (Higher.Grad.Dip.in Clin. Sc.) ได้แก่

    หลักสูตรนานาชาติ International Program ประกอบด้วย 12 แขนงวิชา ดังนี้
  • พยาธิวิทยาช่องปาก Oral Pathology
  • ทันตกรรมจัดฟัน Orthodontics
  • ทันตกรรมหัตถการ Operative Dentistry
  • วิทยาเด็นโดดอนต์ endodontics
  • รังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral And Maxillofacial Radiology
  • ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral And Maxillofacial Surgery
  • ศัลยศาสตร์ช่องปากและรากฟันเทียม Oral Surgery and Dental Implant
  • เวชศาสตร์ช่องปาก Oral Medicine
  • ทันตกรรมเด็ก Pediatric Dentistry
  • ทันตสาธารณสุข Dental Public Health
  • ปริทันตวิทยาและรากฟันเทียม Periodontology And Dental Implant
  • ทันตกรรมบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากใบหน้า Occlusion And Orofacial Pain หลักสูตรปกติ ประกอบด้วย 1 สาขาวิชา ดังนี้
  • ทันตกรรมประดิษฐ์ Prosthodontics
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

  • ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
  • ทันตสาธารณสุข (นานาชาติ) (Dental Public Health)
  • ชีววิทยาช่องปาก (นานาชาติ) Oral Biology (International Program)
  • ทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ) Orthodontics (International Program) *Joint Degree Tokyo Medical and Dental Dental University

หมายเหตุ

* สาขาวิชาชีววิทยาช่องปาก (ระดับปริญญาโท) มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 3 ภาควิชา คือ ภาควิชาชีวเคมี ทันตกรรมบดเคี้ยว และเวชศาสตร์ช่องปาก

** สาขาวิชาชีววิทยาช่องปาก (ระดับปริญญาเอก) มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ จุลชีววิทยา ชีวเคมี ทันตพยาธิวิทยา เภสัชวิทยา และสรีรวิทยา

สาขาประชาสัมพันธ์ มีที่ไหนบ้าง

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน.

Adคือสาขาอะไร

AD ก็คือย่อมาจาก Advertising หรือก็คือ สาขาการโฆษณาดิจิทัล เป็นสาขาที่อยู่ในคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิชาที่จะได้เรียน เช่น - วิชา Data Analytics for Advertising.

นิเทศ BU มีกี่สาขา

คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพเปิดสอน 9 สาขาวิชา ใน 6 ภาควิชา ได้แก่ หน่วยงาน ระดับปริญญาตรี

คณะนิเทศศาสตร์ ม.กรุงเทพ มีสาขาอะไรบ้าง

สาขาวิชาการสื่อสารและสื่อใหม่ (มุ่งเน้นการสร้างแบรนด์สร้างสรรค์ ) สาขาวิชาการสื่อสารและสื่อใหม่ (มุ่งเน้นการสร้างแบรนด์อินฟลูเอนเซอร์) สาขาวิชาการสื่อสารและสื่อใหม่ (มุ่งเน้นการสื่อสารดิจิทัลและอุตสาหกรรมสื่อ) สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และการผลิตสื่อสตรีมมิง