ก าวแล วล ม ด กว าเราย นอย กล บท

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ท่มี าและความสาํ คัญ

แอสฟลตคอนกรีต (Asphalt Concrete) หมายถึง วัสดุทําผิวทางที่มีคุณภาพสูง ประกอบดวย แอสฟลตซีเมนต (Asphalt Cement) และมวลรวม (Aggregates) ผสมใหเขากันดวย ความรอนที่อุณหภูมิสูงในเคร่ืองผสม จากนั้นจึงนําไปปูลาดทําเปนผิวทางของถนนในขณะท่ีสวนผสม ยังรอนอยูแลวบดอัดใหแนนและเรียบเปนถนนลาดยางที่มีผิวทางคุณภาพดี แข็งแรง สีคอนขางดํา สามารถรับปริมาณการจราจรหนาแนนมากได จึงมักใชสําหรับสรางถนนลาดยางคุณภาพดีท่ัวไป รวมถึงลานจอดรถขนาดใหญ โดยคุณสมบัติของแอสฟลตคอนกรีตจะขึ้นอยูกับคุณภาพของแอสฟลต ซีเมนต และมวลรวม ซึ่งเปนสวนประกอบทสี่ ําคัญของสว นผสม ตลอดจนสัดสวนที่ใชในการออกแบบ สวนผสม และกระบวนการในการผลิตสวนผสม

ในการออกแบบถนนลาดยางแอสฟลตคอนกรตี จาํ เปนจะตอ งอาศัยความสัมพันธท่ีเหมาะสม กันระหวางปริมาณวัสดุมวลรวม ขนาดคละของวัสดุมวลรวมและปริมาณแอสฟลต ปริมาณที่เลือกใช น้ันจะตองมีความเหมาะสม โดยถาใชแอสฟลตมากหรือนอยเกินไปจะเกิดปญหาเรื่องความทนทาน ของผิวทางแอสฟลตคอนกรีต ซ่ึงอาจเกิดการชํารุด เสียหายหรือหมดอายุการใชงานกอนเวลาอันควร ดังนั้น ข้ันตอนในการเลือกใชอัตราสวนของปริมาณวัสดุมวลรวม และปริมาณแอสฟลตท่ีเหมาะสม โดยท่ัวไปนิยมใชการออกแบบสวนผสมแอสฟลตคอนกรีตโดยวิธีมารแชลล(ชื่อภาษาอังกฤษ) ซึ่งเปน การหาปริมาณแอสฟลตที่เหมาะสมซ่ึงจะสงผลตอคุณภาพของแอสฟลตคอนกรีต โดยจะทําการ ทดสอบคาเสถียรภาพ (Stability) คาการไหล (Flow) ความหนาแนน (Density) และชองวาง (Void) ของกอนตัวอยางทดสอบ ซึ่งวิธีการออกแบบสวนผสมแอสฟลตคอนกรีตโดยวิธีมารแชลลเปนวิธีการ ทดสอบทมี่ ีความสําคัญมาก แตใ นปจ จุบันพบวาผูที่เกีย่ วของเก่ียวกับการออกแบบและการทดสอบยัง ขาดความรูความเขาใจในการทดสอบ อยางถูกตองและไดมาตรฐานวิธีการข้ันตอนการทดสอบ เน่ืองจากยังขาดคูมือปฏิบัติการทดสอบ โปรแกรมการคํานวณผลการทดสอบ และส่ือการเรียนรู สําหรบั การทดสอบท่สี มบูรณถ กู ตอ ง และสามารถเขา ใจไดโดยงาย

เนื่องจากสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร พื้นท่ีศาลายา มีอุปกรณ เครื่องมือสําหรับการออกแบบและการทดสอบแอสฟลต คอนกรีตโดยวิธีมารแชลล แตไมไดมีการนํามาใชงานในการจัดการเรียนการสอนเปนระยะเวลานาน และอุปกรณ เครื่องมือบางช้ินของชุดการทดสอบ มีการชํารุดเสียหาย สงผลใหไมสามารถทําการ ทดสอบ และจดั การเรยี นการสอนไดอยางเต็มประสทิ ธิภาพ จากปญ หาและเหตผุ ลดงั กลา ว ทางคณะ

2

ผูจัดทําจึงมีความสนใจท่ีจะทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ “การศึกษาวิธีการ ขั้นตอนการทดสอบ แอสฟลตคอนกรีตโดยวิธีมารแชลล” โดยดําเนินการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการและข้ันตอนการทดสอบ การใชอุปกรณเครื่องมือสําหรับการทดสอบ และจัดทําคูมือปฏิบัติการทดสอบ โปรแกรมการคํานวณ ผลการทดสอบ และส่ือการเรียนรูสําหรับการทดสอบแอสฟลตคอนกรีตโดยวิธีมารแชลล เพื่อใหผูท่ี สนใจศึกษาสามารถเขาใจเนื้อหาไดงาย และเกิดการเรียนรูไดเปนอยางดี ซ่ึงกอใหเกิดประโยชนตอ การจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าปฏิบัติการวิศวกรรมการทาง

1.2 วัตถุประสงค 1. เพ่ือศกึ ษาวิธีการและข้นั ตอนการทดสอบแอสฟลตคอนกรตี โดยวธิ ีมารแ ชลล 2. เพ่ือจดั ทาํ คมู อื ปฏิบตั ิการทดสอบ โปรแกรมการคํานวณผลการทดสอบ และสอ่ื การเรยี นรู

สําหรับการทดสอบแอสฟล ตคอนกรตี โดยวิธมี ารแ ชลล

1.3 ขอบเขต ในการศึกษาวิจัยในคร้ังน้ี เปนการศึกษาในสวนของการศึกษาวิธีการ ขั้นตอนการทดสอบ

แอสฟลตคอนกรีตโดยวิธีมารแชลล ตามมาตรฐานกรมทางหลวง (ทล.-ม. 408/2532) และมาตรฐาน ASTM D 1559-89 และAASHTO T 245-82 โดยใชวัสดุหลักในการออกแบบตัวอยางทดสอบ แอสฟล ตค อนกรีต 2 ชนิดคือ วัสดุมวลรวมหนิ ปูน และแอสฟลตซีเมนต โดยมขี อบเขตการดําเนินงาน การศกึ ษาวิจัยดังตอ ไปนี้

1. ศึกษาวิธีการและข้ันตอนการทดสอบแอสฟลตคอนกรีตโดยวิธีมารแชลล และตรวจสอบ ความพรอ ม ความสมบรู ณข องอปุ กรณเ คร่ืองมือทดสอบทม่ี ีอยขู องสาขาวิศวกรรมโยธา

2. การจัดเตรียมวสั ดุท่ีใชสาํ หรับการทําตัวอยางทดสอบ โดยใชวัสดุมวลรวมหินปูน 4 ขนาด คือ หนิ ฝนุ , 3/8 นวิ้ , 1/2 นิว้ , 3/4 นว้ิ และยางแอสฟล ตซีเมนต เกรด AC 60-70

3. การทดสอบคณุ สมบตั พิ น้ื ฐานวัสดุของวัสดุมวลรวม และยางแอสฟลตซ เี มนต 4. การออกแบบสวนผสม และการทดสอบตวั อยางแอสฟล ตค อนกรีตโดยวิธมี ารแชลล 5. จัดทําคูมือปฏิบัติการทดสอบ โปรแกรมการคํานวณผลการทดสอบ และส่ือการเรียนรู สําหรับการทดสอบแอสฟล ตค อนกรีตโดยวิธมี ารแ ชลล

1.4 ประโยชนท่คี าดวาจะไดร บั 1. เขาใจวิธกี าร และข้ันตอนการทดสอบแอสฟลตคอนกรีตโดยวิธีมารแชลล และสามารถใช

อปุ กรณเคร่อื งมอื ในการทดสอบใหไ ดเ กดิ ประโยชนสูงสุด 2. ไดคูมือปฏิบตั ิการทดสอบ โปรแกรมการคํานวณผลการทดสอบ และส่ือการเรียนรสู ําหรับ

การทดสอบแอสฟลตค อนกรีตโดยวิธมี ารแชลล 3. ชวยใหวิศวกร ชางเทคนิคทั่วไป ตลอดจนผูที่สนใจเก่ียวกับงานแอสฟลตคอนกรีต

สามารถนําไปใชเปนคมู อื ในการปฏบิ ัตงิ านไดอยา งถกู ตอง

3

1.5 แผนการดาํ เนนิ การ ในการจัดทําโครงงานเร่ือง “การศึกษาวิธีการ ข้ันตอนการทดสอบแอสฟลตคอนกรีตโดย

วิธีมารแชลล” มีการกําหนดระยะเวลาดําเนินงาน ต้ังแตเดือน 4 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2564 โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 1-1

ตารางที่ 1-1 แผนการดําเนนิ การ

2563 ระยะเวลา (ปก ารศึกษา) ขั้นตอนการดําเนนิ การ 2564 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 1. ศึกษาทฤษฎที ีเ่ กยี่ วของ และรวบรวมของขอมูล 2. เสนอโครงงานและการ ฝกสห ิกจ ึศกษา ิม ุถนายน - ุตลาคม วางแผนจัดทําโครงงาน 3. จัดเตรยี มวัสดทุ ใ่ี ชในการ ทําตัวอยางทดสอบ 4. ทําการทดสอบและ ออกแบบตัวอยาง 5. จัดทําโปรมแกรมและสือ่ การสอนคูมอื ปฏิบัติการ ทดสอบ 6. จัดทาํ โครงการฉบบั สมบูรณและนาํ เสนอโครงการ

บทที่ 2 ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วขอ ง

2.1 ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน

การศกึ ษาและคน ควา

การรวบรวมขอมลู

การเรยี บเรยี ง

จดั เตรยี มวสั ดทุ ่ใี ชในการทาํ ตัวอยา งทดสอบ

ทาํ การทดสอบและออกแบบ จดั ทาํ โปรมแกรมและส่ือการสอน ตวั อยาง คมู ือปฏบิ ตั ิการทดสอบ

จัดทํารูปเลมโครงการฉบบั สมบรู ณ

ภาพท่ี 2.1 แผนภาพการปฏิบัตงิ าน

5

2.2 ทฤษฎที ีเ่ กี่ยวของ 2.2.1 ความรเู กี่ยวกบั ยางแอสฟล ต

ยางแอสฟลต (asphalt) หรือ ไบนเดอร (binder) เปนศพั ทท ี่ชาวอเมริกันใชเรยี กยางมะตอย แตช าวอังกฤษจะเรียกวา บิทเู มน (bitumen) เปน วัสดุทเ่ี กิดในธรรมชาติและเปน ผลพลอยไดจากการ กลั่นน้ํามัน มีแหลงกําเนิดจาก 3 แหลงใหญๆ คือ ในธรรมชาติเปนหินแอสฟลต (rock asphalt) ท่ี นํามาเผาเอาแอสฟลตออกมาจากแหลงใตดินท่ีเปนบอแอสฟลตอยูลึกลงไปใน ดิน lake asphalt มี มากใน Trinidad ในสหราชอาณาจักรอังกฤษ และจากการกล่ันนํ้ามันดิบ หลังจากกลั่นเอาเบนซิน และดีเซลออกไปท่ีเหลืออยูเปนยางแอสฟลตแข็ง (asphalt cement, AC.) ท่ีมีความเขมขนและแข็ง ตา งกนั ไปตามสภาพของแหลง 2.2.1.1 ประเภทของยางแอสฟลต

ยางแอสฟลตท่ใี ชท าํ ผวิ ทางในปจจบุ ันแบงออกเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ 1. แอสฟล ตซ ีเมนต AC. เปนยางท่ีไดจากหินแอสฟลตธรรมชาติ หรือผลพลอยไดจากการกลั่นน้ํามัน มีลักษณะแข็ง และเหนียว ยางนี้ยังแบงซอยออกเปนชนิดตาง ๆ ตามความแข็งซ่ึงวัดเปนคา penetration grade, pen. การวัดคา pen.นี้ ทําโดยเอาตัวอยางยางใสลงในกระปองเสนผาศูนยกลางประมาณ 5 ซม. สูง 3-5 ซม. แชในน้ําท่ีมีอุณหภูมิคงท่ี 25o c แลวใชเข็มที่ติดตั้งบนแทนกดลงบนผิวยาง ในชวงเวลาหน่ึง เข็มจมลงไปเทาไรก็เปนคา pen ของยางน้ัน โดยจะมีคาต้ังแต 10 ถึง 120 pen. ตัวเลขนอยแสดงวา ยางยิ่งแข็งมาก 2. ยางคตั แบกแอสฟลต (cut back) เปน ยางเหลวทีอ่ ณุ หภูมิปกติทไี่ ดจ ากการใชยาง AC ผสมกับสารทําละลาย เพอื่ ใหยางแขง็ AC นั้นเหลวออนลง เพื่อใหสะดวกในการใชงานไมตองใหความรอนสูงมาก แบงออกเปนชนิดใหญๆได 3 กลมุ คือ - rapid curing, RC. เปนยางเหลวท่ีผสมยาง AC กับสารตัวทําละลายท่ีเปนนํ้ามันเบนซิน เมื่อนําไปใชงานน้ํามันเบนซินจะระเหยออกไปไดเร็ว เหลือแตยางแข็ง AC จับอยูบนหินผิวทาง ยาง ชนิดน้ียังแบงออกเปนเกรดตาง ๆ ตามความหนืดเหนียวของมัน เชน RC0 , RC1 ถึง RC5 ตัวเลขยิ่ง มากความเหนียวหนืดก็มีมาก จะระเหยไดชากวา บางทีการแบงเกรดใชตามระบบการวัดความหนืด เปน RC1000 หรือ RC2000 ซง่ึ กม็ คี วามหมายคลา ยๆ กนั - medium curing, MC. เปน ยางเหลวท่ีผสมยาง AC กบั สารตัวทําละลายพวกนํา้ มันกา ซ ซ่ึง การระเหยตัวของ สารทําละลายน้ีจะชากวาเบนซิน เหมาะกับงานผิวทางบางชนิดที่ไมตองการใหมัน ระเหยตัวเร็วเกินไป เชน งานไพรมโคดท่ีตองการท้ิงระยะเวลาใหนํ้ายางซึมลงไปตามรองชองวางของ ชนั้ หินพ้ืนทางเพอื่ เปน รากยึดเกาะผิวทางกับชนั้ พ้นื ทาง มกี ารแบงเกรดตาง ๆ เชนเดยี วกบั พวก RC - slow curing, SC. เปนยางเหลวท่ีผสมยาง AC กบั สารตวั ทําละลายพวกนํ้ามันดเี ซล ซ่งึ การ ระเหยตัวย่ิงชา มากกวา สองตัวแรก

6

3. ยางอีมลั ชั่น หรือ อมี ลั ซฟี ายแอสฟลต (emulsified asphalt) เปนยางนํ้าที่ไดจากการใชยาง AC ทําใหมันรอนและทําใหแตกตัวออกเปนอณูเล็ก ๆ ดวย อีมัลซีฟายเออร เพ่ือใหมันจับผสมกับอณูของนํ้าเปนยางนํ้า โดยมีเน้ือยางอยูประมาณ 50-60% เหมาะใชงานทําผิวทางในพื้นท่ีที่มีฝนตกชุก หินแมจะเปยกนํ้าก็ใชกับยางนี้ได มันจะจับเกาะผิวของ หนิ แมวา ผวิ จะเปย ก และเมอื่ น้ําระเหยไปหมดก็เหลือแตเน้ือยางจับแนนอยูท่ผี ิวของหินทาํ หนาที่ เปน ตัวยึดประสานใหหินตืดกัน สะดวกกวาการใชยางคัทแบกหรือยางแข็งAC ที่หินตองมีผิวที่แหงและ ปราศจากความชื้น แตก็มีขอดอยกวาตรงที่ตองคอยกลิ้งถังเก็บยางหรือกวนในถังเก็บอยางสม่ําเสมอ เพ่อื มิใหอ นภุ าคของยาง AC ตกตะกอนแยกตัวออกจากนาํ้ ยางท้ัง 3 ประเภทใชทําผิวทางไดอยางดี ข้ึนกับวาจะเปนผิวทางชนดิ ใดและสภาพการใชง าน เปนอยางไร เชนผิวทางแอสฟลตคอนกรีตที่เปนมวลผสมรอนระหวางยาง AC กับหินขนาดตางๆ รวมท้ังหินฝุนท่ีตองผานขบวนการเผาหินใหรอนปราศจากความชื้น แลวผสมกับยาง AC ท่ีทําใหรอน และเหลวพอท่ีจะกวนผสมใหเ ขากันและเคลือบผวิ เม็ดหินอยางทั่วถึง กอนนําไปปูลาดบนพื้นทางและ บดทับใหแนนเปนผิวทาง เม่ือกอนน้ีการทําผิวทางใชยาง AC 80/100 pen. ในการผสมแตปรากฏวา ในฤดูรอนอากาศบานเรารอนมาก ผิวทางท่ีปูไวดวยยางที่ออนมีความออนน่ิม ผูหญิงท่ีใสสนสูงปลาย เรียวเล็กเมื่อเดินขามถนนผิวทางชนิดนี้ สนรองเทาจะจมลงจนถอนไมข้ึน และถนนจะเกิดรองลอได งายและเรว็ จึงไดเ ปลย่ี นขอ กาํ หนดใหใ ชยางท่ีแขง็ มากข้ึนโดยใชย าง AC 60/70 pen. ในปจจุบัน พวกยางคัทแบกใชผสมกับหินทําเปน pre-mix ไดสะดวก เพราะไมตองใชความ รอนเผาหินหรือตมยางมาก เพียงใหความชืน้ ทีผ่ ิวหมดไป และยางเหลวพอทจ่ี ะกวนผสมใหเขา เปน เน้ือ เดียวกันก็พอ บางครั้งอากาศรอนมาก หินแหง และยางเหลวพอก็ไมตองใชความรอนเลย เหมาะกับ งานซอมผิวทางหรือหลมุ บอ สวนยางอีมลั ช่ันน้ัน สะดวกมากท้ังงานกอสรางและงานซอมบํารุงผิวทาง เพราะไมตองกังวลกับสภาพอากาศ แมจะมีฝนตกพรําๆ หินเปยกบางก็ยังทํางานผิวทางได ไมตองใช ความรอ นใดๆท้ังสิน้ 2.2.2 ความรูเกย่ี วกับวสั ดุมวลรวม 2.2.2.1 ประเภทของมวลรวม สามารถแบงมวลรวมตามแหลง กาํ เนิดออกเปน 2 กลุม คือ 1. มวลรวมท่ีเกิดจากธรรมชาติ (Natural Mineral Aggregate) เกิดจากขบวนการกัดกรอ น และเสียดสีตามธรรมชาติ 2. มวลรวมท่ีมนุษยทําขึ้น (Artificial Aggregate) เชนมวลรวมเบาบางประเภทที่ไดจากการ เผาดนิ เปน ตน ถาแบง มวลรวมตามความหนาแนนหรือหนว ยนาํ้ หนกั จะแบงได 3 กลุม คอื 1. มวลรวมเบา (Lightweight Aggregate) มีความหนาแนนตง้ั แต 300-1,100 กก. / ลบ.ม. 2. มวลรวมปกติ (Normal Welght Aggregate) มีความหนาแนน ต้งั แต 2,400-3,000 กก. / ลบ.ม. 3. มวลรวมหนัก (Heavywelght Aggregate) มคี วามหนาแนนมากกวา 4,000 กก. / ลบ.ม. ถา แบงมวลรวมตามขนาดเราสามารถแบงไดเปน 2 กลมุ คอื 1. วัสดุมวลหยาบ (Coarse Aggregate) 2. วัสดุมวลรวมละเอยี ด (Fine Aggregate)

7

โดยวัสดมุ วลรวมสําหรบั ใชทําแอสฟลตคอนกรีต (Asphalt Concrete) ประกอบดว ย 1. วัสดุมวลหยาบ (Coarse Aggregate) หมายถึง วัสดุมวลรวมท่ีคางบนตะแกรงรอน

เบอร 4 ข้ึนไป โดยอาจมีวัสดุมวลรวมละเอียดปนอยูบาง ปกติจะใชวัสดุมวลรวมหยาบตั้งแต 2 ขนาด ข้ึนไปผสมกันเชนใชห ินขนาดโตสุด19.0 มิลลเิ มตร ผสมกับหนิ ขนาดโตสดุ 9.5 มลิ ลิเมตร เปน ตน เพ่ือ ลดการแยกตัว (Segregation) ไดแก หินยอย (Crushed Rock) หรือวัสดุอื่นใดที่กรมทางหลวงชนบท อนุมตั ใิ หใ ชไ ด ซึ่งมีคุณสมบัตติ ามทกี่ ําหนด

2. วัสดุมวลรวมละเอียด (Fine Aggregate) หมายถึง วัสดุมวลรวมที่มีขนาดผานตะแกรง เบอร 4 ลงมา ไดแก วัสดุหินฝุน ทราย หรือวัสดุอ่ืนใด ที่กรมทางหลวงชนบทอนุมัติใหใชได ซ่ึงมี คณุ สมบตั ิตามที่กาํ หนด

3. วัสดุผสมแทรก (Mineral Filler) หมายถึง วัสดุมวลรวมที่มีขนาดผานตะแกรงเบอร 30 ลงมา วัสดุมวลรวมทีมีความละเอียดสําหรับใชผสมกับวัสดุมวลรวมคละเพื่อปรับปรุงคุณลักษณะ ใน กรณีท่ีเม่ือผสมวัสดุมวลรวมหยาบและวัสดุมวลรวมละเอียดเปนวัสดุมวลรวมคละแลวสวนละเอียดมี ไมเพียงพอ วัสดุผสมแทรกไดแก ฝุนหิน (Stone Dust) ปูนซีเมนต (Portland Cement) ปูนขาว (Hydrate Lime) หรือวัสดุพวก Non-Plastic ท่ีกรมทางหลวงชนบทอนุมัติใหใชได ซึ่งมีคุณสมบัติ ตามทกี่ าํ หนด 2.2.2.2 คุณสมบตั ขิ องวสั ดมุ วลรวม

คุณสมบัติของวัสดุมวลรวม (Aggregate Properties) การเลือกใชวัสดุมวลรวมเพื่อใชเปน สวนผสมในแอสฟลตคอนกรีตข้ึนกับวัสดุท่ีหาไดราคาปริมาณของวัสดุและชนิดของการกอสรางวัสดุ มวลรวมท่เี หมาะสมสาํ หรับทําเปนสว นผสมในแอสฟลตคอนกรตี พิจารณาจากองคป ระกอบตอไปนี้

1. ขนาตและการกระจายตวั (Size and Gradation) ขนาดใหญสุด (Maximum Size) ของ วัสดุมวลรวมและการกระจายตัว (Gradation) ถูกควบคุมโดยขอกําหนด (Specification) ขนาดใหญ สุดสัมพันธกับความหนานอ ยสุดท่ีปแู อสฟลตค อนกรีต

2. ความสะอาด (Cleanliness) วัสดุมวลรวมบางอยางมีสิ่งแปลกปลอมปนอยูหรือสารที่ไม พึงประสงค (Deleterious Substance) ทําใหเปนที่ไมตองการสําหรับใชเปนสวนผสมในแอสฟลต คอนกรีต เชนวัชพืชหินท่ีกะเทาะเปนแผน (Shale) อนุภาคที่ออน (Soft Particles) กอนดินเหนียว (Clay Lumps) และฝุนละเอียดท่ีเคลือบบนผิววัสดุมวลรวมความสะอาดของวัสดุมวลรวมบางคร้ังหา โดยตาของผูควบคุมงานโดยปกติใชการวิเคราะหดวยตะแกรงแบบลาง (Washed-Sieve) การหาดิน เหนียวท่ีปนอยูในวัสดุมวลรวมละเอียดถูกพัฒนาโดย California Division of Highways คือการ ทดสอบ Sand Equivalent SE

3. ความแข็งเหนียว (Toughness) วัสดุมวลรวมจะถูกบดยอยและขัดสีระหวางการผลิต การปและการบดอัดในการกอสรางเปนถนนแบบแอสฟลตคอนกรีตวัสดุมวลรวมจะถูกขัดสีภายได น้ําหนักของการจราจรดังนั้นวัสดุมวลรวมตองสามารถตานทานการบดยอยการเปลี่ยนแปลงการ กระจายตัว (Degradation และแตกหัก (Disintegation) วัสดุมวลรวมท่ีใชทําผิวถนนแบบแอสฟลต คอนกรตี จงึ ตองการวสั ดทุ แ่ี ขง็ เหนยี วกวาวสั ดชุ ้ันทตี่ ่าํ กวา

4. เนื้อผิว (Surface Texture) เน้ือผิวของวัสดุมวลรวมมีอิทธิพลตอความสามารถในการปู และการบดอัดความแข็งแรงของแอสฟลตคอนกรีตวัสดุมาลรวมที่มีผิวขรุขระเหมือนกระดาษทรายมี แนวโนม เพมิ่ ความแข็งแรงของแอสฟลตคอนกรีตและตองการปริมาณแอสฟลตที่มากกวา วัสดุมวลรวม

8

ที่มีผิวเรียบวัสดุมวลรวมท่ีมีผิวเรียบแอสฟลตสามารถเคลือบเปนฟลมไดงายกวา แตการยึดเกาะตํ่า กวาวสั ดุมวลรวมทมี่ ผี วิ ขรขุ ระ

5. รูปรางของเม็ดวัสดุ (Particle Shape) เหมือนเนื้อผิวของวัสดุมวลรวมคือมีอิทธิพลตอ ความงา ยในการปแู ละการบดอดั และความแข็งแรงของวัสดุรูปรา งบิดเบี้ยวหรือเปนเหลย่ี มมุมของเม็ด วัสดุเชนหินและกรวดบดยอยบางชนิดมีแนวโนมประสานขัดเหลี่ยมกันเม่ือบดอัดและดานทานการ เคล่ือนตัวการประสานขัดเหลี่ยมท่ีดีที่สุดโดยปกติเกิดกับวัสดุที่มีเหล่ียมแหลมคมและเปนลูกบาศก และมีการประสานขัดเหลี่ยมนอยเมื่อวัสดุมีรูปรางกลมมนรูปรางเมตวัสดุท่ีกลมมนโดยมากเปนกรวด และทรายธรรมชาติที่เกิดจากพัดพาของนํ้าเม่ือนํามาใชงานแอสฟลตคอนกรีตท่ีตองการความแนนสูง จํานวนของแอสฟลตในสวนผสมโดยปกติมากสวนผสมแอสฟลตคอนกรีตจํานวนมากมีทั้งวัสดุท่ีมี รูปรางเปนเหลี่ยมมุมและกลมวัสดุมวลรวมหยาบโดยปกติไดจากการบดยอยวสั ดุมวลรามละเอียดโดย ปกตไิ ดจากทรายธรรมชาติซงึ่ มีรูปรางกลม

6. การดูดซึมของวัสดุมวลรวม (Absorption) การดูดซึมของวัสดุมวลรวมโดยปกติถูกแสดง โดยจํานวนการดูดซึมนํ้าเม่ือแชวัสดุมวลรวมไวในน้ําวัสดุที่มีรูพรุนโดยปกติจะดูดซึมแอสฟลตซีเมนต ดวยซึง่ มแี นวโนมท่ีทําใหส ว นผสมแหงหรือมีแรงยึดเกาะนอยแอสฟล ตจาํ นวนมากจะถูกใชในสวนผสม เพ่อื ชดเชยแอสฟลตท ี่ถูกดูดซึมเขา ไปในวัสดุมวลรวมโดยปกตวิ ัสดุที่มีรูพรุนสงู จะไมไดรับความนิยมใน การใชงานเวน แตตองการคุณภาพอนื่ ๆ อเนกเปย ลดั ดา ไดส รปุ จากศึกษาไวว าวสั ดุมวลรวมท่ีมีการดูด ซึมท่ีเหมาะสม ไดแก วัสดุมวลรวมท่ีมีคาการดูดซึมนํ้า (Water Absorption) ประมาณรอยละ 0.5 การดูดซึมดังกลาวจะชวยใหเกิดการยึดเกาะระหวางเม็ดวัสตุกับแอสฟลตดีขึ้นถาการดูดซึมสูงเกินไป จะไมชวยเพ่ิมคุณภาพของสวนผสม แตจะดูดซึมแอสฟลตมากเกินไปวัสดุมวลรวมที่มีความพรุนตํ่า เกินไปจะดูดซึมไดเฉพาะน้ํามันที่ผสมอยูในแอสฟลตทําใหเหลือเฉพาะเน้ือแอสฟลตเคลือบอยูบนผิว ของวัสดุมวลรวมอาจทําใหการยึดเกาะไมดีพอ Hinrichsen และ Heggen กลาววาถาไมรูคาการดูด ซึมแอสฟลตของวัสดุมวลรวมโดยปกติจะมีคาประมาณรอยละ 50-80 ของการดูดซึมนํ้าของวัสดุมวล รวม แต Scherocman และ Wood ระบุวาคาการดูดซึมแอสฟลตโดยปกติประมาณรอยละ 40-60 ของการดูดซึมนาํ้

7. การเขากันไดกับแอสฟลตของวัสดุมวลรวม (Ainity for Asphalt) การหลุดลอกของฟลม แอสฟลตจากวัสดุมวลรวมเนื่องจากนํ้าอาจทําใหวัสดุไมเหมาะสมสําหรับใชทําเปนสวนผสมแอสฟลต คอนกรตี จากพฤตกิ รรมน้ีเราแบงวัสดุมวลรวมเปน 2 ประเภท

- วัสดุมวลรวมที่ชอบน้ํา (Hydrophilic) ซ่ึงวัสดุประเภทน้ีจะเปยกหรือยึดเกาะกับนํ้าได ดีกวาแอสฟลตวัสดุพวกน้ีจะมีประจุท่ีผิวเปนลบ (Electronegative) ซ่ึง ไดแก วัสดุประเภท Siliceous ไดแ ก Quartzite และหนิ แกรนิตบางพวก

- วสั ดุมวลรวมท่ีเกลียดนํา้ (Hydrophobic) ซึง่ วสั ดุประเภทนีจ้ ะเปยกหรือยึดเกาะของเหลว ประเภทนํ้ามันไดดีกวาน้ําวัสดุพวกนี้จะมีประจุท่ีผิวเปนบวก (Electropositive) ซึ่ง ไดแก วัสดุ ประเภท Calcareous ไดแก หินปูน Dolorite และ Taprock ดังนั้นควรหลีกเล่ียงวัสดุมวลรวมที่ทํา ใหเ กิดการหลดุ ลอกไดง า ย

9

2.3 การออกแบบสวนผสมแอสฟลตคอนกรตี โดยวธิ ีมารแ ชลล คุณสมบัติของแอสฟลตคอนกรีตนอกจากนี้จะข้ึนอยูกับคุณสมบัติของวัสดุท่ีนํามาใชแลว ยัง

ข้ึนอยูกับอัตราสวนผสมของวัสดุท่ีใชดวย ดังนั้น การออกแบบเพื่อหาอัตราสวนที่เหมาะสมจึงจําเปน ท้ังน้ีเพ่ือใหไดแอสฟลตคอนกรีตที่มีคุณสมบัติตามที่ตองการและถูกตองตามขอกําหนดของงานดวย ขน้ั ตอนท่ตี องดาํ เนนิ การต้ังแตเ ร่ิมตนจนกระท่งั ไดส ูตรสวนผสมสาํ หรบั ทํางาน (Job Mix Formula) มี ดงั ตอไปน้ี 2.3.1 การเลอื กแหลงวัสดุ

กอนอื่นตองศึกษารายละเอียดของแบบกอสรางและขอกําหนดอยางละเอียด รวมท้ังปริมาณ จราจร ภูมปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ ฯลฯ เพื่อนาํ มาใชเ ปน ขอ มูลสาํ หรับพิจารณาวา ควรใชวัสดชุ นิดใด จาก แหลง ใด โดยคํานงึ ถงึ ความสะดวก ประหยดั กําลงั การผลิต ตลอดจนผลการใชง านอดีตของวสั ดุแหลง น้ัน 2.3.2 การเก็บตัวอยางแอสฟลตซีเมนต 2.3.2.1 ตวั อยา งสวนแรก

ใชส ําหรบั ทดสอบเพือ่ ตรวจสอบวา มคี ุณสมบัตถิ กู ตอ งตามขอ กาํ หนดหรือไม 2.3.2.2 ตวั อยา งสวนทส่ี อง

ใชสําหรับทดสอบคุณสมบัติซึ่งจําเปนตองทราบ สําหรับใชเปนขอมูลในการออกแบบ คณุ สมบตั เิ หลา นี้ ไดแ ก

- ความถว งจาํ เพาะ ตามวธิ ีการทดสอบ ASTM D 70 - กราฟแสดงความสมั พนั ธระหวา งความหนดื จลน (ASTM D 2170) กบั อุณหภูมิ 2.3.2.3 ตัวอยา งสวนทส่ี าม เก็บไวเตรยี มกอ นตวั อยางแอสฟลตค อนกรีต 2.3.3 การเก็บตัวอยางวสั ดุมวลรวม 2.3.3.1 วัสดผุ สมแทรก - ความถวงจาํ เพาะ ตามวิธกี ารทดสอบ ASTM D 546 - ทดสอบเพอื่ ตรวจสอบคณุ สมบตั ิตามท่ีระบุไวใ นขอกาํ หนด - ทดสอบหาขนาดคละ ตามวิธีการทดสอบ ASTM D 854 หรือ C 188 - ตัวอยางท่ีเหลือเก็บไวเตรียมกอนตัวอยางแอสฟลตคอนกรีต ตามวิธีการทดสอบ ASTM D 1559 2.3.3.2 วัสดุมวลรวมจากยุงหนิ เยน็ หรือจากกอง (Stockpile) หรอื จากแหลง ผลิต - ทดสอบเพื่อตรวจสอบคุณสมบตั ติ ามทีร่ ะบุไวใ นขอกาํ หนด - ทดสอบหาขนาดคละ ตามวธิ ีการทดสอบ ASTM C 117 หรือ C 136 - ทดสอบหาดชั นีความแบนและดชั นีความยาว ตามวิธีการทดสอบ BS 812

10

- หาอัตราสวนผสมซ่ึงทําใหขนาดคละรวม (Combined Gradation) ตรงตามขอกําหนด กรณีทใ่ี ชวัสดมุ วลรวมแทรกใหนาํ มาคิดดวย

- ปอนวัสดุมวลรวม (ไมรวมวัสดุผสมแทรก) จากยุงหินเยน็ (Cold Bins) ตามอัตราสวนผสม ท่ไี ดออกแบบ เขาหมอ เผา (Dryer) เพ่อื เกบ็ ตวั อยางจากยงุ หินรอ น(Hot Bins)

2.3.3.3 วสั ดมุ วลรวมจากยงุ หนิ รอ น - ทดสอบหาขนาดคละ ตามวธิ ีการทดสอบ ASTM C 117 หรือ C 136 - ทดสอบหาดชั นคี วามแบนและดัชนคี วามยาว ตามวิธีการทดสอบ BS 812 - ทดสอบหาคา ความถวงจาํ เพาะแบบ Bulk (Oven-Dry Basis) - วัสดมุ วลรวมหยาบ ตามวธิ ีการทดสอบ ASTM C 127 - วัสดุมวลรวมละเอียด ตามวิธีการทดสอบ ASTM C 128 - หาอัตราสวนผสมซึ่งทําใหไดขนาดคละรวม (Combined Gradation)ใกลเคียงกับขนาด

คละรวมของวสั ดุจากยงุ หนิ เยน็ มากทส่ี ดุ และอยใู นขอกําหนดกรณีทใี่ ชวัสดผุ สมแทรกใหน ํามาคิดดวย - จากผลทดสอบ และอัตราสวนผสม คํานวณหาดัชนีความแบนและดัชนีความยาวของวัสดุ

มวลรวมที่ผสมกันแลว ซึ่งจะตองใชไ ดตามขอ กาํ หนด - ผสมทดลองเพ่ือทํากอนตัวอยางแอสฟลตคอนกรีตขนาดเสนผานศูนยกลาง 101.6

มิลลิเมตร (4 น้ิว) 1 สูง 63.5 * 1.3 มิลลิเมตร (2.5 * 0.05 น้ิว) ตามวิธีการทดสอบ ASTM D 1559 โดย

2.3.4 ใชอตั ราสวนผสมของวัสดุมวลรวม

2.3.4.1 การใชป รมิ าณแอสฟล ต ใชปริมาณแอสฟลตผสมอยางนอย 5 คาโดยเพ่ิมหรือลดคร้ังละ 0.5 เปอรเซ็นตโดยมวลของ

วสั ดุมวลรวมแตล ะคา ของปริมาณแอสฟล ตท่ใี ชผ สมใหท าํ ตัวอยา งไมน อยกวา 3 กอ น 2.3.4.2 นําตัวอยางแอสฟลตค อนกรีตทกุ กอ นมาทดสอบดงั น้ี

- ทดสอบหาความแนน (Density) ตามวิธีการทดสอบ ASTM D 2728 หรือ 1188 แลวหา คา เฉลย่ี (คา ท่ีผิดปกติไมน ํามาเฉล่ียดวย)

- ทดสอบหาความเสถยี รภาพ (Stability) และคาการไหล (Flow) ตามวิธกี ารทดสอบ ASTM D 1559 แลว หาคา เฉลี่ย (คาท่ผี ิดปกตไิ มนํามาเฉล่ยี ดวย)

- ทดสอบหา Theoretical Maxi กานา Specific Gravity ของแอสฟลตค อนกรีตตามวิธีการ ทดสอบ ASTM D 2041

- คาํ นวณหาคาตา ง ๆ จากสูตรตอ ไปน้ี

G = 100 (3-1) (3-2) ag �GPFF+GP11+GP22+GP33+GP44� (100−b) GV = �1G0m0−Gbac�

11

x = 100 (GV−Gag) Gac (3-3) �GV×Gag� (3-4) 100a b = (100+a)

โดยท่ี PF = ปริมาณวัสดุผสมแทรก เปนเปอรเซ็นตโ ดยมวลของวสั ดมุ วลรวมท้งั หมด P1 = ปรมิ าณวัสดุมวลรวมจาก Hot Bin 1 เปน เปอรเ ซ็นตโ ดยมวลของวสั ดมุ วลรวมทง้ั หมด P2 = ปริมาณวสั ดุมวลรวมจาก Hot Bin 2 เปนเปอรเซ็นตโ ดยมวลของวัสดมุ วลรวมทง้ั หมด P3 = ปริมาณวัสดมุ วลรวมจาก Hot Bin 3 เปน เปอรเ ซ็นตโดยมวลของวสั ดมุ วลรวมท้ังหมด P4 = ปรมิ าณวัสดุมวลรวมจาก Hot Bin 4 เปนเปอรเ ซ็นตโ ดยมวลของวัสดมุ วลรวมทงั้ หมด Gag = ความถวงจําเพาะของวัสดุมวลรวมท่ีผสมกันแลว (Average Specific Gravity

Blend) Gm = Theoretical Maximum Specific Gravity GV = Virtual Specific Gravity GF = ความถว งจําเพาะของวัสดุผสมแทรก G1 = ความถว งจําเพาะของวสั ดมุ วลรวมจาก Hot Bin 1 G2 = ความถวงจาํ เพาะของวัสดุมวลรวมจาก Hot Bin 2 G3 = ความถว งจําเพาะของวสั ดุมวลรวมจาก Hot Bin 3 G4 = ความถวงจําเพาะของวัสดมุ วลรวมจาก Hot Bin 4 G1 = ความถว งจาํ เพาะของวสั ดมุ วลรวมจาก Hot Bin 1 b = ปริมาณแอสฟลต เปนเปอรเซ็นตโดยมวลของแอสฟลตคอนกรีต (% Asphalt by

Mass of Mix) x = ปริมาณแอสฟลตที่ถูกดูดซึมโดยวัสดุมวลรวม เปนเปอรเซ็นตโดยมวลของแอสฟลต

คอนกรีต (Asphalt Lost) c = ปริมาณแอสฟลตประสิทธิผล (Effective Asphalt) เปนเปอรเซ็นตโดยมวลของ

แอสฟล ตค อนกรีต (% Effective Asphalt cement by Mass of Mix) j = ปริมาณแอสฟลตประสิทธิผล (Effective Asphalt) เปนเปอรเซ็นตโดยปริมาตรของ

แอสฟลตค อนกรีต (% Volume of Effective Asphalt cement by Volume of Mix) i = ความหนาแนน (Density) ของแอสฟลตค อนกรตี , กรัมตอมิลลลิ ติ ร k = ปริมาณของวัสดุมวลรวม เปนเปอรเซ็นตโดยปริมาตรของแอสฟลตคอนกรีต

(%Volume of Aggregate by Volume of Mix ) l = ปริมาณชองวางระหวา งวสั ดุมวลรวม (VMA) เปนเปอรเซ็นตโดยปรมิ าตรของแอสฟล ต

คอนกรีต (% Voids in the Mineral Aggregate by Volume of Mix)

12

m = ปริมาณชองวางของอากาศ (Air Voids) เปนเปอรเซ็นตโดยปริมาตรของแอสฟลต คอนกรีต (% Air Voids by Volume of Mix)

n = ปริมาณชองวางในวัสดุมวลรวมที่ถูกแทนท่ีดวยแอสฟลต (% Voids Filled with Bitumen by Voids in Mineral Aggregate)

- เลือกปริมาณแอสฟลตท่ีเหมาะสมที่สุด เพ่ือใชเปนสูตรสวนผสมสําหรับทํางาน (Job Mix Formula)

- สตู รสว นผสมสําหรับทํางานควรมรี ายละเอยี ดตา ง ๆ ดังนี้ 1. ชนิด แหลง และคุณสมบัตขิ องวัสดุทุกชนดิ ทใ่ี ช 2. อัตราสวนผสมของวัสดุมวลรวมท้ังยุงหินเย็นและยุงหินรอน กรณีท่ีมีวัสดุผสมแทรกดวย ใหร ะบุไวดวย 3. ขนาดคละรวม (Combined Gradation) ของวสั ดมุ วลรวม 4. ปรมิ าณแอสฟลตทใ่ี ช 5. สวนคลาดเคลือ่ นทย่ี อมให (Allowable Tolerance) 6. คุณสมบัติของแอสฟล ตค อนกรีตเม่ือผสมตามท่ีออกแบบไวน ้ี 7. อณุ หภูมติ าง ๆ ไดแก อุณหภมู ิวัสดุมวลรวมและแอสฟลตกอ นผสมกันอุณหภูมเิ มื่อผสม เสร็จอุณหภูมขิ ณะปู และอุณหภูมขิ ณะบดทับ 8. เงื่อนไขที่ใชอ อกแบบ เชน ออกแบบโดยวธิ ีทาํ 50 ถึง 75 ครงั้ เปน ตน 9. กรณีผลการออกแบบไดแอสฟลตคอนกรีตท่ีมีคุณสมบัติไมเปนไปตามขอกําหนด ให เปลยี่ นอตั ราสวนผสมของมวลรวมและทดสอบใหม 10. เงอื่ นไขท่ใี ชในการออกแบบ (Design Criteria) 11. เกณฑความคลาดเคล่ือนท่ียอมให (Allowable) สําหรับสูตรสวนผสมเฉพาะงาน ดัง ตารางที่ 2-2 (ตามขอกําหนดของกรมทางหลวง) 12. ขนาดคละของวัสดุมวลรวมและปรมิ าณแอสฟล ตซ ีเมนตท ่ีใช 13. ขอเสนอแนะขีดจาํ กดั คาตํ่าสดุ ของชองวา งระหวางวัสดุมวลรวมในแอสฟลตคอนกรีต ซึ่ง จะใหความหนาท่ีนอยท่ีสุดของชั้นแอสฟลตท่ีเคลือบวัสดุมวลรวมอยูไดโดยไมทําใหมีชองวางอากาศ นอยเกินไป ดงั ตารางท่ี 2-1

ตารางท่ี 2-1 ขอ กาํ หนดในการออกแบบแอสฟลตคอนกรตี Course Wearing Wearing Binder Binder Description Course Course Course Course Shoulder 25 mm. Course 9.5 mm. 12.5 mm. 19 mm. Blow 75 75 75 75 50 8006 8006 8006 7117 7117 Stability,N (lb) (1800) (1800) (1800) (1600) (1600) 8-16 8-16 Flow0.25 8-16 8-16 8-16 3-6 3-5 mm.(0.01 in.) Percent Air Voids 3-5 3-5 3-6

13

Percent Voids in Mineral Aggreggte 15 14 13 12 14 (VMA),min Stability/Flow,Min N/0.25mm. 712 712 712 645 645 (lb/0.01 in) (160) (160) (160) (145) (145)

Percent Strength 75 75 75 75 75 Index, Min

ตารางท่ี 2-2 เกณฑค วามคลาดเคลื่อนท่ยี อมใหส าํ หรับสตู รผสมเฉพาะงาน เปอรเ ซ็นต ผานตะแกรงขนาด ±5 ±4 2.36 มลิ ลเิ มตร (เบอร8 ) และขนาดใหญก วา ±3 1.18 มิลลิเมตร (เบอร1 6) 0.600 มิลลเิ มตร (เบอร3 0) 0.300 มลิ ลเิ มตร (เบอร50) ±2 0.150 มลิ ลเิ มตร (เบอร1 00) ±0.3 จ.075 มิลลเิ มตร (เบอร200) ปรมิ าณแอสฟลต

ตารางท่ี 2-3 ขนาดคละของขนาดมวลรวมและปริมาณแอสฟลตซีเมนตท่ีใช ขนาดท่ีใช มิลลิเมตร 9.5 12.5 19.0 25.0 เรยี ก (นวิ้ ) (3/8) (1/2) (3/4) (1) Wearing Wearing Binder Binder สาํ หรับช้ันทาง Course Course Course Course

ความหนา (มลิ ลเิ มตร) 25-35 40-70 40-80 70-100 ขนาดตระแกรง มลิ ลิเมตร (นวิ้ ) ปรมิ าณผา นตะแกรง เปอรเซ็นตโดยมวล

37.5 (1 ½) 100 25.0 (1) 100 90-100 19.0 (3/4) 100 90-100 - 12.5 (1/2) 100 80-100 - 56-80 9.5 (3/8) 90-100 - 56-80 - 4.75 (เบอร 4) 55-85 44-74 35-65 29-59 2.36 (เบอร 8) 32-67 28-58 23-49 19-45 1.18 (เบอร 16) - - - - 0.600 (เบอร 30) - - - - 0.300 (เบอร 50) 7-23 5-21 5-19 5-17 0.150 (เบอร 100) - - - - 0.075 (เบอร 200) 2-10 2-10 2-8 1-7

14

ปรมิ าณแอสฟล ตซเี มนต เปอรเซ็นตโ ดยมวลของวสั ดุ 4.0-8.0 3.0-7.0 3.0-6.5 3.0-6.0

มวลรวม

ตารางที่ 2-4 คาตํ่าสุดของเปอรเซ็นตชองวางระหวางวัสดุมวลรวม (Minimum Percnt Voids in Mineral Aggregate) Light Traffic Medium Traffic Heavy Traffic Marshall Method SurFace Base SurFace Base SurFace Base Mix Critcria’ Min Max Min Max Min Max

Cbmpaction,number 35 50 75 of blows each end of specimen

Stability , N 3336 - 5338 - 8006 - (lb) (750) - (1200) - (1800) - Flow, 0.25 mm (0.01in) 8 18 8 16 8 14 Percent Air Voids 3 5 3 5 3 5 Percent Voids Filled With Asphalt (VFA) 70 80 65 78 65 75

Minimum VMA (%) (varies with air voids and aggregate size) Nominal Maximium Particle Size1,2 Design Air Voids Percent3 Mm In. 3.0 4.0 5.0 1.18 No. 16 21.5 22.5 23.5 2.36 No. 8 19.0 20.0 21.0 4.75 No.4 16.0 17.0 18.0 9.5 3/8 14.0 15.0 16.0 12.5 1/2 13.0 14.0 15.0 19.0 3/4 12.0 13.0 14.0 25.0 1.0 11.0 12.0 13.0 37.5 1.5 10.0 11.0 12.0 50 2.0 9.5 10.5 11.5 63 2.5 9.0 10.0 11.0

โดยพ้นื ฐานแลวอาจจะกลาวไดว า วธิ ที ดสอบนี้เปนชนดิ หนง่ึ ของการทดสอบแบบ Unconfi ned Compression ซึ่งในสภาพความเปนจริงของผิวจราจรจะถูกกดทับโดยนํ้าหนักยานพาหนะชั้น พื้นทาง และผิวจราจรรอบขาง ดังนั้นการทดสอบโดยวิธีนี้จึงมีความสัมพันธกับการเสียรูปของผิว

15

จราจรเพียงระดับหน่ึงเทาน้ัน ผลทดสอบโดยท่ัวไปพบวาการเพิ่มปริมาณยางจะมีผลทําใหคุณสมบัติ ในการไหลเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ในขณะที่คาเสถียรภาพจะเพ่ิมข้ึนเชนกันจนกระท่ังปริมาณยางเพ่ิมข้ึนถึง ขีดจาํ กัดระดับหนง่ึ เสถียรภาพจะลดลง ดังน้ันในการออกแบบสวนผสมของบางองคกร (เชน Asphalt Institute) จะมีการกําหนดคาเสถียรภาพตํ่าสุด และกําหนดคาการไหลเปนชวงโดยแตกตางกันตาม วัตถุประสงคการใชงาน (เชน ทําถนน หรือสนามบิน เปนตน) นอกเหนือจากปริมาณยางท่ีใชใน สวนผสมแลว คาเสถียรภาพและ การไหลของแอสฟลตคอนกรีตยังข้ึนอยูกับชนิดของยาง ชั้น คุณภาพ (Grade) ของมวลรวม รูปราง (Shape) ของมวลรวม คุณสมบัติทางธรณีวิทยาของมวลรวม (สาํ คัญทส่ี ุดคอื ความพรุน Porosity) พลังงานในการบดทับ และอน่ื ๆ

สาํ หรับการนําผลการทดสอบมาใชก ับงานจรงิ ไดแ ก การเลือกสดั สวน หรอื การคละขนาด ของวัสดุมวลรวมและการหาปริมาณยางแอสฟลตท่ีเหมาะสม (Optimum asphalt cement content) ท้ั ง น้ี Department of Transportation and Development (DOTD) แ ห ง ม ล รั ฐ Louisiana ไดแนะนําวิธีการเลือกปริมาณยางแอสฟลตท่ีเหมาะสม โดยใหพิจารณาเลือกปริมาณ แอสฟลตที่ใหรอยละของชองวางหรือโพรงอากาศ (% Air Void) ของคากึ่งกลางที่กําหนด (เชน หาก กาํ หนดไววา %Air Voids จะตอ งอยูร ะหวางรอยละ 3-5 ก็ควรเลือกที่รอยละ 4) แลว พจิ ารณาคาของ ตัวแปรอ่ืน ๆ (Stability, Flow, VMA , VFB ) ณ ปริมาณยางเดียวกัน หากอยูในชวงตามเกณฑ กําหนดไวถือวาใชได หากไมไดตามที่กําหนดจะตองเลือกปริมาณชองวางหรือโพรงอากาศ (%Air voids) ที่ใกลเคียงกัน แลวพิจารณาจนกระท่ังคาของตัวแปรอ่ืน ๆ อยูในชวงท่ีเกณฑกําหนด (โดย อา งอิงจากหลกั เกณฑในการออกแบบสวนผสมทแี่ นะนําโดย The Asphalt Institute)

ภาพท่ี 2.2 ลักษณะความสัมพันธระหวางคุณสมบัติตาง ๆ ท่ีมีผลตอปริมาณแอสฟลตซีเมนต โดย วธิ ีการทดสอบแบบ Marshall (อางอิงจาก The Asphalt Institute)

16

ภาพที่ 2.3 สว นตาง ๆ ของแอสฟลตแสดงโดย (a) มวล (b) ปรมิ าตร

เมอื่ a = ปรมิ าณแอสฟล ตท่ีใชผสม,เปอรเซน็ ตโดยมวลของวัสดมุ วลรวม x = ปริมาณแอสฟลตท ่ีถูกดูดซึมโดยวสั ดมุ วลรวม,เปอรเ ซ็นตโ ดยมวลของวสั ดมุ วลรวม i = ความหนาแนนของแอสฟล ตคอนกรตี , กรัมตอมลิ ลลิ ิตร Gac = ความถว งจําเพาะของแอสฟลตซีเมนต Gag = ความถวงจาํ เพาะของวัสดุมวลรวม

จากภาพท่ี 2.3 (a) เทียบอตั ราสว นดา นซา ยมอื กบั ดานขวามือของภาพ จะได

b = a ∴ b = 100a 100 (100+a) (100+a) x y (100−b) 100 = (100−b) ∴ b = 100

c=b−y ∴ c = b − x(100−b) 100

จากภาพท่ี 2.3 (b) เทยี บอตั ราสวนดา นซา ยมือกับดา นขวามือของภาพ จะได

j = �Gcac� ∴j= c×i 100 �10i 0� Gac

\=k �(10G0a−cb)� ∴ k = (100−b) �10i 0� Gac 100

17

เมอ่ื กําหนดให \= = 100 − \= = − 100 \=

2.4 มาตรฐานงานผิวจราจรแบบแอสฟล ตค อนกรีต แอสฟลตคอนกรตี (Asphalt Concrete) หมายถงึ วสั ดทุ ี่ไดจ ากการผสมรอนระหวา งมวลรวม

(Aggregate) กับแอสฟลตซีเมนต (Asphalt Cement) ที่โรงงานผสมแอสฟลตคอนกรีต (Asphalt Concrete Mixing Plant) โดยการควบคุมอัตราสวนผสมและอุณหภูมิตามท่ีกําหนดมีวัตถุประสงค เพ่ือใชในงานกอสรางงานบูรณะและบํารุงทางโดยการปูหรือเกลีย่ แตงและบดทับบนช้ันทางใด ๆ ที่ได เตรียมไวและผานการตรวจสอบแลวใหถูกตองตามแนวระดับความลาดขนาดตลอดจนรูปตัดตามท่ีได แสดงไวในแบบ

2.4.1 มาตรฐานอางถงึ

2.4.1.1 มาตรฐานกรมโยธาธิการและผงั เมอื งมยผ. 2104-57 มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมืองมยผ. 2104-57: มาตรฐานวัสดุมวลรวมสําหรับงาน

แอสฟลตคอนกรีต (Aggregates for Asphalt Concrete) 2.4.1.2 มาตรฐานกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื งมยผ. 2122-53

มาตรฐานกรมโยธาธิการและผงั เมืองมยผ. 2122-53: มาตรฐานงานแทคโคท (Tack Coat) 2.4.1.3 มาตรฐานกรมโยธาธิการและผงั เมอื งมยผ. 2217-59

มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมืองมยผ. 2217-59: มาตรฐานการทดสอบแอสฟลต คอนกรีตโดยวิธมี ารแ ชลล (Marshall) 2.4.1.4 มาตรฐานผลิตภณั ฑอ ุตสาหกรรมมอก. 551

มาตรฐานผลิตภณั ฑอตุ สาหกรรมมอก. 551: แอสฟลตซเี มนตส าํ หรับงานทาง

2.5 การใชโ ปรแกรม PowerPoint 2019 PowerPoint เปนหน่ึงในโปรแกรมในชุด Microsoft Office ซึ่งไดรับความนิยมเปนอยาง

มากในการใชสรางงานนําเสนอหรือพรเี ซนเตชัน หรอื ที่เราเรยี กกันติดปากวา สไลด วนั น้จี ะมาแนะนํา การใชง าน PowerPoint 2019 ในเบ้อื งตน

2.5.1 เมือ่ เปด โปรแกรม PowerPoint 2019 ขนึ้ มาครง้ั แรก จะมีหนา ตาดังน้ี

18

ภาพที่ 2.4 หนา ตางโปรแกรม PowerPoint 2019 เมอื่ เปดขึ้นมาครั้งแรก 2.5.1.1 การสรางงานนําเสนอ

ท่ีแท็บ Home เราสามารถคลิกท่ี Blank Presentation เพ่ือสรางไฟลนําเสนอใหมแบบวาง ๆ ใหเราสามารถกําหนดองคประกอบตาง ๆ เองได หรือจะคลิกที่ธีมที่ไมโครซอฟตเตรียมไวใหเพ่ือ สรางไฟลนําเสนอไมไดสะดวกยิ่งข้ึน เพราะจะไดงานท่ีมีการจัดองคประกอบและรูปแบบตาง ๆ ไวให เราสามารถแกไขได

ภาพท่ี 2.5 เลือกสรา งงานนําเสนอ 2.5.1.2 การเลือกธีมสาํ หรบั งานนําเสนอ

ถาตองการเลือกธีมเพ่ิมเติมใหคลิกที่ More themes เพ่ือเรียกดูธีมอ่ืน ๆ ที่ Microsoft เตรยี มไวให (หรอื จะคลกิ ทีแ่ ท็บ New ทางดานซา ยก็ไดเ ชนกัน) กจ็ ะมีธมี ใหเลอื กมากมาย

19

ภาพท่ี 2.6 การเลอื กธีม PowerPoint 2019 - เราสามารถเลือกหมวดหมูและคนหาช่ือธีมได เมื่อเจอธีมท่ีชอบก็คลิกที่ธีมน้ัน ๆ แลวคลิก ปมุ Create ไดเ ลย

ภาพที่ 2.7 การกดสรางงาน - ก็จะไดงานนําเสนอใหมท่ีมีการจัดรูปแบบไวใหเบื้องตนแลว เราสามารถปรับแตงไดตาม ตอ งการ

ภาพที่ 2.8 ตกแตงหนางานตามท่ตี องการ - เราสามารถคลิกท่สี ว นตา ง ๆ เพ่ือกาํ หนดขอความใหมไ ดตามทเ่ี ราตอ งการ

20

ภาพที่ 2.9 การกําหนดขอความ ภาพที่ 2.10 การกาํ หนดขอความ - แตถาตอนสรา งเอกสารเราคลกิ ท่ี Blank Presentation

ภาพที่ 2.11 การเลือกไฟลงานเปลา - เรากจ็ ะไดไ ฟลง านเปลา ๆ ท่ยี งั ไมม ีอะไร

21

ภาพท่ี 2.12 การกําหนดงานนําเสนอดว ยตัวเอง - เราตอ งกาํ หนดทกุ อยา งดวยตวั เอง - ทางดานขวามือจะปรากฏพาเนล Design Ideas ใหเราสามารถคลิกเลือกเพื่อออกแบบ สไลดข องเราได

ภาพที่ 2.13 การแกไขขอความ - เม่ือตองการแกไขขอความ สามารถคลิกที่ Click to add title หรือ Click to add Subtitle เพ่ือแกไขขอความตามทีเ่ ราตองการ หรือถาไมต อ งการจะลบทง้ิ ไปเลยก็ได 2.5.1.3 การเพม่ิ สไลดใ หม เมอ่ื ตองการเพ่ิมสไลดใหม ใหค ลิกที่ New Slide จะมีรปู แบบสไลดป รากฏออกมาใหเลือก

22

ภาพที่ 2.14 การเพ่ิมสไลด - คลิกเลอื กรปู แบบสไลดต ามท่ีตอ งการ ก็จะไดสไลดใหมเ พิม่ เขามาทนั ที

ภาพท่ี 2.15 การเพิม่ ขอความ รปู ภาพ และอน่ื ๆ - หรือวิธีที่งายและรวดเร็วที่สุดสําหรับการเพ่ิมสไลดใหมเขามาในไฟลงานก็คือ กดปุม Ctrl + M บนคยี บ อรด กจ็ ะไดส ไลดใหมเพิม่ เขา มาในไฟลง านทันที - สามารถเพิม่ ขอความ รูปภาพ หรืออ่ืน ๆ ไดตามท่ีตอ งการ 2.5.1.4 การเรียงลาํ ดบั สไลด เราสามารถจดั เรียงลําดับสไลดใ หมไดทุกเมือทต่ี องการ โดยสามารถทําไดด งั นี้

23

ภาพที่ 2.16 จดั เรียงลําดบั สไลด

- คลิกท่ีสไลดท่ีตองการเรียงลําดับคางไว แลวลากข้ึนดานบนหรือลากลงดานลางเพื่อ เรยี งลาํ ดับใหมไดท ันที

2.5.1.5 การเปลีย่ นเคาโครงสไลด (Slide Layout) เราสามารถเปลีย่ นเคา โครง หรอื Layout ของสไลดไดท กุ เมื่อท่ตี องการ โดยวิธกี ารดงั นี้

ภาพที่ 2.17 การเปลีย่ นเคา โครงสไลด 1. คลิกทสี่ ไลดท่ีตองการเปลย่ี นเคา โครง 2. คลิกที่ Layout 3. คลิกเลือกเคา โครงทีต่ องการสไลดท ่เี ลือกจะถกู เปล่ยี นเคาโครงตามท่ีเลือกทันที

ภาพท่ี 2.18 เลอื กเคาโครงท่ีตอ งการสไลดทเ่ี ลือกจะถกู เปลี่ยนเคาโครงตามท่เี ลอื กทนั ที 2.5.1.6 การบนั ทึกไฟลพ รเี ซนเตชนั

การบนั ทึกไฟลพรีเซนเตชันสามารถทาํ ไดดงั นี้

24

ภาพท่ี 2.19 การบนั ทึกไฟลพรีเซนเตชัน - คลิกท่ีแท็บ File

ภาพท่ี 2.20 การบนั ทึกไฟลพรเี ซนเตชัน - คลิกท่ี Save (หรอื Save As)

ภาพที่ 2.21 การบันทึกไฟลพรเี ซนเตชนั

25

- เลอื กวา จะบันทึกงานไวที่ไหน ถาตองการบนั ทึกแบบออนไลนเก็บไวใ น OneDrive ใหคลิก ท่ี OneDrive แตถาตองการบันทึกไวในคอมพิวเตอรของเราเองใหคลิกที่ This PC หรือ Browse ใน ตวั อยางเลือก Browse เพ่ือไปเลอื กทบี่ นั ทึกไฟลง าน

ภาพที่ 2.22 การบนั ทึกไฟลพรีเซนเตชัน - คลกิ เลือกโฟลเดอรท ่ตี องการเก็บไฟลแ ลวคลิกปุม Open

ภาพท่ี 2.23 การบันทกึ ไฟลพรีเซนเตชนั - ทช่ี อ ง File name ใหต งั้ ชือ่ ไฟลตามท่ตี อ งการ - ที่ตัวเลือก Save as type ใหคลิกเพ่ือเลือกประเภทไฟลท่ีจะบันทึก โดยคาปกติจะเปน PowerPoint Presentation ซึง่ เปน คามาตรฐานทเี่ ราใชกนั จะไดไ ฟลนามสกลุ .pptx - แตถาตองการบันทึกไฟลเพ่ือใหสามารถเปดไดกับโปรแกรม PowerPoint เวอรชันเกา ๆ ต้ังแตเวอรชัน 2003 ลงไป ใหเลือกที่ PowerPoint 97-2003 Presentation (แตคุณสมบัติใหม ๆ บางอยางจะไมส ามารถใชไ ด) - ในตวั อยางใชคาตามท่โี ปรแกรมต้ังไวใ หคือ PowerPoint Presentation

26

ภาพที่ 2.24 การบันทกึ ไฟลพรเี ซนเตชนั - เมือ่ ตงั้ คา เสรจ็ เรียบรอ ยใหคลกิ ปุม Save ไดเลย 2.6 โปรแกรม Adobe Premiere Pro CC 2018 Adobe Premiere Pro เปน หนง่ึ ในชุดโปรแกรม Adobe Creative Cloud นนั่ เอง หลายคน อาจจะ รูจักกันดี เพราะเปนโปรแกรมชื่อดังจากคายพัฒนาโปรแกรมชั้นนําอยาง Adobe ที่เปนผูนํา ในการสรา ง และ พัฒนาโปรแกรมดานกราฟฟค และ สื่อตา งๆ Adobe Premiere Pro เปนซอฟแวรโปรแกรมตดั ตอ วิดีโอและบันทึกตดั ตอเสียงท่แี พรห ลาย ที่สุดสามารถผลิตผลงานไดในระดับมืออาชีพจนถึงการนําไปออกอากาศทางสถานีโทรทัศน (Broadcasting System) มีการทํางานที่ไมยุงยากซับซอนมากนัก สามารถจับภาพและเสียงมาวาง (Drag & Drop) ลงบนไทมไลน (Time line) เคล่ือนยายไดอิสระโดยไมจํากัดจํานวนครั้ง และ ไมมีการสูญเสียของสัญญาณภาพและเสียง เพียงผูผลิตจําเปนตองมีทักษะท่ีดีในการใชโปรแกรม กับความคิดสรางสรรค นอกจากน้ีแลว โปรแกรม Adobe Premiere Pro ถูกออกแบบมาให นาํ ไปใชงานไดท ั้งภาพน่ิง และ ภาพเคลือ่ นไหว เพยี งนําไฟลร ปู ทตี่ องการวางลงในโปรแกรมใสเอฟเฟค การเปล่ียนรูปเทานี้ สามารถสราง วีดีโอท่ีเคลื่อนไหวผานรูปถายของคุณไดเลย นอกจากการนํา รูปถายมาทําเปนภาพเคลื่อนไหว และ สามารถใสขอความลงไปในขณะท่ีวีดีโอกําลังเลน เรยี กไดว า เอฟเฟคน้ี เปน ส่งิ ที่หนังหรอื ภาพยนตรหลายๆเรอื่ งกน็ ําไปใชก ันอยา งมากมาย 2.6.1 ลําดบั ขน้ั ตอนของงานตดั ตอ 2.6.1.1 วางแผน คือ การเตรียมการทํางานวามีขั้นตอนใดบางเปนการรางแบบไวในกระดาษ Storyboard เพื่อใหเหน็ รายละเอยี ดทช่ี ดั เจนของงาน 2.6.1.2 เตรยี มวัตถดุ บิ คือ การเตรียมไฟลข อมูล เชน ไฟลว ดิ โี อ, ไฟลภาพ, ไฟลเสยี ง เปนตน

27

2.6.1.3 ตดั ตอ คือ การนําขอ มลู ที่เตรยี มไวมาตัดตอ เขา ดวยกนั ตามทีว่ างแผน คอื ขั้นตอนการใชโปรแกรมใน

การตดั ตอ น่ันเอง 2.6.1.4 ประมวลผล

คือ การประมวลผล (Render) เพอ่ื ใหช ิน้ งานเสรจ็ สมบูรณอ ยูในรปู ไฟลวิดีโอพรอ มที่จะใชงาน ดวยโปรแกรมแสดงผลวิดโี ออ่นื ๆ 2.6.1.5 สง ออก

คือ การนําวิดโี อท่ตี ัดตอและประมวลผลเสร็จสมบรู ณแ ลวไปใชงาน เชน เผยแพรทางอินเทอร เนต็ , หรอื ออกอากาศไปยังสถานีโทรทศั น เปน ตน 2.6.2 การตดั ตอวีดโี อแบบงายๆ ดวยโปรแกรม Adobe Premiere Pro CC

1. อันดับแรกเปดโปรแกรมข้ึนมา จะมีคําวา New Project กดเขาไปก็จะเจอกับหนาตาง New Project ที่จะใหตั้งช่ือ Project จะตั้งชื่อตามท่ีตองการ ถัดมาอีกบรรทัดเปน Location ตรงน้ี จะเปนท่ีอยูของ Project อยากจะเซฟไวที่ไหน ก็กด Browse ไดเลย ตอไปเปน Capture สําหรับคน ท่ีโหลดมาใหมๆ จะเปน DV ก็ใหเปลี่ยนเปน HDV จากน้ันก็กด OK

2. ตอไปก็เขามาในหนาท่ีพรอมจะตัดตอวิดีโอแลว เขามาคร้ังแรกอาจจะงง แตใหดูไปทีละ สวน อันดับแรกใหไปท่ีหนาตางอันลางสุดซา ยมือ ท่ีเขียนวา Import Media to Start คลิกเขาไป จะ ปรากฎหนาตางข้ึนมา แลวจัดการเลือกคลิปวิดีโอท่ีตองการจะตัด คลิกแลวกด Open OK แลววิดีโอ จะเขา มา

3. ตอไป ไปที่หนา Timeline ก็คือหนาตางอันลางสุดขวามือ จากน้ันจัดการลากวิดีโอ มาท่ี หนาตาง Timeline เลย แลวคลิปวิดีโอ ก็จะข้ึนมาบน Timeline จะสามารถใชเมาสคลิกเลื่อนวิดีโอ ไปมาได จะยอหรือขยายก็ได โดยการกด Alt คางไว แลวก็ใช Scrollbar เล่ือน มันก็จะเปนการขยาย ยอสว น ตามที่ตอ งการ

ภาพที่ 2.25 การตัดตอวีดีโอแบบงา ยๆ ดว ยโปรแกรม Adobe Premiere Pro CC 4. มาดูเรื่องปุมกัน กด Spacebar จะเปนการเลนวีดีโอ กด Spacebar อีกครั้งจะเปนการ หยุด เวลาจะตัดก็ใหกดปุม C มันจะมีรูปคัตเตอรข้ึนมา ก็ใหทําการคลิกตัดไดเลย หากตัดพลาด ก็ให กด Ctrl+Z แลว คลิปกจ็ ะกลับมาเหมือนเดิม การลบกใ็ หกด Ctrl+V ลูกศรคลมุ ดาํ แลวกด Delete ไป เลย

28

5. หากเราตัดตอจนคิดวาไดละ คลิปเราเสร็จสมบูรณพรอมจะ Save ก็ใหเลื่อนเมาสไปท่ี เวลาเริ่มตนตรงหวั คลปิ กดเคร่ืองหมายปกกาเปด และกดไปท่ที ายคลิป และเลอ่ื นเมาสมาตรงที่คลาย คลปิ แลว ก็กดเครือ่ งหมายปกกาปด คลปิ กจ็ ะถกู คลมุ วาจะเอาต้งั แตเวลานี้ ถงึ เวลาน้ี

6. วิธี Save ก็ใหไปที่ File Export Media แลวจะมีหนาตางขึ้นมา ดูท่ี Format เลือกเปน H.264 จากนั้นดูที่ Preset จัดการเปลี่ยนเปน Youtube 1080p HD ข้ันตอนตอไปมาดูท่ี Output Name ตรงนี้จะเปนการต้ังช่ือวา จะตั้งชื่อคลิปวีดีโอ จัดการคลิกเขาไป จะเปล่ียนชื่อ หรือท่ีอยูคลิป วีดีโอก็ได เมื่อเสร็จก็กด Export ไดเลย ข้นั ตอนสุดทายรอโหลดเสร็จเปนอนั เรยี บรอ ย 2.7 การใชงานโปรแกรม Microsoft Excel

โปรแกรม Microsoft Excel หรือเรียกวา Excel เปนโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (Spread Sheet) เหมาะสําหรับการจัดการเก่ียวกับการคํานวณ หาผลลัพธ การสรางกราฟ แผนภูมิ ซ่ึง Excel ยังสามารถปอ นขอความ แทรกรปู ภาพ และสญั ลักษณพ เิ ศษตา ง ๆของตวั เลข และการจดั การเกี่ยวกับ ตารางขอมูลได Excel มีฟงกชันในการคํานวณใหผูใชสามารถเลือกใชมากมาย จึงทําใหสามารถ นํามาใชในการวิเคราะหคํานวณคาตัวเลขตาง ๆไดสะดวก ดังนั้นจึงไมตองสงสัยท่ีหนึ่งในโปรแกรม ประยุกตในทองตลาดจะตองมีการนํา Excel ไปใชกับงานหลายๆ สาขาอาชีพ เชน นักบัญชี นักวิทยาศาสตร วิศวกร นักสถิติ นักวางแผน และครู อาจารย เปนตน โดยลักษณะท่ัวไปแลว Excel เปนโปรแกรมท่ีอยูในชุดของ Microsoft Office เชนเดียวกับ โปรแกรม Microsoft PowerPoint และ Microsoft Word ที่นักศึกษาไดเรียนรูไปแลว สวนใหญจะมีรูปแบบหนาจอเมนูคําส่ัง เมนูบารที่ มีการสั่งการเหมือนกัน เชน การปรับเปล่ียนขนาดตัวอักษร การปรับเปลี่ยนสีตัวอักษร การทํา ตัวอักษรใหเปนตัวหนา ตัวเอียง การสรางตารางขอมูล เปนตน ท้ังนี้จะมีขอแตกตางกันใน รายละเอียดเฉพาะท่ีเปนจุดเดนของโปรแกรมนั้น ๆ ซ่ึงในเอกสารน้ีจะไดมาเรียนรูกันในสวนการใช งานโปรแกรม Microsoft Excel

2.7.1 การเขาสกู ารใชงานโปรแกรม Microsoft Excel นาํ เมาสคลกิ เมนู start ->programs-> Microsoft Excel ดังรูป

29

ภาพท่ี 2.26 การเขาสูการใชงานโปรแกรม Microsoft Excel

2.7.2 สวนประกอบตา งๆ ของ Excel เมอ่ื เปด โปรแกรมขนึ้ มา เม่ือเปด โปรแกรม Excel แลวหนา จอที่ไดจะมีสว นตา งๆ ที่ควรรูจกั ซงึ่ จะทําใหผใู ชสามารถที่

จะใชง าน Excel ได ตามความตองการ สวนประกอบตา งๆ มดี ังนี้

แถบสูตร แถบเมนู ชอ่ื คอลมั น แถบเครื่องมือ ปมุ แถบช่อื เรือ่ ง ควบคุม ช่อื เซลล

ช่ือ แถว

แถบ แถบเล่อื น (Scroll Bar) แถบงาน สถานะ ชตี หรอื Work

ภาพที่ 2.27 สวนประกอบตา งๆ ของ Excel

แตละสว นประกอบ มรี ายละเอียดดงั น้ี 2.7.2.1 แถบชือ่ เรอ่ื ง (Title Bar)

เปน สว นแสดงวา เราใชโ ปรแกรม Excel เปดแฟม ชอื่ อะไรอยู 2.7.2.2 ปุมควบคมุ โปรแกรม (Control Button)

ใชค วบคมุ ขนาดหนาตา งโปรแกรม เชน ยอ ขยาย และปด 2.7.2.3 แถบเมนู (Menu bar)

เปนการนาํ เอาคาํ สัง่ ทใี่ ชบอยๆ มาสรา งเปนปุม เพ่อื ใหสะดวกตอ การเรยี กใชง าน 2.7.2.4 แถบเครือ่ งมือ (Toolbar)

เปนการนําเอาคําสง่ั ทใี่ ชบ อยๆ มาสรางเปน ปมุ เพื่อใหสะดวกตอ การเรยี กใชง าน 2.7.2.5 แถบสูตร (Formula bar)

เปนแถบทีใ่ ชสาํ หรับใหกาํ หนดสตู รคํานวณขอมลู 2.7.2.6 ชที หรือ เวิรกชตี (Sheet or Work Sheet)

30

เปนพื้นที่ท่ีจะทํางาน ซ่ึงจะมองเห็นเปนลักษณะตาราง โดยแตละชองตารางจะเรียกวา “เซลล (Cell)” 2.7.2.7 แถบสถานะ (Status Bar)

ใชแสดงสภาวะตางๆ ของโปรแกรม เชน การกดปุมพิเศษ และการพิมพงานออกทาง พรนิ เตอร เปน ตน 2.7.2.8 แถบเล่อื น (Scroll Bar)

ใชเลื่อนไปยังพน้ื ทขี่ องเซลลท่ตี องการท่ีไมสามารถแสดงใหเ หน็ ทงั้ หมดในหนา จอได 2.7.2.9 ชอ่ื เซลล (Name Box)

เปนชองที่แสดงถึงการระบุตําแหนงของเซลลโดยจะแสดงตําแหนงของเซลล เชน ช่ือเซลล ปรากฎช่ือ E3 ซ่ึงช่ือเซลลจะไดมาจากการนําชื่อหัวคอลัมน (Column Name) มาตอดวย ช่ือแถว (Row Name) โดยจะตองมีการอานบังคับตามลําดับ เหมือนกับการอานจุดพิกัดบนแผนท่ี ดังน้ัน E3 หมายถงึ เซลล E3 ท่เี กิดจากคอลมั น E ตดั กับแถวที่ 3 2.7.2.10 ชื่อแถว (Row Name)

เปนสง่ิ ทีใ่ ชใ นการกาํ หนดการอา งองิ ตาํ แหนง ขอมูลในแนวนอน 2.7.2.11 ชือ่ คอลมั น (Column Name)

เปนสง่ิ ท่ใี ชใ นการกําหนดการอางองิ ตาํ แหนง ขอมูลในแนวต้ัง 2.7.3 สว นประกอบตางๆ ของ Work Sheet

Work Sheet เปนพนื้ ทีท่ ํางานที่เปรียบเสมือนเปนกระดาษทส่ี ามารถปอนขอมลู ทต่ี องการลง ไปได แต Work Sheet ของโปรแกรม Excel จะมีความสามารถเหนือกวา กระดาษท่ีสามารถปอน ขอมลู เทานนั้ เพราะสามารถทจี่ ะแกไ ขขอมลู ไดงา ยและคํานวณไดใ น Work Sheet ดวย สว นประกอบ ตา งๆ ของ Work Sheet ท่คี วรรจู กั มีดงั น้ี

หวั คอลัมน

หัวแถว ตําแหนง กรอกขอมูล

ปา ยชอื่ ของ Work Sheet เซลล

31

ภาพที่ 2.28 สวนประกอบตางๆ ของ Work Sheet 2.7.3.1 เซลล (Cell)

เปนชองสําหรับใสขอมูล ภายในหนึ่งเซลลจะมีขอมูลไดเพียงแคตัวเดียว โดยขอมูลจะเปน ตัวเลข ตัวอักษร ขอความ หรือสตู รตา งๆ 2.7.3.2 ตาํ แหนงกรอกขอมูล (Active Cell)

ตําแหนงกรอกขอมูลจะเปนเซลลท่ีมีกรอบเขมกวาเซลลอ่ืนเปนพิเศษ เซลลนี้เปนเซลลท่ีผูใช สนใจจะแกไข หากผูใชพิมพขอมูลลงไป เซลลนี้จะถูกแกไขทันทีคอลัมน (Column) คือชองขอมูลท่ี เรยี งอยูทางแนวตัง้ ใน Excel จะมีท้งั หมด 256 คอลมั น 2.7.3.3 หวั คอลมั น (Column Heading)

คือชื่อแทนชองขอมูลท่ีอยูในแนวต้ัง ใน Excel จะใชตัวอักษรภาษาอังกฤษเปนช่ือคอลัมน เร่มิ ตง้ั แต A, B, C-Z แลวตอ ดว ย AA, AB ไปจนถงึ IV 2.7.3.4 แถว (row)

คอื ชองขอ มลู ทีเ่ รียงอยทู างแนวนอน ใน Excel จะมแี ถวทัง้ หมด 65,536 แถว 2.7.3.5 หวั แถว (row Heading)

คือ ชอ่ื ของชองที่อยใู นแนวนอนเดยี วกนั ใน Excel ใชตัวเลขแทนช่ือของแถว เร่ิมไปตง้ั แต 1 ไปจนถึง 65,536 2.7.3.6 ปายชือ่ ของเวิรก ชตี (Sheet Tab)

ใชแสดงชื่อของเวริ ก ชีตที่ผใู ชใ ชง านอยใู นขณะนี้ 2.7.4 การออกจากการใชง านโปรแกรม Microsoft Excel

ในการออกจากโปรแกรม Excel สามารถดําเนนิ การดังนี้ - คลิกเมนู File -> เลือกคําสั่ง Exit หรือ กดปุม Alt + F4 หรือคลิกปุมควบคุมโปรแกรม เพ่อื ปดโปรแกรม

ภาพที่ 2.29 การออกจากโปรแกรม Excel

32

2.7.5 การสรางงานใหม ในการสรางเอกสาร Excel เพื่อเริ่มตนทํางาน นั้นจะเรียกวาเปนการสราง WorkBook ใหม

ซึ่งใน WorkBook ที่สรางใหมน้ี สามารถที่จะมี เอกสาร Work Sheet อยูภายใน WorkBook ได หลายๆ Work Sheet การสรา งงานใหมด ังน้ี

1. คลกิ ทเ่ี มนู File -> New จะเกดิ กลุมของแถบงานคาํ ส่งั ขึน้ ดา นขวามือของหนา จอ ดงั รูป

ภาพท่ี 2.30 การสรา งงานใหมโดยเลอื กท่ี Blank WorkBook 2. ในสวนแถบงานคําส่ัง New ใหค ลกิ เลือก Blank WorkBook เพ่อื สรางงานใหม สังเกตท่ี Title Bar จะมีชอ่ื ของ WorkBook ใหมขึน้ มา เชน Book1, Book2 ดงั รูป ทงั้ น้ีขน้ึ อยกู บั จํานวนการ คลกิ Blank WorkBook ของผูใช

ช่อื WorkBookใหม ชือ่ Book1

ภาพที่ 2.31 WorkBook ใหมท ี่เกดิ ขึน้ จากการคลิกเลอื ก Blank WorkBook

33

2.7.6 การบนั ทึกขอ มลู และการเปด แฟมขอ มูล ในการบันทึกขอมูลของโปรแกรม Excel เหมือนกันกับโปรแกรม Word น่ันคือ สามารถท่ีจะ

บันทึกงานใหม ที่ยังไมเคยมีการเก็บบันทึกมากอน และสามารถบันทึกงานที่แกไขอยูแลวตองการ เปลย่ี นชอ่ื แฟมขอมูลในชว งเวลาทต่ี องการบันทึกได ปฏิบัติดงั น้ี 2.7.6.1 การบันทกึ งานใหม หรือบนั ทกึ งานซ้าํ ทแี่ ฟมขอมลู ช่ือเดิม

1. คลิกเมนู File -> เลือกคําสั่ง Save หรือกดปุม Ctrl + S หรือ คลิกแถบเครื่องมือรูป

ภาพท่ี 2.32 การเลือกคําส่ัง Save เพอื่ บันทกึ งานใหม หรือบันทึกงานซ้าํ ท่ีแฟมขอมูลชื่อเดมิ

new folder ภาพท่ี 2.33 การเลือกชนดิ ของเอกสารทจ่ี ะบันทึกใหเ หมาะสม จะปรากฏหนา จอ Save As Dialogเพือ่ ใหผ ใู ชก ําหนดรายละเอียดดังน้ี 2. ในชอ ง File Name พมิ พชือ่ ไฟลทีต่ องการบันทกึ

34

3. ถาตองการเปล่ียน folder หรือ drive ใหม ในชอง Save in คลิกท่ี ▼ เพื่อเลือก ตาํ แหนง ใหมที่ตอ งการ

4. ถาตองการสราง folder ใหม ใหคลิกที่ปุม new folder -> ใสชื่อ folder -> ดับเบิ้ล คลิกที่ folder ใหม

5. ในชอง Save as type คลกิ ท่ี ▼ เพื่อเลอื กรูปแบบของ WorkBook ที่ตอ งการใหบันทึก โดยในชอง Save as type ใชในการกําหนดใหเอกสารท่ีทําการบันทึกสามารถท่ีจะนําไปใชงานกับ โปรแกรม Excelในเวอรช ันที่ตองการไดโ ดยขอมลู ภายใน WorkBook จะไมเ กิดปญหาการเปลี่ยนของ ตัวหนังสือหรือ รูปแบบของเอกสารจะไมมีการเปล่ียนแปลงจากเดิม เชน นําไปใชกับ Excel เวอรชัน 97 หรอื Excel เวอรชัน 2000 เปน ตน

หมายเหตุ หากผูใชทราบวาโปรแกรม Microsoft Excel ท่ีตองการใชงานเปนเวอรชัน เดียวกัน ก็ไมจําเปนท่ีจะเลือกในตัวเลือกของ save as type โดยปกติแลวโปรแกรม Microsoft Excel เวอรชันที่ใหมกวาจะเปด WorkBook ท่ีถูกสรางจากโปรแกรม Microsoft Excel ที่เปน เวอรชันต่ํากวาได แตเวอรชันตํ่ากวาอาจจะไมสามารถเปด WorkBook ท่ีสรางจากเวอรชันใหมกวา ไดถ ูกตอ ง สําหรับแฟมขอ มูลทถี่ กู บันทึกดว ยโปรแกรม Microsoft Excel จะมีนามสกลุ .xls

6. คลกิ ที่ปมุ Save เพอ่ื ทําการบนั ทกึ (หรือ คลิกทปี่ ุม Cancel เพ่อื ยกเลกิ คําส่งั ) 2.7.6.2 การบันทกึ งานขณะกาํ ลงั ทาํ งาน

- คลิกท่ีเมนู File -> คลิก Save หรือ คลิกที่ปุม Save บน Standard toolbar หรือ กด Ctrl + S 2.7.6.3 การบันทกึ งานทมี่ กี ารแกไ ขและตอ งการเปลีย่ นช่ือแฟม ขอ มูลเปน ช่ืออนื่

- คลิกที่เมนู File -> คลกิ Save As จะปรากฏกลอ ง Save As Dialog บนหนาจอ หมายเหตุ ข้นั ตอนอื่นๆ ใหป ฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนของการบนั ทกึ งานใหม 2.7.6.4 การเปดงานท่ีมีอยู 1. คลกิ ทเี่ มนู File -> คลิก Open หรือ คลกิ ทป่ี มุ Open บน Standard toolbar หรือ กด Ctrl + O จะปรากฏกลอ ง Open บนหนา จอ 2. เปล่ยี น folder หรอื drive ใหม ในชอ ง Look in คลิกที่ ▼ เพ่อื ไปยัง folder ท่ีไฟลอยู 3. ดับเบ้ิลคลกิ ท่ไี ฟลท ีต่ องการ หรอื คลกิ ทไ่ี ฟลทีต่ องการ -> คลกิ ท่ปี ุม Open

2.7.7 การสั่งพมิ พเอกสาร 1. คลกิ เมนู File -> คลกิ Print หรอื กด Ctrl + P จะปรากฏกลอ ง Print dialog

35

ภาพที่ 2.34 การสัง่ พมิ พเ อกสาร 2. ในสว นของ Printer ชอง Name คลกิ ที่ ▼ เพอื่ เลือกเคร่อื งพมิ พที่ตอ งการ 3. ในสวนของ Print range เลือกหนาเอกสารท่ตี อ งการพมิ พ โดยท่ี - คลกิ All ถาตอ งการพิมพทง้ั เอกสาร - คลิก Page(s) From: … To:… เปนการสั่งพิมพงานเปนชวงท่ีตองการโดยจะตองกําหนด หนาเริ่มตนในชอง From และกําหนดหนาสิ้นสุดในชอง To เชน ตองการสั่งพิมพหนา 1 หนาเดียว สามารถสง่ั ใหพ ิมพไดค ือ กําหนดให From: 1 To: 1 กจ็ ะสามารถส่ังพิมพเ ฉพาะหนา ทตี่ อ งการได 4. ในสวน Print What เปนสวนที่สามารถกําหนดใหก ารพิมพสามารถทําไดสะดวกมากขึ้น มีตัวเลือกดงั น้ี - คลกิ Selection สาํ หรบั การสง่ั พิมพเ ฉพาะสว นทีไ่ ดม ีการทําแถบสีหรือเลือกไว - คลิก Entire Workbook สําหรับสั่งพิมพทุก Work Sheet ท่ีมีอยูใน WorkBook ท่ีเปด อยู - คลิก Active Sheet(s) สําหรับการสัง่ พิมพเฉพาะ Work Sheet ทกี่ าํ ล่งั ทํางานอยูเทานนั้ 5. ในสวน Copies ที่ Number of Copies: คลิกที่ ▲ ( หรือ ▼) เพื่อกําหนดจํานวน สําเนาทตี่ องการพิมพ 6. ที่ตัวเลือก Collate เปนการสั่งใหการพิมพใหเอกสารออกเปนชุดเรียงหนาที่ละชุด หรือ พิมพเอกสาร แตละหนาใหครบจํานวนสําเนาท่ีละหนา (ใหสังเกตที่รูปที่มีการเปล่ียนแปลงดวยเมื่อ คลกิ ) 7. คลิก OK เพือ่ พมิ พเ อกสาร หรอื คลิก Cancel เพอื่ ยกเลิกการพมิ พ 2.7.8 การกาํ หนดหนา กระดาษและชนิดกระดาษ 1. คลิกเมนู File -> Page Setup จะปรากฏกลอ ง Page Setup Dialog ดังรูป

36

ภาพที่ 2.35 การกาํ หนดหนา กระดาษและชนิดกระดาษ 2. คลกิ เลือกที่เมนูยอ ย Page 3. ในสวน Orientation จะใหผูใชเลือกรูปแบบของกระดาษ แนวตั้ง (Portrait) หรือ แนวนอน (Landscape) 4. ในสวน Scaling สามารถใหผูใชกําหนดการยอหรือขยายขนาดของ Work Sheet ไดท่ี สวนของ Adjust to: และในสวน Fit to: สามารถที่จะกําหนดใหขนาดของความสูงของหนาท่ี ตอ งการใหเปนแบบคงท่ีได 5. ในสวน Paper size: สามารถใหผูใชกําหนดขนาดของกระดาษท่ีตองการทํางานได เชน A4, Letter, Legal 6. ในสวน Print Quality: สามารถใหผูใชกําหนดคุณภาพของการพิมพงานได (ขึ้นอยูกับ เคร่อื งพิมพดวย) 7. เมื่อกําหนดไดตามตองการแลว คลิก OK เพ่ือให Excel กําหนดตามที่ตองการ หรือคลิก Cancel เพือ่ ยกเลกิ 2.7.9 หนวยวดั ของโปรแกรม Microsoft Excel หนวยวัดท่ีใชในโปรแกรม Excel น้ัน จะไมสามารถเปล่ียนไปใชหนวยตาง ๆ ไดเหมือนกับ โปรแกรม Word โดยท่ัวไปแลว หนวยวัดในโปรแกรม Excel จะใชหนวยวัดเปน น้ิว (inch) ในการ กําหนด Page Setup สังเกตวาจะไมมีการแสดงหนวยวัดมาใหเห็น ดังนั้นจะตองระวังในการกําหนด ระยะตา ง ๆ ดว ย 2.7.10 การกาํ หนดระยะขอบของหนา กระดาษ 1. คลิกเมนู File -> Page Setup จะปรากฏกลอง Page Setup Dialog ขนึ้

37

ภาพที่ 2.36 การกาํ หนดระยะขอบของ Work Sheet 2. คลิกเลือกเมนูยอย Margins 3. ทําการกาํ หนดระยะขอบทีต่ องการ (อยาลืมวา ตัวเลขทกี่ าํ หนดน้หี นวยวดั เปน นว้ิ ) 4. ในสวน Center On page เปนการกําหนดใหตารางขอมูลใน Work Sheet ใหอยูตรง กลางพ้ืนที่กระดาษโดย สามารถกําหนดใหมีการอางอิงตามแนวต้ัง (Vertically) หรือใหอางอิงตาม แนวนอน (Horizontally) หรือใหมีการอางอิงทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน ใหผูใชคลิก ในชอง สี่เหล่ยี มเพ่ือกําหนดการจัดตารางทต่ี อ งการ 5. คลกิ OK เพ่ือให Excel กาํ หนดตามที่ตอ งการ หรือคลกิ Cancel เพื่อยกเลิก 2.7.11 การกําหนดหัวกระดาษ (Header) และทายกระดาษ (Footer) 1. คลกิ เมนู File -> Page Setup จะปรากฏกลอ ง Page Setup Dialog ขนึ้ 2. คลกิ เลอื กเมนยู อ ย Header/Footer 3. เมื่อตองการกาํ หนดในสว นหัวกระดาษ โดยเลอื กรปู แบบขอความทม่ี ีอยูแลว ใหค ลิกท่ี ▼ เพื่อเลือกรูปแบบขอความท่ีตองการ (ในการกําหนดทายกระดาษก็ปฏิบัติเหมือนกันในสวนตัวเลือก Footer)

สวนแสดงขอความ เมือ่ มีการกาํ หนด ขอ มูลใหแก Header ตวั เลอื กรูปแบบของ ขอความท่ตี องการ ปรากฎ ภาพที่ 2.37 การกาํ หนดหัวกระดาษและทา ยกระดาษ

38

4. หากตองการกําหนดหวั กระดาษเอง ใหคลกิ ท่ีปุม Custom Header แลว จะปรากฎกลอง Header Dialog ดังน้ี

ภาพที่ 2.38 ลักษณะของ Custom Header - สงั เกตวา จะมสี วนทใี่ หผ ใู ชพมิ พข อความ หรือกําหนดใสหนา กระดาษ วนั เหมือนกับการ กาํ หนดหัวกระดาษและทายกระดาษของโปรแกรม Word เพยี งแต ในโปรแกรม Excel จะมกี ารแบง พื้นทีใ่ หพิมพเ ปน 3 สว น คือ Left Section เม่ือตอ งการใหส ิง่ ทพี่ ิมพไปชิดซาย , Center Section เม่ือตองการใหส ิง่ ที่พมิ พไ ปอยูตรงกลางกระดาษ และ Right Section เมือ่ ตอ งการใหส ิ่งท่ีพมิ พไ ปชิด ขวา - Custom Header และ Custom Footer มี Tool ทใี่ ชแตงดังนี้ 1. การกําหนดรูปแบบ และขนาดตัวอกั ษร 2. Page (เลขหนา) &[Page] 3. Pages (เลขหนา ทัง้ หมด) &[Pages] 4. Date (วนั ท่เี ครอื่ ง) &[Date] 5. Time (เวลาเคร่อื ง) &[Time] 6. พมิ พชอื่ โฟลเดอรแ ละ Workbook &[Path]&[File] 7. File (ชอื่ File) &[File] 8. Tab (ชอื่ WorkSheet) &[Tab] 9. Picture (รปู ภาพ) &[Picture] 10. ปรบั แตงรูปภาพ - เมอื่ กาํ หนดหวั กระดาษใหไ ดตามตอ งการแลว คลิกปมุ OK หรอื ยกเลิก คลิกปมุ Cancel 5. คลิก OK เพือ่ ให Excel กาํ หนดตามท่ตี องการ หรอื คลิก Cancel เพอื่ ยกเลกิ 2.7.12 เริม่ ตน ทํางานกับ Work Sheet 2.7.12.1 การตง้ั ชื่อใหก บั Work Sheet ในการทํางานน้ันควรเปล่ียน Worksheet ใหสอดคลองกับขอมูลท่ีปอน เพื่อชวยใหเตือน ความจาํ และทําใหการเรยี กใชขอมลู ไดสะดวก วิธเี ปลี่ยนชื่อ Work Sheet มดี ังน้ี - คลกิ ขวาทแ่ี ทบ็ ชีตงานของ Work Sheet ท่ีตองการตงั้ ช่อื ใหม

39

- คลิกคําส่งั Rename - พิมพ Work Sheet ใหม และกด Enter 2.7.13 การใสข อมูลลงในเซลล ที่อยใู น Work Sheet การใสขอมูลลงในเซลล จะเหมือนกับการพิมพขอมูลที่ตองการลงไปในเซลลที่ตองการ ปฏิบัติ ดังนี้

2.7.13.1 คลกิ เซลลทีต่ องการปอนขอมูล 2.7.13.2 ปอ นขอมลู ท่ตี องการลงในเซลล

- ขอ มลู ตวั อักษร (ชดิ ซา ยของเซลล, คาํ นวณไมได) - ขอ มูลตวั เลข (ชิดขวาของเซลล, คาํ นวณได) 2.7.13.3 เม่อื ปอนขอมูลจบแลว ใหก ดแปน enter หรอื คลกิ เมาสท ่เี ซลลอ ่ืน 2.7.14 เทคนคิ การปดตวั หนังสอื ทย่ี าวๆ ใหน ําเสนอหลายๆ บรรทัดใน เซลลเดยี วกัน ในบางครั้งเมื่อปอนขอมูลท่ีมีความยาว เชน ขอความยาวๆ แตมีขนาดความกวางของเซลล จาํ กัดแตผ ใู ชต อ งการนาํ เสนอขอความยาวๆ นัน้ ใหส ามารถนาํ เสนอในชองเซลลไดครบถว นไมขาดหาย ปฏิบตั ดิ ังนี้ 1. เมือ่ พิมพขอ มูลในบรรทัดแรกในเซลลไ ปจนถึงขอบของเซลล ใหก ดปุม Alt +enter 2. สังเกตจะมีการเล่อื นบรรทัดลงมาเปน บรรทดั ที่สอง แตย งั อยใู นเซลลเ ดียวกัน ดงั รปู

ขอ ความยาวๆ ที่ไม ใช Alt+enter

ขอความยาวๆ ทใ่ี ช Alt+enter

ภาพที่ 2.39 แสดงลักษณะของเซลลที่มีขอความยาวๆ ที่ใชเทคนิคการกด Alt+enter เทียบกับเซลล ทไ่ี มม ีการใช

40

2.7.15 การเลือกเซลล กลุมเซลล ใน Work Sheet ท่ีตองการ 2.7.15.1 การ Drag เมาสเ พอ่ื กําหนดขอบเขตของขอมลู ท่ตี องการ

การ Drag เมาส หรือการทําแถบสีใหกับเซลลขอมูลที่ตองการจะมีวิธีการที่เหมือนกันกับการ ทําแถบสใี หกับขอความที่ตองการในโปรแกรม Word เพยี งแตใ น Excel จะเปนกลุมของเซลลเทาน้ัน มีวิธปี ฏิบตั ดิ งั น้ี

- คลกิ เมาสป มุ ซา ยคา งไวท ี่เซลลเ ร่มิ ตน ทต่ี องการ - ทาํ การลากเมาส (Drag) ผา นเซลลท ตี่ อ งการทาํ แถบสี โดยยังไมป ลอ ยคลิก - เมื่อ Drag เมาสไปถึงเซลลสุดทายท่ีตองการแลวจึงปลอยคลิก สังเกตเซลลท่ีไดทําการ Drag จะเกิดแถบสขี ึน้ ดังรปู

ภาพที่ 2.40 กลมุ เซลลท ่ีไดท ําการ Drag เมาสเพ่ือทาํ แถบสี หากตองการเลือกกลุมเซลล ที่ไมติดกัน สามารถใชการ Drag เมาสรวมกับการกดปุม Ctrl คางไว เพ่ือทําใหสามารถดําเนินการ Drag เมาสยังกลุมเซลลอื่นที่ตองการไดในครั้งเดียวกัน ปฏิบัติ ดงั นี้ - Drag เมาสก บั กลมุ เซลลท ี่ตอ งการเลือกกลมุ แรก - กดปุม Ctrl คางไว - Drag เมาสกับกลุมเซลลกลุมท่ีสองหรือกลุมอื่นท่ีตองการ สังเกตจะเกิดแถบสีเปนกลุมๆ ใหเ ห็น ดงั รูป

41

ภาพที่ 2.41 การ Drag เมาสเลอื กกลุมเซลลท ่ไี มตอ เนื่องกัน รวมกบั การใชป มุ Ctrl

2.7.16 การเลือกทั้งแถว (Row) 1. คลิกท่ชี อ่ื หัวแถวทีต่ อ งการเลอื ก สงั เกตจะเกดิ แถบสีทง้ั แถวท่ีเลือก ดังรูป

ภาพท่ี 2.42 การเลือกกลุมเซลลท ้ังแถว 2.7.17 การเลอื กท้ังคอลัมน (Column)

1. คลิกทชี่ ื่อหวั คอลมั นทตี่ องการเลอื ก สังเกตจะเกิดแถบสที ้ังคอลมั นท เี่ ลอื ก

ภาพท่ี 2.43 การเลือกกลมุ เซลลทั้งคอลมั น 2.7.18 การเลอื กขอ มลู ทง้ั Work Sheet

1. คลิกที่เซลลมุมบนดานซายของจุดตัดกันของหัวแถวและหัวคอลัมน หรือกดปุม Ctrl+A ดงั รปู

42

คลิกที่ตรงนี้

ภาพที่ 2.44 การเลือกขอมลู ทงั้ Work Sheet

2.7.19 การกาํ หนดคณุ สมบัติเฉพาะใหกับเซลลใ นการแสดงคา หรือทัง้ กลุมของเซลลทต่ี องการ การกาํ หนดคณุ สมบตั ิเฉพาะใหกับเซลล เพื่อใหเซลลน ั้นรบั ขอมูลท่ถี ูกตองตามชนิดของขอมูล

และทําใหการแสดงผลทางหนาจอมีความถูกตองเหมาะสมตามทตี่ องการ มขี ัน้ ตอนปฏบิ ัติดังน้ี 1. ทําการ Drag เลือกกลุมเซลลท ่ตี อ งการ หรือคลิกเซลลท่ตี อ งการเพื่อใหเกดิ กรอบสเ่ี หลี่ยม

เขมลอมรอบเซลลท ีต่ องการ 2. คลกิ เมนู Format -> Cells จะเกิด Format Cells Dialog ดังรูป

ภาพท่ี 2.45 การกาํ หนดคุณสมบัตขิ องเซลลท่ีเก่ียวกับการแสดคา ตวั เลขแบบตางๆ 3. หากตองการปรับคุณสมบตั ิในการแสดงตวั เลขใหเปนแบบตางๆ เชนตองการใหแ สดงผล เปน ตวั เลขทศนยิ ม 2 ตําแหนง เชน 100.50 ปฏิบัตดิ งั นี้

- คลิกเมนูยอย Number ->เลือก Category เปนแบบ Number -> ในสวน Decimal Places ใหคลิกเลอื กเปนเลข 2 - หากตองการใหตัวเลขมีการใช comma ค่ันเมื่อถึงหลักพัน ใหคลิกในกลองของ use 1000 Separators(,)

43

- หากตองการใหเซลลมีการแสดงเลขจํานวนลบในรูปแบบตาง ใหคลิกเลือกรูปแบบไดใน สว น Negative Numbers - คลิก OK เพ่อื ให Excel กาํ หนดคณุ สมบตั ใิ หกบั เซลล หรือ Cancel เพอื่ ยกเลกิ ** ขอสังเกต*** ในสวนของการปรับคุณสมบัติ Number จะมีสวน Sample ใชเพ่ือแสดง ลกั ษณะของขอ มลู เม่อื ไดเ ลอื กรปู แบบ Number แตล ะ Category 4. หากตอ งการปรับคุณสมบัติในการจัดรูปแบบของขอมลู ในเซลล ใหช ิดซา ย ชิดขวา อยตู รง กลาง ตางๆ หรอื ใหขอ ความเอียงไปตามองศาทต่ี อ งการ เพ่ือใหเกดิ ความสวยงาม ปฏบิ ัติดังนี้ 1. คลิกเมนูยอ ย Alignment จะมีตวั เลอื กท่จี ะพิจารณาดังน้ี

- สวน Text alignment เปน การกาํ หนดใหก ารจัดวางขอ ความอา งอิงตาํ แหนงการจัด ในแนวนอน(Horizontal) และแนวตง้ั (Vertical) ตาํ แหนง ไหนบา ง โดยมีตวั เลือกคลิก เลือกได - สวน Orientation เปนการกําหนดใหขอมูลที่อยูในเซลลมีการปรับเอียงเปนองศา ใดบา ง จะอยูในชวง -90 ถงึ 90 องศา - สวน Text control เปนการกําหนดใหรูปแบบของเซลลขอมูลท่ีแสดงเปนแบบ ตา งๆ เชน คลกิ Merge Cell จะนําเซลลท ี่ทาํ แถบสีทัง้ หมดรวมเปนเซลลเดียวกัน 2. คลกิ OK เพือ่ ให Excel กาํ หนดคณุ สมบตั ิใหก ับเซลล หรอื Cancel เพื่อยกเลิก

ภาพท่ี 2.46 การกาํ หนดคุณสมบตั ิเซลลในการจัดวางรปู แบบของขอ มูลในเซลล 3. หากตองการปรบั คณุ สมบตั ขิ องตวั อกั ษรที่แสดงในเซลลใหเปนรปู แบบตาง ๆ ปฏิบัติดังน้ี 1. คลิกเมนยู อย Font มตี ัวเลือกทจี่ ะพิจารณาเหมอื นกับ โปรแกรม Word ดงั นี้

- สวน Font เปน สว นทีใ่ ชกาํ หนดรปู แบบของตวั อักษร - สวน Font Style เปนสวนท่ีใชกําหนดลักษณะของตัวอักษร ใหเปนตัวหนา (Bold), ตัว เอยี ง (Italic), ตัวปกติ (Regular)

44

- สวน Underline เปนการกาํ หนดใหขอความมีการขีดเสนใต โดยมีตัวเลอื ก 2 กลุมคอื เสน เดี่ยว (Single) และเสนคู (Double) สังเกตคําที่มี Accounting ตามทาย จะกําหนดใหขอมูลไมถูก เสนใตขดี ทับ

- สว น Color เปนสว นทกี่ าํ หนดสใี หก บั ตวั อกั ษรในเซลลตามตอ งการ - สวน Effect เปนสวนที่ทําใหตัวอักษรเกิดลักษณะที่แตกตางจากปกติ เชน ตัวยก (Superscript) , ตั ว ห อ ย ( Subscript) แ ล ะ ตั ว ท่ี มี ขี ด เ ส นตั ด ก ล า ง ตัว อั ก ษ ร ใ นแ นว นอน (Strikethrough) 2. คลกิ OK เพื่อให Excel กาํ หนดคุณสมบัตใิ หก ับเซลล หรอื Cancel เพ่อื ยกเลิก ** สังเกต*ุ * ในการปรับแตล ะสว นใหด ู Preview ประกอบดวย

ภาพท่ี 2.47 การกาํ หนดคุณสมบตั ิของตัวอกั ษรของขอมลู ในเซลล 3. หากตอ งการปรบั คณุ สมบัตขิ องเซลลกําหนดกรอบ (Border) ใหแ กเ ซลล ปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 1. คลกิ เมนยู อ ย Border มตี ัวเลือกท่จี ะพจิ ารณา ดงั นี้ - สวน Presets มีตัวเลือกในการตีกรอบได 3 แบบ คือ none คือไมมีการตีกรอบหรือยกเลิก การตีเสน กรอบ , Outline คอื ตีเสน กรอบลอมรอบกลุมขอมลู ที่เลือก และ Inside คือ ตเี สนกรอบกับ เสนตดั ของกลุมเซลล - สวน Border เปนสวนที่กําหนดใหผูใชตีเสนเองโดยการคลิกเมาสในรูปที่ตองการ สังเกตวา จะมขี อบดานท่ีเขมดา นใด เม่อื คลกิ ก็จะตีเสน ใหก ับเซลลด านน้นั เชนกนั - สวน Line เปนการกาํ หนดรปู แบบของเสนทีน่ ํามาตีกรอบได - สวน Color เปนสวนท่ีกําหนดสีใหกับเสนกรอบท่ีตองการ แตมีขอกําหนดคือ ตองมีการ กําหนดสีกอนการตเี สนกรอบ 2. คลิก OK เพอ่ื ให Excel กําหนดคุณสมบตั ิใหก บั เซลล หรอื Cancel เพ่อื ยกเลกิ

45

สวนของเซลลท ี่แสดงให เหน็ เม่ือมีการสั่งตีกรอบ ในแบบตางๆ

ภาพท่ี 2.48 การกาํ หนดคุณสมบตั ขิ องเซลลโดยการตีกรอบ 4. หากตองการปรบั คุณสมบตั ิของเซลลกาํ หนดสพี ้ืนใหแกเซลล ปฏิบัติดังนี้ 1. คลิกเมนยู อย Patterns -> ในสว น Cell Shading -> กําหนดสีพน้ื ท่ตี อ งการ ** หากตองการใสรูปแบบของพ้ืนสามารถเลือกไดท ี่ Patterns 2. คลกิ OK เพ่ือให Excel กาํ หนดคุณสมบตั ใิ หกับเซลล หรอื Cancel เพื่อยกเลิก

ภาพท่ี 2.49 การกาํ หนดคุณสมบตั เิ ซลลใ นการใสส ีพื้นใหกับเซลลท ี่ตอ งการ 2.7.20 เริม่ ทาํ การคํานวณ กบั Ms Excel 2.7.20.1 การใสขอมูลตัวเลขใหแกเซลล และเทคนิคการใสขอมูลตัวเลขแบบ Fill โดยการให ตวั เลขเลื่อนคา อัตโนมตั ิ

การใสขอมูลดิบใหกับเซลลสามารถปอนขอมูลเขาไปในเซลลไดเหมือนกับการปอนขอมูล ตัวเลข หรือขอความท่ัวไป แตกอนท่ีจะมีการคํานวน จําเปนที่จะตองมีขอมูลดิบนี้เสียกอน หาก พิจารณาลักษณะขอมูลดิบที่จะตองสรางใน Work Sheet แลวเห็นวาเปนกลุมตัวเลขที่มีคาที่

46

เรียงลําดับตอเนื่องกัน อาจเปนตามแนวนอน หรือตามแนวตั้ง มีวิธีการสรางขอมูลดิบท่ีเปนลักษณะ ตวั เลขที่มีความตอ เน่อื งกันนน้ั ไดง า ย โดยการปฏิบตั ดิ งั น้ี

1. พมิ พขอ มลู ดบิ ที่เปน ตัวเลขลงในเซลลเริม่ ตน นนั้ 2. คลกิ เมาสท เี่ ซลลที่มีขอมูลตัวเลข -> เล่อื นเมาสมาท่ีมุมลางดานขวาของเซลลคลิกซายคาง ไว ->กดปุม Ctrl คางไว -> Drag เมาสลงมาในแนวดิ่ง (คอลัมนเดียวกัน) หรือในแนวนอน (แถว เดียวกัน) เพื่อใหคาตัวเลขที่จะใสในเซลลใหมท่ีเมาส Drag ผานมีคาที่ถูกสรางอัตโนมัติมีคาตอจาก ขอมูลเริ่มตนโดยจะเพ่ิมคาทีละ 1 ไปเรื่อยๆ ตามจํานวนของเซลลที่ Drag ผาน -> ปลอยคลิกเม่ือถึง ตําแหนงที่ตองการจบการสรางขอมูล ** สังเกต** เม่ือกดปมุ Ctrl สงั เกตที่เมาสจ ะมเี ครื่องหมายบวก (+) เลก็ ๆ เพ่อื รอการเพิ่มคาขอมูลที ละ 1 อัตโนมัติ 2.7.20.2 จากการการใสขอมูลตัวเลขแบบ Fill โดยการใหตัวเลขเล่ือนคาอัตโนมัติ ขางตน มีอีก วิธหี น่งึ ในการใสข อมูลอัตโนมัติ (Auto Fill) มวี ิธกี ารดงั นี้

1. พมิ พข อ มูลตนฉบบั 1 Cell ถาเปนตวั เลขลําดับพิมพ 2 Cell 2. เลอื กตน ฉบับ 3. เลอื่ นเมาสไปมุมลางขวาตรงจุดส่เี หล่ียมจนเมาสเ ปลย่ี นเปน + 4. คลิก drag ลง/ ขน้ึ / ขวา/ ซา ย ตามตองการ 2.7.21 การพจิ ารณาถึงชวงขอ มลู ทีส่ นใจ (Range of Data) สําหรบั การนํามาคํานวณ 2.7.21.1 การใชเครอื่ งหมาย : (Colon) เพ่ือระบถุ งึ ชว งของขอ มลู ท่ตี องการ ในการอางถึงชวงขอมูล (Range) ที่ตองการสําหรับนํามาคํานวณ สามารถนําชื่อเซลล และ เคร่ืองหมาย : (Colon) มาใชรวมกนั มรี ูปแบบดังนี้ ตําแหนง เรมิ่ ตน ของกลุมขอมลู : ตาํ แหนง สดุ ทายของกลุมขอมูล เชน กลมุ ขอมลู เริ่มทเ่ี ซลล A1 ถงึ เซลล B5 สามารถเขยี นชวงขอมูลนี้คอื A1:B5 ดงั รูป

ภาพที่ 2.50 แสดงการอางถึงชวงของขอมลู โดยใชเ ครือ่ งหมาย Colon

47

2.7.22 การคํานวณภายใน Work Sheet เดียวกัน

2.7.22.1 การคาํ นวณพื้นฐาน (จะตองมีเครื่องหมาย = ) ในการกําหนดใหโปรแกรม Excel ทําการคํานวณคาท่ีตองการไดนั้น จะตองมีการปอนสูตร

เขาไปใหแกเซลลท่ีตองการใหมีการคํานวณ ซึ่งเซลลน้ันจะตางกับเซลลขอมูลท่ัวไปตรงที่เซลลท่ีจะมี การคาํ นวณจะตอ งมเี คร่ืองหมาย = อยูใ นเซลลข อมูลดว ยโดยจะอยูท ่ีชดิ ซา ยของเซลลน น้ั ๆ เสมอ แลว ถัดจากเคร่อื งหมาย = จะเปน สตู รตางๆ ท่ใี ชในการคาํ นวณเพอ่ื ใหไดผ ลลพั ธต ามตองการ เครอื่ งหมาย \= จะเปนสิ่งท่ีบอกใหโปรแกรม Excel รูวาเม่ือมีผลลัพธที่ไดจากการคํานวณของเซลลนี้แลวจะสง ผลลพั ธท ไี่ ด ผานเครื่องหมาย = แสดงออกมาท่เี ซลลนั้น ๆ 2.7.22.2 เคร่อื งหมายทางคณิตศาสตรทใี่ ชใ นการคํานวณท่ีควรรู

ในการคํานวณของ โปรแกรม Excel น้ันสามารถนําเคร่ืองหมายทางคณิตศสตรพ้ืนฐานมาใช รวมกับการกําหนดสูตรเพ่ือคํานวณได นอกเหนือจากน้ันโปรแกรม Excel ยังมีฟงกชันสําเร็จรูปท่ี สามารถนํามาใชใ นการคํานวณไดอ ยางสะดวกและไมซับซอน เครื่องหมายคณิตศาสตรท่ีใชใน Excel มีดงั นี้

- เครื่องหมาย + (บวก) เชน = A1+A2 - เครอื่ งหมาย - (ลบ) เชน = B5-F5 - เครอ่ื งหมาย * (คณู ) เชน = E8*A3 - เครอื่ งหมาย / (หาร) เชน = D5-D1 - เคร่ืองหมายตดิ ลบ (Unary Operator) เชน = -A10 - เคร่อื งหมาย ^ (ยกกาํ ลัง) เชน = A1^A5

2.7.23 การคํานวณโดยการหาผลรวม (summation) สําหรับการคํานวณเพื่อหาผลรวมของกลุมตัวเลขที่ตองการ สามารถนําเครือ่ งหมาย บวก มา

ใชรวมกับการอางถึงชื่อเซลลท่ีตองการนํามาหาผลรวม คิดเหมือนการต้ังสมการผลบวกของตัวแปร นั่นเอง มวี ธิ ปี ฏิบัตดิ งั น้ี

ตวั อยา ง หาผลรวมของกลมุ เซลล A1, A3, B1, B5 และ B6 แสดงผลลพั ธท่เี ซลล D1 1. คลกิ เซลลท ตี่ อ งการใหแสดงผลลพั ธ 2. ปอนสูตร = A1+A3+B1+B5+B6 ลงไปในเซลล D1 ซ่ึงการปอนสูตรสามารถปอนได 2 ทาง ดังน้ี - ปอนสูตรโดยพมิ พไ ปทเี่ ซลล D1 - ปอ นสตู รโดยพมิ พไปที่แถบสูตร แตท ้งั นต้ี อ งนาํ เมาสค ลกิ ทีเ่ ซลล D1 กอนการพมิ พสูตร

48

** สังเกต ** เมอื่ อา งถึงชอื่ เซลลในสูตรจะเกิดกรอบสีลอมรอบเซลลน นั้ ๆ เพอื่ ใหผ ปู อ นเหน็ วา เปนเซลลท่ีเลอื ก

3. เมอ่ื ปอนสตู รเสรจ็ แลว ใหกดปุม enter เพือ่ จบการปอ นขอ มลู ลักษณะดงั รปู ปอนสูตรผานแถบสตู ร

ปอ นสูตรท่ีเซลล D1

ภาพที่ 2.51 การปอนสูตรสําหรบั การหาคาผลรวมของกลุมเซลลโดยใชเ ครอ่ื งหมายคณิตศาสตร 2.7.24 การคํานวณโดยใชฟ ง กช ันของ โปรแกรม Excel 2.7.24.1 การเรียกใชฟงกชันของ Ms Excel ขอสังเกตในการใชฟงกชันจาก Insert Function Dialog สาํ หรบั การใชงาน เพ่อื การศกึ ษาดว ยตวั เอง

เม่ือผูใชสามารถท่ีจะกําหนดใหเซลลของ Excel ทําการคํานวณแบบพ้ืนฐานโดยสูตรใช เครื่องหมายทางคณิตศาสตรไดแลว แตบางคร้ังการคํานวณจะกระทํากับขอมูลท่ีมีขนาดใหญและมี การอางถึงช่ือเซลลที่มีจํานวนมาก อาจทําใหการพิมพสูตรมีความยาวและเกิดขอผิดพลาดข้ึนไดงาย โปรแกรม Excel ไดมีการออกแบบฟงกชันสําหรับอํานวยความสะดวกในการคํานวณมาใหมากมาย เพื่อใหเลือกใชไดอยางเหมาะสมกบั งานที่ตองการ แตท ัง้ นกี้ อ นทจี่ ะมีการใชฟงกชันของ Excel จาํ เปน ทจี่ ะตองรูว ิธกี ารใชง านฟง กชนั ของ Excel รว มกบั การคํานวณ มขี อ ปฏบิ ัตดิ งั นี้

1. คลิกเมนู Insert -> คลิก Function จะเกิด Insert Function Dialog ดังรปู

49

ภาพท่ี 2.52 แสดงสว น Insert Function Dialog ในสวน Search for a function: เปนสวนท่ีผูใชสามารถพิมพคําสําคัญท่ีใชบอกให Excel คนหาฟงกชันท่ีเก่ียวของกับคําสําคัญนี้ หากผูใชพิมพเสร็จ ใหคลิกปุม Go หาก Excel คนหา ฟงกชันท่ีเก่ียวของกับคําสําคัญท่ีปอน ก็จะแสดงผลลัพธเปนชื่อฟงกชันใหผูใชเลือก เชน ปอนคํา สาํ คญั ลงไป คือ Summation ผลที่ไดจะปรากฎที่ชอ ง Select a function เปนช่อื ฟง กชนั SUM และ ใหส ังเกตท่ี Or select a category น้ัน จะแสดงเปนคาํ วา แนะนํา (Recommended) ดงั รูป

แสดงโครงสรา งของ ฟง กชนั อารกิวเมนของ ฟง กช ัน และคําอธบิ าย หนาท่ฟี ง กชัน ภาพที่ 2.53 แสดงการปอนคําสําคัญ summation เพื่อให Excel คนหาฟง กช นั ท่ีเกี่ยวของให ในสวน Or select a category: เปนกลุมประเภทของสายงานท่ีผูใชตองการหรือเก่ียวของ เชน Statistic, Accounting เปนตน เมื่อเลือกประเภทของสายงานแลว ในสวนของ select a function จะปรากฎชื่อของฟงกช ันที่เก่ียวกับสายงานน้นั ออกมาใหเลือก ** ใตช องแสดงผล select a function น้ันจะเหน็ วา เปนเหมือนกับ การแสดงโครงสรา งของ ฟง กช นั ที่ผใู ชส ามารถท่จี ะดูรปู แบบวาฟงกชันจะมีการรับคาอยางไร และฟงกชนั ทําหนาท่ีอะไรได ซึ่ง ตรงนี้จะมีประโยชนตอ ผูใช ในกรณีท่ีตองการใชฟงกชันใหมๆ ที่ไมเคยเรียนในหอง หรืออาจารยไมได สอน กส็ ามารถจะศกึ ษาใชงานดวยตัวเองได

50

ในสวน Help on this function เปนสวนที่แสดงถึงตัวชวยเหลือในกรณีท่ีผูใชตองการ เรยี นรูถงึ ตัวอยา งการใชฟง กช ันทไี่ ดค ลกิ เลอื กเพ่อื ทําความเขาใจ ได

2. เมื่อคลิกเลือกแลวพบฟงกชันท่ีตองการแลว ใหคลิกปุม OK เพ่ือดําเนินการใชฟงกชันน้ัน ตอ ไป

คํานวณหาคา ผลรวมโดยใชฟงกช นั SUM ตวั อยา ง ตอ งการหาคาผลรวมของ เซลล A1, A3, B1 ,B5 และ B6 โดยการใชฟงกช ัน

1. ผใู ชจ ะตองรูวา ตองการทํางานอะไรอยขู ณะนี้เพ่ือนาํ มาพิจารณาเลือกฟง กช นั ใหเหมาะกับ ความตองการ จากตัวอยาง ตองการหาคาผลรวม คําสําคัญที่นําไปใชในการหาฟงกชันไดคือ Summation, Sum

2. คลิกเมนู Insert -> Function แลวปอนคําสําคัญ Summation หรือ sum ลงในสวน search -> คลกิ ปุม GO

3. ดูในสวน select a function จะเห็นมีฟงกชันช่ือ SUM และมีรูปแบบการใชงานพรอม คาํ อธิบายหนา ทขี่ องฟงกชัน ใหคลิกทีฟ่ ง กช ัน SUM

4. คลกิ ปุม OK จะเกดิ Function Argument Dialog เพ่ือใหผใู ชป อ นคา ลงในฟงกช ัน ดงั รูป

ภาพท่ี 2.54 แสดงการปอ นอารกิวเมนตใหก บั ฟงกช ัน SUM 5. ในชอง SUM ใหพิมพอารก ิวเมนตล งในชองขอมูล Number1 หรอื Number2 แตขอมูล ท่ีตองการใหฟงกชันคํานวณมีมากกวา 2 จํานวน ในชอง Number1 สามารถรับคาอารกิวเมนตได มากกวา 1 ตวั แตการแยกอารกวิ เมนตแ ตล ะตัวใหใชเครอื่ งหมาย ( , ) comma เปน ตัวค่ัน 6. เม่ือปอนอารกวิ เมนตเสรจ็ ใหกดปมุ OK เพ่อื จบการทํางาน ผลลัพธจะไดดงั รูป 7. เมื่อนาํ เมาสค ลกิ ท่เี ซลล D1 จะไดผลลัพธปรากฏข้นึ และท่ีแถบสูตรแสดงสูตรทใ่ี ชฟ งกชัน SUM ใหเหน็