คณะศ ลปศาสตร สาขาภาษาญ ป น ม.ร งส ต ค าเทอม

ข้อมูลจากฝ่ายรับเข้าศึกษา สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ปรับปรุง ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2566 ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลเบื้องต้น อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามประกาศของมหาวิทยาลัยฯ

ที่ คณะ/หลักสูตร/สาขาวิชา ภาค 1 ภาค 2 ภาคฤดูร้อน ค่าใช้จ่ายโดยประมาณ (เฉพาะภาคเรียนที่ 1 และ 2) เทียบโอน หลักสูตรต่อเนื่อง หลักสูตร 4 ปี (ประมาณ 3 ปี) (2 ปี) (4 ปี) ค่าบำรุงการศึกษาและค่าลงทะเบียนเรียน 1 คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการการบิน ภาคปกติ 25,000 25,000 12,500 200,000 สาขาวิชาอื่น ๆ ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 84,000 112,000 ทุกสาขาวิชา ภาคพิเศษ 20,000 20,000 10,000 160,000 หลักสูตรนานาชาติ ทุกสาขาวิชา ภาคปกติ 40,000 40,000 20,000 320,000 2 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ภาคปกติ 20,000 20,000 10,000 160,000 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 56,000 สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ภาคปกติ 16,000 16,000 8,000 128,000 สาขาวิชาอื่น ๆ ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 56,000 112,000 สาขาวิชาอื่น ๆ ภาคพิเศษ 20,000 20,000 10,000 80,000 160,000 3 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาการผลิตพืช/สาขาวิชาสัตวศาสตร์ ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 112,000 ทุกสาขาวิชา ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 112,000 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง ภาคปกติ 26,000 26,000 13,000 104,000 สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์อากาศยาน ภาคปกติ 30,000 30,000 15,000 240,000 สาขาวิชาอื่น ๆ ภาคปกติ 16,000 16,000 8,000 96,000 128,000 ทุกสาขาวิชา ภาคพิเศษ 24,000 24,000 12,000 144,000 192,000 5 คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ภาคปกติ 20,000 20,000 10,000 160,000 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต/สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ/สาขาวิชาการเงิน/ 16,000 16,000 8,000 96,000 128,000 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ภาคปกติ สาขาวิชาอื่น ๆ ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 84,000 112,000 สาขาวิชาอื่น ๆ ภาคพิเศษ 20,000 20,000 10,000 160,000 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต ภาคพิเศษ 26,000 26,000 13,000 208,000 หลักสูตรนานาชาติ ทุกสาขาวิชา ภาคปกติ 40,000 40,000 20,000 320,000 6 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ทุกสาขาวิชา ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 84,000 112,000 7 คณะศิลปกรรมศาสตร์ ทุกสาขาวิชา ภาคปกติ 12,000 12,000 6,000 96,000 8 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน ทุกสาขาวิชา ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 84,000 112,000 ทุกสาขาวิชา ภาคพิเศษ 20,000 20,000 10,000 120,000 160,000 9 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์/สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขาวิชาสถิติธุรกิจ 16,000 16,000 8,000 128,000 และอุตสาหการ/สาขาวิชาการวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ / สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดิจิทัล ภาคปกติ สาขาวิชาอื่น ๆ ภาคปกติ 14,000 14,000 7,000 112,000 10 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทุกสาขาวิชา ภาคปกติ 20,000 20,000 10,000 11 คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4 80,000 80,000 640,000 12 คณะการแพทย์บูรณาการ หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต/สาขาวิชาสุขภาพและความงาม ภาคปกติ 16,000 16,000 8,000 128,000 สาขาวิขานวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภาคปกติ 20,000 20,000 10,000 160,000 ค่าธรรมเนียมการศึกษาแรกเข้า (ตลอดหลักสูตร) ทุกหลักสูตร/สาขาวิชา 1,000

บุคลากรด้านการท่องเที่ยวต้องตระหนักในจรรยาบรรณวิชาชีพโดยการประยุกต์ทฤษฎี แนวคิดและหลักการ บูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อสร้างนวัตกรรมในวิชาชีพสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ

  • ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว
  • ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวทางระบบออนไลน์
  • ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม เช่น Homestay, Hostel, AirBNB เป็นต้น
  • งานทางด้านธุรกิจท่องเที่ยว เช่น บริษัทนำเที่ยว บริษัทตัวแทนจำหน่ายทางการท่องเที่ยว ธุรกิจขายของที่ระลึก ธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจสปา ธุรกิจร้านอาหาร/ภัตตาคารและเครื่องดื่ม เป็นต้น
  • งานทางด้านธุรกิจสายการบิน เช่น แผนกต้อนรับภาคพื้นดิน แผนกต้อนรับบนเครื่องบิน แผนกรับจองบัตรโดยสาร เป็นต้น
  • งานทางด้านธุรกิจโรงแรม เช่น แผนกต้อนรับส่วนหน้า แผนกรับจองห้องพัก แผนกการบริการอาหารและเครื่องดื่ม แผนกแม่บ้าน เป็นต้น
  • หน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทในการเสนอนโยบาย กำกับดูแลวางแผน และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เช่น เจ้าหน้าที่ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เจ้าหน้าที่ของสำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน (Bachelor of Arts in Community Development)

Website : -

เบอร์โทรศัพท์ : -

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน มีความเชื่อว่า นักพัฒนาควรมีความรอบรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีจิตสาธารณะ มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

  • นักวิชาการและนักปฏิบัติการชุมชน

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (Bachelor of Arts Program in English)

Website : -

เบอร์โทรศัพท์ : -

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ความเชี่ยวชาญในการใช้ภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและวิชาชีพเพื่อพัฒนาท้องถิ่น โดยบูรณาการศาสตร์ที่ศึกษากับทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน และสร้างสรรค์ ประกอบกับทักษะการใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้และประกอบอาชีพ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เข้าใจและยอมรับความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมอื่น โดยคงไว้ซึ่งคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม