การ รักษา โรค ออฟฟิศ ซิ น โดร ม

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) เป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นกับคนที่ทำงานในออฟฟิศ เนื่องจากลักษณะงานที่ต้องนั่งหน้าคอมพิวเตอร์หรือทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยท่าทางซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนอาจส่งผลให้เกิดโรคและอาการผิดปกติในระบบต่างๆ ของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบการย่อยอาหารและการดูดซึม ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบฮอร์โมน นัยน์ตา

ปัจจัยที่ทำให้เกิดกลุ่มอาการในสำนักงาน (Contributing Factors of Office Syndrome)

  • Poor Ergonomics หรือท่าการนั่งทำงานที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ ปัจจัยที่ตัวบุคคล เช่น การนั่งหลังค่อมหน้ายื่น โต้ะ เก้าอี้ ที่ไม่เหมาะสมกับการนั่งนานๆ การวางแท่นพิมพ์คอมพิวเตอร์ที่ไม่ได้ตำแหน่งที่ดี
  • งานด่วน ยุ่งตลอดทั้งวัน หาเช้ากินค่ำ
  • รับโทรศัพท์ทั้งวัน
  • ความเครียด
  • ทำงานนั่งโต๊ะ (Sedentary Workers)
  • นั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
  • อยู่ในท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานาน
  • มีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างรวดเร็วไปมา
  • สำนักงานสมัยใหม่อยู่ในสิ่งแวดล้อมปิด

การ รักษา โรค ออฟฟิศ ซิ น โดร ม

กลุ่มอาการปวดที่เกิดจากการทำงานในสำนักงาน Office Syndrome, Office Aches

  • อาการปวดคอ ปวดไหล่
  • ปวดศอกและข้อมือ
  • มือชา
  • นิ้วติดนิ้วล็อค (Trigger Finger) จากการใช้ Mouse
  • ปวดหลัง, บริเวณบั้นเอวและหลังช่วงล่าง
  • ปวดศีรษะ ปวดท้ายทอย
  • นอนไม่หลับ

การดูแลรักษา Office Syndrome

  • ตระหนักถึงปัญหา สาเหตุ และเน้นการป้องกัน
  • การพักเป็นช่วงๆ
  • ปรับเปลี่ยนอิริยาบทบ่อยๆ
  • การปรับเปลี่ยน Ergonomics ให้เหมาะสมกับสภาวะงานแต่ละอย่าง
  • การออกกำลังกาย ได้แก่ – การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Streching Exercise) – การเพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ (Strengthening Exercise – การออกกำลังกายแบบแอโรบิก เช่น ว่ายน้ำ Jogging หรือปั่นจักรยาน (Aerobic Exercise)

การ รักษา โรค ออฟฟิศ ซิ น โดร ม

การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

  • หลีกเลี่ยงการอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานานๆ
  • หลีกเลี่ยงการก้มเงย หรือเอี้ยวบิดที่มากเกินไป
  • หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำซ้ำๆ และเป็นสาเหตุของอาการปวด เช่น การยกของหนัก
  • คิดก่อนที่จะทำ เช่น หากต้องยกของหนัก ควรย่อแล้วยก เกร็งหลังและหน้าท้อง ไม่ก้มยกแบบเร็วๆ ควรใช้อุปกรณ์​ หรือคนช่วย
  • ปรับโต๊ะ เก้าอี้ จอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ให้เหมาะสม
  • นั่งเก้าอี้ที่มีพนักพิงหลัง
  • ที่นอนที่แน่นแข็งพอประมาณ (Firm) ไม่ยวบจม เป็นแอ่ง
  • บริหารยืดกล้ามเนื้อบ่อยๆ

สัญญาณอันตรายที่ต้องไปพบแพทย์

  • มีประวัติอุบัติเหตุรุนแรงมาก่อน
  • ผู้สูงอายุ
  • มีภาวะกระดูกพรุน
  • มีโรคประจำตัว เช่น มะเร็ง มีประวัติโรคติดเชื้อนำมาก่อน กินยาชุด สมุนไพร ยาหม้อ สเตียรอยด์ หรือยาหลายชนิดเป็นประจำ โรคเบาหวาน เป็นต้น
  • ไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย น้ำหนักลด
  • ดูแลตนเองเบื้องต้นแล้วไม่ดีขึ้น
  • กระดูกสันหลังผิดรูป เอียง คด ค่อม
  • ปวดมาก นอนพักไม่หาย หรือปวดมากตอนกลางคืน
  • มีอาการชามือ ชาแขน ชาขา ชาเท้า ชารอบก้น
  • แขน/ขา/มืออ่อนแรง
  • อุจจาระปัสสาวะไม่ออก เล็ดราด
  • ปวดเรื้อรัง และมากขึ้นเรื่อยๆ

การักษาและป้องกัน

  • การป้องกัน ได้แก่ การหลีกเลี่ยงกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น และปรับเปลี่ยนสภาวะสิ่งแวดล้อม รวมถึงตัวบุคคลให้เหมาะสมกับงาน หรือกิจกรรมที่ต้องทำเป็นประจำ
  • การรักษา – ยา : ได้แก่ กลุ่มลดปวด คลายกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบ (ควรทานยาตามคำสั่งแพทย์) – การประคบเย็น หรือร้อน เบื้องต้นตามสถานการณ์ – การยืดเหยียดบริหารกล้ามเนื้อ แต่ละส่วน – หากทำทั้งหมดดังกล่าวไม่ดีขึ้น ควรพบแพทย์เฉพาะทาง เพื่อรับการรักษาและการกายภาพบำบัดด้วยเครื่องมือ หรือเทคนิคที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล

Post Views: 4,463

ผู้ที่เขียนบทความ

การ รักษา โรค ออฟฟิศ ซิ น โดร ม

แพทย์ที่ปรึกษาทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูและกายภาพบำบัด โรงพยาบาลไทยนครินทร์

ออฟฟิศซินโดรม ด้วยตัวอาการแล้วไม่ได้จัดว่าเป็นโรค แต่เป็นกลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูกสันหลัง เนื่องจากการนั่งทำงานอย่างไม่เหมาะสม พบได้บ่อยในพนักงานออฟฟิศที่มักใช้เวลานั่งทำงานนาน ๆ ในท่าเดิม ๆ หน้าจอคอมพิวเตอร์ ทำให้มีอาการออฟฟิศซินโดรมโดยไม่รู้ตัว

อาการออฟฟิศซินโดรม

  • ปวดคอ ไหล่ หลัง หัวเข่า
  • รู้สึกเสียวหรือชาที่นิ้ว แขน และขา
  • กล้ามเนื้อตึงล้า
  • เส้นเอ็นบวมอักเสบ เช่น เอ็นข้อศอกด้านนอกอักเสบ (Tennis elbow) เอ็นข้อมืออักเสบ
  • ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
  • ตาแห้ง
  • อ่อนเพลีย
  • นอนไม่หลับ
  • ซึมเศร้า

สาเหตุของออฟฟิศซินโดรม

หลัก ๆ แล้ว ออฟฟิศซินโดรม เกิดจากสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสม โต๊ะทำงานที่เตี้ยเกินไปและตำแหน่งคอมพิวเตอร์และคีย์บอร์ดที่ไม่เหมาะสมทำให้ต้องนั่งทำงานในท่าที่ฝืนธรรมชาติ การที่นั่งหลังค่อมห่อไหล่จะทำให้กล้ามเนื้อหดตัวอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้กล้ามเนื้อส่วนแกนกลางลำตัวอ่อนแอลงอย่างช้า ๆ และกล้ามเนื้อส่วนอื่นตึงมากขึ้น การจ้องจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ ยังทำให้ตาแห้งและปวดศีรษะได้ นอกจากนี้ยังส่งผลต่ออาการทางจิตใจ เช่น ภาวะซึมเศร้า นอนไม่หลับ และรู้สึกอ่อนล้าได้

การรักษาออฟฟิศซินโดรม

วิธีการรักษานั้นแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับอาการและบริเวณที่เกิดอาการ โดยวิธีการรักษามักประกอบด้วยการใช้ยา การทำกายภาพบำบัด การบริหารร่างกาย หรือการรักษาทางเลือก เช่น การฝังเข็ม เป็นต้น

วิธีป้องกันออฟฟิศซินโดรม

การป้องกันกลุ่มอาการออฟฟิสซินโดรมนั้นง่ายกว่าการรักษาอาการและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น การจัดสถานที่นั่งทำงานใหม่เพียงเล็กน้อยและการเปลี่ยนแปลงนิสัยการนั่งทำงานให้ดีขึ้นจะช่วยป้องกันการเกิดอาการออฟฟิศซินโดรมได้

  • การจัดท่าทางการทำงานให้เหมาะสม โดยการนั่งหลังตรง ไม่ห่อไหล่ คางไม่ยื่น จะช่วยให้กระดูกสันหลังอยู่ในท่าทางที่เหมาะสม การจัดท่าทางของร่างกายตอนทำงานให้ถูกต้องนั้นถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง
  • การปรับเปลี่ยนท่านั่งบ่อย ๆ การเปลี่ยนท่านั่งทุก 1 - 2 ชั่วโมง จะช่วยคลายอาการล้าของกล้ามเนื้อ และป้องกันการนั่งงอตัว ควรปรับมุมที่นั่งให้เหมาะสม และหลีกเลี่ยงการนั่งตรงขอบเก้าอี้
  • การออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที 3 ครั้ง ต่อสัปดาห์ และเพิ่มการออกกำลังกายที่เสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแกนกลาง ซึ่งจะช่วยให้ท่าทางของร่างกายดีขึ้น
  • การจัดโต๊ะตามหลักการยศาสตร์หรือ Ergonomics โดยให้หน้าจอคอมพิวเตอร์ และคีย์บอร์ดอยู่ด้านหน้า จอคอมพิวเตอร์ควรอยู่ในระยะที่แขนเอื้อมถึง ความสูงในระดับสายตาหรือต่ำกว่าระดับสายตาเพียงเล็กน้อย ซึ่งปัจจุบันมีโต๊ะทำงานที่ปรับระดับได้ ทำให้นั่งหรือยืนทำงานได้
  • การหยุดพักเป็นระยะ อย่าลืมที่จะหยุดพักระหว่างวันเพื่อพักสายตา และใช้เวลานี้เดินหรือยืดเส้นยืดสายคลายกล้ามเนื้อที่ตึงจากการนั่งทำงานเป็นเวลานาน ๆ

การปฏิบัติตามคำแนะนำดังกล่าวสามารถช่วยลดความเสี่ยงที่จะเกิดออฟฟิศซินโดรมและทำให้สภาพแวดล้อมการทำงานเหมาะสมมากยิ่งขึ้น

โรคออฟฟิศซินโดรม หายเองได้ไหม

ออฟฟิศซินโดรมนั้นสามารถรักษาได้ โดยต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ป่วยเป็นหลักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันและการทำงาน ร่วมกับการรักษากับแพทย์เฉพาะทาง โดยวิธีการรักษานั้นมีหลายวิธีประกอบไปด้วย

ออฟฟิศซินโดรม มีกี่ระดับ

หลายคนอาจลองค้นหาวิธีแก้ อาการออฟฟิศซินโดรมด้วยตนเองมาบ้างแล้ว จะพบว่าส่วนใหญ่ก็มักจะแนะนำให้เราเริ่มจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามมาด้วยท่าบริหารร่างกายเพื่อป้องกันหรือทุเลาอาการ และหากไม่ดีขึ้นจริง ๆ จึงค่อยไปปรึกษาแพทย์ ซึ่งเมื่อแบ่งเป็นหมวดหมู่ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น จะแบ่งเป็น 3 ระยะ

รักษาโรคออฟฟิศซินโดรม ที่ไหนดี

รวมคลินิกรักษาอาการปวดหลัง จากออฟฟิศซินโดรม.

Kongju Clinic. 891. ... .

แมนดาริน คลินิกฝังเข็มเวชกรรม เลียบทางด่วน-ทาวน์อินทาวน์ ... .

PK Physical therapy clinic. ฝังเข็ม ... .

Suankwangtung Clinic. ... .

คลินิกกายภาพบำบัดนวมินทร์ 85. ... .

OSS Lounge. ... .

All Care Clinic รักษาออฟฟิศซินโดรม ปวดคอบ่าไหล่ ปวดเข่า ปวดหลัง โดยแพทย์ ... .

Wellnex คลินิกกายภาพบำบัด.

ออฟฟิศซินโดรม อันตรายไหม

เนื่องจากโรคออฟฟิศซินโดรม เป็นโรคที่เกิดจากกล้ามเนื้อที่ตึงตัวมากเกินไปจนเกิดเป็นอาการปวดตามบริเวณต่างๆ ขึ้น แต่ไม่ได้ส่งผลกระทบรุนแรงถึงชีวิต เพราะไม่ได้มีการกดทับเส้นประสาทจนทำให้เกิดเป็นความพิการถาวร แต่หากเป็นนานๆ หรือเป็นมากขึ้นๆ เพราะพฤติกรรมการใช้ชีวิต รวมถึงการขาดการออกกำลังกาย ขาดการยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่ใช้ ...