ค ณค าและความสำค ญท ม ต อส งคมและประเทศชาต

วิถีไทยกับความหลากหลายทางสงั คมและวฒั นธรรม 2-7  
ในท้องถ่ิน จนเป็นท่ีรู้จักและมีการก�ำหนดชื่อเป็นสถานที่ต่างๆ ให้เป็นท่ีรับรู้ร่วมกัน และมักจะสร้างเป็น  
“ต�ำนาน” (myth) ข้ึนมาอธิบายถึงความเป็นมาและความหมายความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ สังคม  
เศรษฐกจิ และวัฒนธรรม1 เชน่ “ตำ� นานพระเจา้ เลียบโลก” ของล้านนา “ตำ� นานทา้ วฮงุ่ ทา้ วเจอื ง” ของ  
ชาวลา้ นชา้ ง “ตำ� นานทา้ วอทู่ อง” ทแ่ี พรห่ ลายในเขตภาคกลาง “ตำ� นานพระรถ” แพรห่ ลายในภาคตะวนั ออก  
เป็นต้น
        ต�ำนานเหล่าน้ีมีท้ังต�ำนานท่ีบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเรียกว่า “ต�ำนานประวัติศาสตร์” และ  
ต�ำนานท่ีบอกเล่าปากต่อปากสืบทอดกันมา โดยมิได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรมาแต่อดีต เรียกว่า  
“ต�ำนานปรัมปรา” เนื่องจากโลกอดตี นยิ มยกย่องวีรชนผู้กอ่ ตัง้ ชมุ ชนหรอื สรา้ งบา้ นแปงเมอื งใหเ้ ปน็ “ผมู้ ี  
บุญ” ต�ำนานเหล่าน้ีจึงมีเรื่องราวอิทธิปาฏิหาริย์เสริมแต่งเข้าไปเกี่ยวข้อง แต่ธิดา สาระยา2 และสุเทพ  
สุนทรเภสชั 3 ผู้เหน็ พ้องด้วยกบั วิธีการศกึ ษาแบบศรีศกั ร วัลลิโภดม โตแ้ ย้งว่า อิทธปิ าฏิหารยิ เ์ หล่านน้ั ก็  
มิได้ท�ำใหต้ ำ� นานเหลา่ น้ีหมดคุณคา่ ในการศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ ตรงข้ามตำ� นานกลับเปน็ หลกั ฐานทาง  
ประวัติศาสตร์อันทรงคุณคา่ ทีส่ ะทอ้ นมมุ มองคนในระดบั ท้องถ่นิ หรอื คนชนชั้นไพร่ ทาส ทม่ี กั ไมป่ รากฏ  
ในเอกสารบันทึกของทางราชการ เช่น พระราชพงศาวดาร เปน็ ต้น
       บรรดาชอ่ื ของสถานทร่ี วมทง้ั ความหมายตา่ งๆ หาไดเ้ ปน็ สงิ่ หยดุ นง่ิ ตายตวั แนวคดิ ภมู วิ ฒั นธรรม  
มองความเปลย่ี นแปลงในลกั ษณะเชอื่ มโยงกนั ระหวา่ งปจั จยั ทางสงั คมวฒั นธรรมกบั ธรรมชาตแิ วดลอ้ ม เมอื่  
มกี ารเปลยี่ นแปลงความหมายและความสำ� คญั ของสถานที่ รวมทง้ั การกำ� หนดชอ่ื ของสถานทใี่ หมๆ่ เพมิ่ ขน้ึ  
เมอื่ มกี ารขยายเส้นทางคมนาคมและการตง้ั ถิน่ ฐานบา้ นเมอื ง เข้าไปปรับเปลย่ี นพน้ื ทธ่ี รรมชาตแิ ละสภาพ  
แวดล้อมให้เป็นพื้นที่ทางวัฒนธรรม การปรับเปล่ียนพื้นที่ทางภูมิประเทศและตามสภาพธรรมชาติให้เป็น  
ภูมิวัฒนธรรมนี้ แลเห็นได้ชัดจากภมู ิประเทศที่เป็นป่าเขาและทสี่ ูง เช่น ภู ดอย ไดม้ กี ารกำ� หนดชอ่ื เรียก  
เทือกเขา ดอย ภู โคก เนิน หบุ แอง่ รวมทั้งล�ำนำ�้   ล�ำหว้ ย ทีร่ าบลุม่ และหนองบงึ ให้มชี อื่ เสยี งเปน็ ที่  
รับรูข้ องคนท่ัวไปในทอ้ งถ่ิน รวมท้งั คนภายนอกทเี่ ขา้ มาในท้องถิ่น4
       กล่าวโดยสรุปแล้ว “ภูมิวัฒนธรรม” เป็นแนวคดิ ท่ีศกึ ษาเกย่ี วกบั การให้ความหมายของมนุษยท์ ่ี  
มตี อ่ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาตแิ ละสังคม ขนึ้ อยู่กบั โลกทศั น์ วธิ ีคดิ ความเช่ือ ทีม่ นษุ ยม์ ีตอ่ ธรรมชาติ  
แวดล้อม ตวั อย่างเชน่ เดิมทบี า้ นเมืองในแถบเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มีความเชอื่ ถอื และบูชาผีบรรพชน  
(Ancestoral Worship) กม็ กั จะอธบิ ายความสำ� คญั ของสถานท่ี เชน่ ภเู ขา ปา่ ไม้ แมน่ ำ�้ ลำ� ธาร ใหส้ มั พนั ธ์  
เก่ียวขอ้ งกับความเชื่อดงั กลา่ ว เกิดเปน็ แนวคิดเกย่ี วกับภูเขาศกั ดส์ิ ทิ ธิห์ รอื ดินแดนศกั ด์ิสทิ ธิ์ เชน่ ในพม่า  
เชอ่ื ว่าภูเขาโปปาเป็นที่สิงสถิตของนัต (ผี) ความเชื่อตอ่ “เขาพนมกุเลน” ของชาวกัมพูชา ความเชอ่ื ตอ่  
“พสู ี” ของชาวลาวหลวงพระบาง ความเชอื่ ตอ่ “พหุ างนาค” ในเมอื งอทู่ อง ว่าเป็นทอี่ ยู่ของผี ความเชอื่
         1 ศรศี ักร วลั ลิโภดม. (2560). สร้างบา้ นแปงเมอื ง. กรุงเทพฯ: มตชิ น. น. 16-33.    
         2 ธิดา สาระยา. (2539). ประวัติศาสตร์ทอ้ งถิน่ : ประวัติศาสตรท์ ่สี มั พนั ธก์ ับสังคมมนุษย์. กรงุ เทพฯ: เมืองโบราณ. น.  
70-92.    
         3 สุเทพ สุนทรเภสัช. (2540). มานุษยวิทยากับประวัติศาสตร์: รวมความเรียงว่าด้วยการประยุกต์ใช้แนวความคิดและ  
ทฤษฎที างมานษุ ยวิทยาในการศกึ ษาขอ้ มูลทางประวตั ศิ าสตร์. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. น. 33-45.    
         4 ศรศี ักร วลั ลโิ ภดม. เรือ่ งเดมิ . น. 16-17.