การเพาะเห นฟางง ายๆท ม ว สด เหล อใช

กล้วย ฯลฯ แต่นิยมใช้ฟางข้าวมากท่ีสุด ซึ่งอาจใช้ตอซังข้าว หรือเศษฟางก็ได้ เพราะวัสดุเหล่าน้ีหาได้ง่ายมีอยู่ทุก

ทอ้ งทใ่ี นบา้ นเรา

การเพาะเหด็ ฟางสามารถทําได้หลายวิธี ท่ีนิยมนํามาปฏิบัติ คือ การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย การเพาะ

เห็ดฟางแบบกองสูง และการเพาะเห็ดฟางแบบอุตสาหกรรม

(1) การเพาะเห็ดฟางแบบกองเต้ีย การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยเป็นท่ีนิยมกันมาก เนื่องจากเป็นวิธีท่ี

ประหยัดฟางและไมจ่ าํ เป็นตอ้ งใช้ตอซังข้าว จงึ สามารถเพาะได้ทกุ ฤดแู มจ้ ะไม่มตี อซงั ก็ตาม นอกจากน้ี เกษตรกรยงั

สามารถใช้ วัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรหลายชนิดนํามาเพาะเห็ดได้ เช่น เศษฟาง เศษหญ้า ผักตบชวา ต้นกล้วย

ฯลฯ วิธีการปฏบิ ัตสิ ามารถทําได้งา่ ยสะดวกและรวดเรว็ กวา่ แบบอ่ืน

1. อปุ กรณ์ ประกอบดว้ ย

1.1 วัสดุหลักท่ีใช้ในการเพาะเห็ด อาจเป็นเศษฟาง เศษหญ้า ชานอ้อย ต้นถั่ว หรือจะใช้วัสดุ

ต่างๆ มาผสมกนั ก็ได้

1.2 อาหารเสริม การเพาะแบบกองเตี ้ยมีวัสดุที่ให้ธาตุอาหารน้ อย จึงต้องเพิ่มอาหารเสริม

ให้แก่กองเห็ด อาจใช้กากฝ้าย ไส้นุ่น ผักตบชวาแห้งสับ ฯลฯ เป็นอาหารเสริมและเพื่อเพ่ิมปริมาณธาตุอาหารมาก

ข้ึน ควรนาํ วัสดุทเี่ ป็นอาหารเสริมมาคลุกเคลา้ กับราํ ละเอียดในอัตราส่วน 10:1 จะช่วยเพ่ิมผลผลิตของเห็ดฟางให้

สงู มากขนึ้

1.3 เช้ือเห็ดฟาง ควรเป็นเชื้อเห็ดพันธุ์ดีให้ผลผลิตสูง เชื้อเห็ดไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไปหากไม่

ผลติ หวั เชอ้ื ตามวธิ ีการทกี่ ลา่ วมาแล้ว อาจหาซ้อื จากรา้ นจําหนา่ ยหัวเช้ือท่ีไวใ้ จได้

1.4 แบบพิมพ์ไม้ หรือกระบะไม้ เพื่อใช้อัดวัสดุที่ใช้เพาะให้อยู่ในรูปของแปลง นิยมใช้แบบพิมพ์

เป็นรูปสี่เหล่ียมคางหมู มีขนาดดังนี ้

ดา้ นบน 30 x120 เซนตเิ มตร

ด้านล่าง 40 x150 เซนตเิ มตร

สงู 40 x45 เซนตเิ มตร

1.5 พลาสตกิ คลมุ แปลง เพื่อชว่ ยรักษาความชนื้ และอุณหภมู ภิ ายในแปลง

1.6 แผงคลุมแปลงเพาะเห็ด อาจเป็นเศษฟาง หญ้าคา ใบจาก เพ่ือช่วยบังแสงแดดไม่ให้แปลง

เพาะเกดิ ความรอ้ นสูง

2. ขน้ั ตอนการเพาะ

2.1 นาํ วัสดหุ ลกั และอาหารเสรมิ แช่นา้ํ ท้ิงไว้ประมาณ 2 ชั่วโมง ยกเว้นอาหารเสริมท่ีได้ได้จากมูล

สัตวใ์ ห้ผสมดนิ โดยไม่ต้องแช่นํ้า

2.2 ปรบั พ้ืนดินให้เรียบไม่ให้เป็นหลุมหรือมีน้ําขัง ถากหญ้า พรวนดินรด นํ้าให้ชุ่ม วางแบบพิมพ์

ลงบนดนิ

2.3 ใสฟ่ างลงไปให้หนาประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร ใชม้ ือกดให้แนน่ ไมค่ วรเหยียบรดนาํ้ ให้ชมุ่

2.4 ใส่อาหารเสริม รําละเอียด บริเวณขอบโดยรอบ ให้เป็นแถวห่างจากขอบประมาณ 7-10

เซนตเิ มตร จนรอบ

2.5 โรยเชื้อเห็ดบนอาหารเสรมิ เชื้อเห็ดท่ีใชค้ วรขยใี้ ห้แตกออกจากกนั ก่อน

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา เหด็ เพื่อการคา้ รหสั วิชา 3502 – 2207 ครผู สู้ อน : นางสาวสดุ ารัตน์ ทองไตรภพ

7

เมอื่ ถึงขั้นตอนนถี้ ือว่าเป็นช้ันที่ 1 แล้วทําชั้นต่อไป ทําเช่นเดียวกับชั้นท่ี 1 ไปจนถึง ชั้นท่ี 5 หาก เพาะในฤดูหนาว ซ่ึงจะมีความสูงประมาณ 40 เซนติเมตร แต่ในฤดูร้อนอาจทําเพียง 3 ชั้น หรือมีความสูง ประมาณ 30 เซนติเมตร ในช้ัน สุดท้ายควรโรยอาหารเสริมและเชื้อให้ทั่วผิวหน้าแปลง พร้อมกับใส่เศษฟางหรือ วัสดุท่ีใช้เพาะคลุมทับลงไปแล้วเกล่ียให้สมํ่าเสมอ หนาประมาณ 2-3 นิ้ว และใช้มือกดให้แน่นพอสมควรจากน้ัน รดน้ําและถอดแบบพิมพ์ออก

การเพาะเห็ดฟางแบบกองเต้ียมักจะทํากองใกล้ ๆ กัน ห่างกันประมาณ 15-20 เซนติเมตร โดย กองขนานกันไป 10-20 กอง เพื่อทําให้ อุณหภูมแิ ละความช้นื ของกองไม่เปลย่ี นแปลงเรว็ เกินไป

2.6 คลมุ ทับด้วยพลาสตกิ ใส (หรอื ทบึ ) โดยใชพ้ ลาสติก 2 ผนื คลุมทบั เหลอ่ื มกันไว้ ตรงกลางกอง จากนนั้ ใช้ฟางแห้งคลุมทับพลาสติกอีกช้ันหนึ่งเพื่อป้องกันแสงแดดผ่าน ในฤดูร้อนท่ีมีแสงแดดจัด ระยะ 3 วันแรก ควรเปดิ ผ้าพลาสติกหลังกองเพ่ือระบายความร้อน กว้างประมาณ 1 ฝ่ามือในช่วงเวลากลางวัน ส่วนกลางคืนปิดไว้ และคลุมฟางไว้เหมือนเดิม ในวันที่ 4-5 ให้ตรวจดูความช้ืน ถ้าเห็นว่าบนกองฟางแห้ง เปิดพลาสติกรดนํ้าเบาๆ ให้ชืน้ แล้วปิดไว้

ในวันที่ 7-9 เส้นใยเห็ดฟางจะรวมตวั เปน็ ต่มุ เล็ก ตอ้ งงดนํ้าในระยะน้ี ดอกเห็ดจะฝ่อเสียหายหาก ถูกน้ํา หากมีฝนต้องคลุมพลาสติกให้มิดชิด ส่วนด้านข้างกองเห็ดควรให้ชายพลาสติก อยู่เหนือพื้นดินเล็กน้อย นํา เศษฟางปดิ ทับไว้ขา้ งกอง เพอื่ ไมใ่ หถ้ ูกนา้ํ ฝน จะเก็บเกีย่ วเห็ดได้ประมาณ 10-14 วัน ในฤดรู ้อนและ 20 วันในฤดู หนาว ไมค่ วรโรยอาหารเสริมและเช้ือเห็ดลึกเข้าไปในกลางกองเพาะเกินไป อาจเป็นอันตรายต่อเชื้อเห็ด และหาก โรยติดขอบนอกมากเกินไป เช้ือเห็ดจะเจริญออกมาด้านนอกมากกว่าเจริญเข้าด้านในกองเพาะ ผลผลิตจะต่ําพื้นท่ี ขนาด 1 กองเพาะ จะเก็บผลผลิตได้ 700-1,200 กรัม อาจถึง 1-2 กิโลกรัม แปลงเพาะเก่าไม่ควรทิ้งนําฟางไป หมักกับปูนขาวทิ้งไว้ 2-3 วนั นาํ ไปเพาะเห็ดชนดิ อื่น เชน่ นางรม นางฟา้ ภูฐาน เป๋ าฮอื้ และเหด็ หูหนู

(2) การเพาะเห็ดฟางแบบกองสูง ควรเลือกฟางที่มีการเก่ียวชิดติดดิน เพราะการเพาะเห็ดแบบกองสูง ต้องการฟางที่มีขนาดฟ่อนหนาและมีความยาวเพียงพอ ข้นั ตอนการเพาะเป็น ดังนี้

- เตรยี มดินโดยการพรวนกลบั หนา้ ดนิ แต่งให้เรียบ ตากทิ้งไว้ 1 สปั ดาห์ - แชฟ่ างใหอ้ ม่ิ นํ า้ นานประมาณ 12 ชั่วโมง - เรยี งฟางใหห้ นา 8-10 เซนตเิ มตร (ประมาณ 5-6 ฟ่ อน) โดยให้โคนฟางอยู่ตรงข้ามและส่วนปลายฟาง ทับกนั (ด้านโคนอยขู่ อบแปลง) ความยาวแปลงประมาณ 4 เมตร อาจปกั หลกั เป็นแนวไว้กอ่ น - ตดั ฟางสว่ นเกนิ ออก ตกแต่งฟางเรียบรอ้ ย - โรยเช้อื เห็ดให้เรยี บขนานกับขอบฟาง หา่ งจากขอบ 5-7 เซนติเมตร ถงึ ขั้นตอนนถ้ี อื ว่า ชั้นที่ 1 แลว้ เสร็จ - เรียงฟางช้นั ตอ่ ไป แล้วคลมุ ดว้ ยฟางเปยี กและปิดดว้ ยพลาสตกิ การเพาะเหด็ ฟางแบบกองเตี้ยและกองสูงจะให้ผลผลติ เพียง 5% ของน้าํ หนักวัสดทุ ใ่ี ช้เพาะ (3) การเพาะเห็ดฟางแบบอุตสาหกรรม หรือการเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน นิยมกันมากในต่างประเทศ โดยเฉพาะฮ่องกงและไต้หวัน การเพาะเห็ดวิธีน้ี ผู้เพาะสามารถปรับอุณหภูมิและความช้ืนให้เหมาะสมต่อการ เจรญิ เติบโตของเหด็ ได้ น่นั คอื สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมบางอย่างให้อยู่ในระดับตามความต้องการของเห็ดได้ จงึ ทําให้ผลผลติ สูงกวา่ 2 แบบแรกมาก แต่ขณะเดียวกันจะเป็นการเพ่ิมต้นทุนการผลิตในระยะแรกสูงมาก รวมทั้ง มีการสะสมโรคแมลงศตั รเู หด็ สงู ข้นึ เชน่ กัน

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า เห็ดเพอ่ื การคา้ รหัสวชิ า 3502 – 2207 ครูผสู้ อน : นางสาวสดุ ารัตน์ ทองไตรภพ

8

1.4 โรคและศัตรูเหด็ ฟาง การเพาะซํ้าที่เดมิ จะเกดิ ปัญหาได้ เพราะมกี ารสะสมโรคและแมลงเพ่ิมข้นึ ได้ จงึ ควรหลกี เลีย่ งใชพ้ ื้นทเ่ี ดมิ 1. เหด็ รา วชั เห็ด เช่น เห็ดถว่ั (เห็ดหมึก เห็ดขี ม้ า้ ) เจรญิ แข่งขนั กับเหด็ ฟางตามกองเหด็ ฟาง 5-6 วนั ดอกบานจะมสี เี หมือนหมึกสีดาํ 2. ราเม็ดผักกาด (Selerotium sp.) ติดมากับฟางข้าวที่เป็นโรคลําต้นเน่า ซ่ึง ควรหลีกเลี่ยงไม่นํามาใช้ เพาะ เพราะเชื้อรานีจ้ ะเจรญิ แย่งอาหารเห็ดฟาง 3. โรคเน่า (Bubbles) เกดิ จากกองฟางช้นื มากเกินไป เกิดจากเชอื้ แบคทีเรยี ถา้ พบควรคัดทิ้ง การเก็บเห็ด ฟางทีม่ เี ศษตกค้างจะทําใหเ้ น่าและเชื้อแพรร่ ะบาดได้ 4. ไร Tyrophagus dimidiatus กินเส้นใยเห็ดและอินทรีย์วัตถุเป็นอาหาร กัดกินดอกเห็ดท่ีมีขนาดเล็ก ทาํ ให้เสยี หาย ไรเจรญิ และแพร่พันธุไ์ ดด้ ีในบริเวณที่ช้นื ใชส้ ารฆ่าไรกาํ จัด 5. มด ปลวก หนู แมลงอน่ื ๆ

2. เหด็ นางรม 2.1 ลักษณะทางชีววทิ ยาและสัณฐานวทิ ยา

การจําแนกเหด็ นางรม ชือ่ วิทยาศาสตร์ Pleurotus osttreatus (Fr.) Kummer ช่อื สามัญ Oyster mushroom

Subdivision Basidiomycotina Class Hymenomycetes Subclass Holobasidiomycetidae Order Agaricales (Agarics) Family Pleurotaceae Genus Pleurotus Specie ostreatus

2.2 ชนดิ ของเห็ดนางรม เหด็ นางรมที่นยิ มเพาะโดยทัว่ ไปแบง่ ตามสีมี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ 1. เห็ดนางรมสีขาว (White type หรือ Florida type) เจรญิ เติบโตไดใ้ นสภาพอุณหภูมิ

สูง จึงนํามาเพาะเล้ียงในชว่ งฤดูรอ้ น เห็ดชนิดน้ีจะออกดอก ไดด้ ีท่อี ุณหภูมิสงู กวา่ 20 องศาเซลเซียส หมวกดอกมีสี ขาว และมนี า้ํ หนักมากกว่าเหด็ นางรมสีเทา แต่หมวกดอกจะมขี นาดเล็กและบางกว่านางรมสีเทา

2. เหด็ นางรมสีเทา (Grey type หรือ Winter type) เจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิต่ํา จึง เพาะเลี้ยงในช่วงฤดูหนาว เห็ดจะออกดอกได้ดีท่ีอุณหภูมิตํ่ากว่า 20 องศาเซลเซียส หมวกดอกหนาและมีขนาด ใหญ่ แต่ผลผลิตตํ่ากว่าชนิดแรกรูปร่างลักษณะของเห็ดนางรม เนื่องจากเห็ดนางรมมีรูปร่างเหมือนหอยนางรมจึง เรยี กเห็ดนี้ว่า Oyster mushroom

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา เห็ดเพอ่ื การคา้ รหสั วิชา 3502 – 2207 ครูผู้สอน : นางสาวสดุ ารัตน์ ทองไตรภพ

9

ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ดงั นี ้ 1. หมวกดอก (cap หรือ pileus) มีลกั ษณะคล้ายหอยนางรม หมวกดอกมลี ักษณะแบน ราบไม่เหมือนเหด็ ฟาง กลางหมวกดอกมีลักษณะเว้าเป็นแอ่ง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5-15 ซม. มีสีขาวหรือสี ขาวนวล มีขนละเอยี ดสีขาวปกคลุมคลา้ ยขนกาํ มะหย่ี ดา้ นลา่ งของหมวกดอกจะเชื่อม ติดกับก้านดอกหรือเป็นเนื ้อ เดยี วกัน 2. ก้านดอก (stalk) เป็นส่วนชูดอกขึ น้ ไปในอากาศ ก้านดอกค่อนข้างสั ้นและเจริญเข้าหาแสง สว่าง ก้านดอกเห็ดอยู่ค่อนไปข้างหน่ึง ไม่อยู่กึ่งกลางของหมวกเห็ด ก้านโค้งงอเหมือนพัดเล็กน้อย มีความกว้าง ประมาณ 0.5-2 ซม. ยาวประมาณ 1-3 ซม. 3. ครบี ดอก (gill) มีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ สขี าวหรือสีเทา บรเิ วณครีบดอกเป็นแหล่งสร้างสปอร์ สปอร์มีสีขาวอมม่วงอ่อน รูปร่างกลมรี มีต่ิงเล็กๆ ที่ปลายข้างหนึ่ง ขนาด 3 x 4 – 8 x 12 ไมครอน เห็ดนางรม ขึ้นอยู่เป็นกลุ่ม มีโคนก้านดอกติดกันและมีหมวกเห็ดซ้อนกันเป็นช้ันๆ และสามารถงอกออกมาจากขอนไม้ หรือ ก่ิงไมผ้ บุ นต้นไม้ยนื ต้นได้ 2.3 ธรรมชาตขิ องเห็ดนางรม เห็ดนางรมเป็ นเหด็ ทมี่ กี ารดาํ รงชวี ิตแบบ saprophytic fungi แต่บางครั้ง จัดเป็นปรสิต โดยเจริญเติบโตบนต้นไมท้ ี่มชี วี ิตและเม่อื ต้นไม้ตาย เห็ดนางรมก็ยังสามารถเจริญเตบิ โตต่อไปได้อีก การดํารงชีวติ ตามธรรมชาตขิ องเหด็ นางรมมี ดังนี้ 1. จัดเป็นเห็ดท่ีมีความสามารถย่อยสารประกอบที่มีโมเลกุลซับซ้อนได้ดีกว่าเห็ดฟาง โดยเฉพาะพวก เซลลูโลส ลิกนิน จึงทาํ ใหว้ ัสดุทใี่ ชเ้ พาะโดยเฉพาะขเ้ี ลือ่ ยไม้ยางพาราไม่จําเป็นต้องผ่านการหมกั กไ็ ด้ 2. ความสามารถในการดํารงชีวิตในกรณีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม เห็ดนางรมสามารถมีชีวิตอยู่ได้โดย การสร้างคลามยั โดสปอร์ (chlamydospore) อยู่ตามตอไม้ เม่อื สภาพแวดล้อมเหมาะสมจะงอกเส้นใยออกมา แล้ว เส้นใยจะพฒั นาไปเป็นดอกและมสี ปอรแ์ พรพ่ ันธตุ์ ่อไป 3. เห็ดนางรมจัดเป็นเห็ดท่ีเจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมท่ีเป็นกรดเล็กน้อย หรือมี pH ระหว่าง 5-5.2 จงึ ไม่จาํ เป็นตอ้ งใสป่ ูนขาวในวัสดุเพาะ 4.อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเส้นใย ควรอยู่ประมาณ 30 -32 องศาเซลเซียส และ อุณหภูมสิ ร้างดอกประมาณ 25 องศาเซลเซยี ส 5. เส้นใยเห็ดนางรมมีความสามารถในการเจริญเติบโต และมีการเชื่อมต่อของเส้นใยเร็วมากจึงทําให้เส้น ใยเดนิ เต็มกอ้ นได้เรว็ กวา่ เหด็ ชนดิ อ่ืนๆ และมคี วามสามารถในการใชน้ ํา้ ตาลในรูปของคาร์โบไฮเดรทได้เปน็ อยา่ งดี 2.4 การเพาะเลี้ยงเห็ดนางรม การเพาะเล้ยี งเห็ดนางรมมีข้ันตอนเช่นเดยี วกบั เห็ดอ่ืนๆ ประกอบดว้ ย - การผลติ หัวเชือ้ เสน้ ใยเห็ดบรสิ ุทธิ์ (การผลติ แม่เช้ือ) - การผลติ หัวเช้อื เห็ดในเมลด็ ธัญพชื - การเพาะเห็ด (ก้อนเชื้อ/เพาะในทอ่ นไม้) - การทาํ ให้เกิดดอกเห็ด

การเลือกดอกเหด็ ทาํ พนั ธุ์ - ควรเป็นดอกทส่ี มบรู ณ์ หมวกดอกควรมีลักษณะงอโคง้ คล้ายเหด็ มะมว่ ง - ดอกไม่แก่หรืออ่อนเกนิ ไป ควรอยใู่ นระยะกอ่ นทีจ่ ะมีการสร้างสปอร์ - มีก้านดอกท่แี ข็งแรง ไมม่ เี ชือ้ จุลนิ ทรีย์ หรือเช้ือทําลายดอกเหด็ - สีของดอกควรเปน็ สีขาวหรอื เทา ข้ึนอยกู่ บั ชนิดของพันธแุ์ ละตอ้ งไม่มสี ีอน่ื ปะปน

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา เหด็ เพ่ือการคา้ รหสั วชิ า 3502 – 2207

ครูผู้สอน : นางสาวสุดารตั น์ ทองไตรภพ

10

- ควรคดั ดอกเหด็ จากถงุ ก้อนเช้อื ท่ใี หผ้ ลผลิตสูงกว่าก้อนอืน่

อาหารเลยี้ งเช้ือเหด็ นางรม

โดยทั่วไปจะใช้อาหารว้นุ PDA แต่อาจใช้สูตรอาหารท่เี หมาะสมกับการเลยี้ งเช้ือเห็ดโดยเฉพาะ ดงั นี้

สารสกดั จากข้าวมอลท์ (malt extract) 5 กรมั

แปง้ ถ่ัวเหลือง (soybean flour) 10 กรัม

เปปโตน (peptone) 1 กรัม

ปุ๋ ย K2HPO4 0.5 กรมั

ดีเกลือ (MgSo4.7H2O) 0.5 กรัม

สารละลาย FeCl2 (1%) 1 ซซี ี

สารสกดั จากยสี ต์ (yeast extract) 0.1 กรัม

วุน้ ทาํ ขนม 15-18 กรมั

นํ้า 1 ลติ ร

การเขี่ยเชื้อเหด็ นางรม ข้ันตอนการเขีย่ ตดั เช้อื เห็ดเพอ่ื นํามาเพาะเล้ียงในอาหารวุ้น ผสมยีสต์สกัด ควรปฏิบตั ดิ ังน้ี 1. ใช้เขม็ เขี่ยชุบแอลกอฮอล์พร้อมลนไฟฆ่าเช้ือท่ีปลายเข็มเขี่ย ไล่ขึ้นมาเรื่อยๆ จนถึงส่วนของด้ามที่ใช้จับ การลนเข็มควรลนในแนวตรงเพ่ือให้เข็มเขี่ยถูกเปลวไฟให้มากท่ีสุด ถือเข็มให้ปลายเข็มอยู่ในอากาศนาน 15-20 วนิ าที และอยา่ ให้ปลายเขม็ สัมผสั กบั ส่วนใดๆ ภายในตูเ้ ขยี่ 2. ใช้มือฉีกดอกเห็ดออกเป็น 2 ส่วน แล้วใช้เข็มเข่ียจิกชิ้นส่วนของเนื้อเยื่อภายในดอก โดยเลือกเนื้อเย่ือ ระหว่างกา้ นดอกกบั หมวกเหด็ ใชเ้ ข็มเข่ียจกิ เน้อื เยื่อติดมาเพยี งเลก็ น้อยก็พอ 3. วางดอกเห็ดลงพรอ้ มใชม้ อื หยิบขวดอาหารวุ้น ใช้นิ้วก้อยและอุ้งมือท่ีถือเข็มเขี่ยดึงจุกสําลีออกพร้อมกับ ถอื เอาไว้ หา้ มกําจุกสําลีเด็ดขาด จากน้ันลนปากขวดอาหารวุ้น เพ่ือฆ่าเชื้อและสอดเข็มเขี่ยที่มีเน้ือเยื่อติดอยู่ท่ีส่วน ปลายเข้าไป วางเนอ้ื เยอื่ บนอาหารวุ้น ดึงเขม็ ออก ลนไฟฆา่ เช้ือที่ปากขวดกอ่ นปิดจุกขวด 4. นําขวดอาหารวุ้นเก็บในท่ีมืดและอุณหภูมิสูง จะช่วยให้เส้นใยเห็ดเดินเต็มได้เร็วขึ้นภายใน 10-15 วัน เมื่อเส้นใยเดินเต็มอาหารวุ้นแล้ว นําไปขยายลงในเมล็ดธัญพืชต่อไป หรือถ่ายเชื้อเห็ดจากอาหารวุ้น ขยายลงบน ขวดอาหารวุ้นหลายๆ ขวดได้ การผลติ หวั เชอื้ เหด็ นยิ มขยายเส้นใยเห็ดลงบนเมล็ดธัญพืช ก่อนนําไปลงในถุงก้อนเช้ือ เมล็ดพืชที่นิยมคือ เมล็ดขา้ วฟ่าง เพราะหางา่ ย ราคาถูก หรืออาจใชเ้ มล็ดข้าวเปลือกแทนได้ วิธกี ารเตรยี มเมล็ดธญั พชื ควรปฏบิ ัติดังนี้ 1. นําเมล็ดข้าวฟ่างมาคัดเอาสิ่งเจือปนออก แล้ วแช่นํ้าทิ ้งไว้ 1 คืน (เมล็ดข้าวฟ่าง 1 กิโลกรัม จะใช้ บรรจุขวดแบนได้ ประมาณ 50 ขวด หรือ 10 ขวด/กิโลกรมั ) 2. ต้มจนสกุ แต่เมล็ดต้องไม่บาน หากบานมากเกนิ ไปจะทําใหเ้ สน้ ใยจบั ตัวกนั แน่นไมส่ ะดวก ในการเขี่ยเช้ือ ไปยงั ก้อนเชอ้ื เหด็ ควรจะเป็นการสุกรอบนอกเมลด็ กเ็ พียงพอ 3. นาํ มาผงึ่ ใหแ้ ห้งพอหมาด แล้วบรรจลุ งในขวดแบนประมาณ ½ ขวด ปิดดว้ ยจกุ สําลแี ลว้ หุ้มดว้ ยกระดาษ 4. นําขวดเมล็ดข้าวฟ่างไปนึ่งด้วยหม้อนึ่งความดัน โดยใช้ความดัน 15 ปอนด์ ต่อตารางน้ิว นาน 30 นาทเี พือ่ ฆา่ เช้อื

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา เห็ดเพอื่ การคา้ รหัสวิชา 3502 – 2207 ครผู ู้สอน : นางสาวสุดารัตน์ ทองไตรภพ

11

5. เมื่อเมล็ดข้าวฟ่างเยน็ ตัวลง ใหเ้ ขยา่ ขวดเพือ่ ให้ความชื้นของเมลด็ ในขวดกระจายอย่างสม่ําเสมอ จะช่วย ให้เส้นใยเห็ดเดนิ เรว็ ขน้ึ

6. เขย่ี เส้นใยเหด็ ในอาหารวุ้นลงไปในขวด โดยใช้เทคนคิ การปลอดเชือ้ และควรปฏบิ ตั ภิ ายในตูเ้ ข่ียเชื้อ เส้น ใยจะเจริญเตม็ เมล็ดขา้ วฟ่างภายใน 2-3 สัปดาห์แล้วนําไปปลูกเชอื้ ในถุงกอ้ นเชือ้ ต่อไป

การผลติ เหด็ นางรมในถงุ พลาสตกิ หัวเชื้อเห็ดนางรมสามารถนําไปใช้ในการผลิตเห็ดท้ังในถุงพลาสติกและในท่อนไม้ เพ่ือให้เห็ด นางรมใช้ อาหารจากวัสดุท้ัง 2 อย่าง ในการเจริญและพัฒนาเป็นดอกเห็ดต่อไป การผลิตเห็ดนางรมในถุงพลาสติก วัสดุท่ี บรรจใุ นถงุ อาจเปน็ ขเ้ี ลอ่ื ยหรอื ฟางสับ ซงั ข้าวโพดอ่อน แลว้ แต่วัสดุในท้องถนิ่ นั้น แต่นิยมใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา และ ไม่จําเป็นต้องหมักขี้เล่ือย แต่จําเป็นต้องผสมอาหารเสริมเพ่ิมลงในส่วนผสมเพ่ือเห็ดนางรมได้ใช้อาหารเต็มท่ีสูตร อาหารที่นยิ มใชม้ หี ลายสูตร เชน่

สตู รที่ 1 ขี้เล่อื ยไมย้ างพารา 100 กโิ ลกรมั รําละเอียด 5 กิโลกรัม นํา้ สะอาด 60-70 ลติ ร

สูตรที่ 2 ขเี้ ล่ือยไม้ยางพารา 100 กโิ ลกรมั ราํ ละเอยี ด 3-5 กโิ ลกรมั แปง้ ขา้ วเจ้า หรือนาํ้ ตาลทราย 3-5 กิโลกรมั ปูนขาว 0.5-1 กิโลกรัม ดเี กลอื 0.5 กิโลกรัม นํ้า (ความช้นื ) 65-70 ลิตร

ขั้นตอนการเตรยี มวัสดเุ พาะเหด็ นางรม การเตรียมวัสดุเพาะเห็ดนางรม วัสดุหลักหากใช้ฟางข้าวแทนข้ีเลื่อยจะต้องนําฟางข้าวมาสับ เป็นท่อนๆ ยาว 2-3 นิว้ และหมกั ฟางไว้ 5-7 วัน วธิ ีการผสม 1. ใช้วัสดุหลักกองบนพน้ื ปนู ซีเมนต์ พรอ้ มกบั ใสอ่ าหารเสรมิ ลงไปกระจายให้ ทว่ั ใช้พลั่ว คลุกเคล้าผสมให้ เขา้ กนั ให้ดี ใหอ้ าหารเสริมกระจายในสว่ นผสมอย่างสมํ่าเสมอ เติมน้ําลงไปในวัสดุ เพาะให้มีความช้ืนกระจายอย่าง ทั่วถงึ ทดสอบความชน้ื โดยนําขึน้ มากาํ แลว้ บีบ หากพบวา่ ไม่มีนํา้ ไหล ออกตามงา่ มมือ และเมือ่ แบมือออก ส่วนผสม ยงั จับกันเป็นกอ้ น แสดงว่าความชื้นในอาหารอยใู่ น ระดับเหมาะสม 2. นําวัสดุที่ผ่านการผสมแล้วบรรจุในถุงพลาสติกทนร้อน ขนาด 7 x 12 นิ้ว หรือ7 x 13 นิ้ว โดยอัด สว่ นผสมลงในถงุ พลาสติก ให้มีนา้ํ หนกั ประมาณ 800 กรัม สวมคอขวดใช้ยางรดั แล้วปิดจุก ด้วยสําลี จากนั้นนําไป นึ่งด้วยหม้อนึ่งลกู ทุง่ นาน 3-4 ช่วั โมงนับจากน้าํ เดอื ด หลงั จากทิง้ ใหก้ อ้ น เช้ือเห็ดเย็นตัวลง นําหัวเช้ือเห็ดหรือเชื อ้ ขยายในเมล็ดข้าวฟา่ งใส่ลงไป 10-20 เมลด็ พรอ้ มกบั เขย่าให้เมล็ดขา้ วฟา่ งกระจาย

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา เห็ดเพอื่ การคา้ รหสั วิชา 3502 – 2207 ครูผูส้ อน : นางสาวสดุ ารัตน์ ทองไตรภพ

12

3. นําถุงก้อนเห็ดไปบ่มในโรงบ่มเส้นใยซึ่งเป็นที่มืดและมีอุณหภูมิสูง ประมาณ 28 - 35 องศาเซลเซียส เพือ่ เร่งการเจริญเตบิ โตของเสน้ ใย เส้นใยเหด็ จะเดนิ เต็มก้อนเห็ดภายใน 2-3 สัปดาห์ ควรพักก้อนเห็ดไว้ระยะหน่ึง เพ่อื ให้เสน้ ใยสะสมอาหาร

4. หลังจากนั้นหากสามารถนําก้อนเห็ดไปไว้ที่อุณหภูมิตํ่า (chilling treatment) เพื่อให้จุลินทรีย์ ที่จะ ทําลายเห็ดชะงกั การเจรญิ เตบิ โต ท่ีอุณหภูมิประมาณ 17-20 องศาเซลเซียส นาน 10-15 วัน จะเป็นผลดีต่อการ เพาะเลี้ยง ต่อมานําก้อนเช้ือเข้าสู่โรงเรือนเปิดดอกโดยวางซ้อนกันบนชั้นตัวเอ(A) หรือช้ันแขวนพลาสติก ซ่ึงการ เรียงไม่ควรให้สูงเกิน 1.5 เมตร เพราะความช้ืนและความเย็นจากพ้ืนจะขึ้นไปไม่ถึง นอกจากนี้ยังสะดวกต่อการ เกบ็ ดอก ภายในโรงเรือนควรรกั ษาความชื ้นไว้ท่ี 70-90% โดยการรดน้าํ

ข้อควรระวงั ในการเขย่ี ต่อเชอ้ื ลงในถุงก้อนเหด็ 1. หัวเชื้อเห็ดต้องไม่แก่หรืออายุมากเกินไป เพราะเส้นใยจะเจริญเติบโตช้า และต้องไม่มีเชื้อจุลินทรีย์อื่น ปนเปือ้ น 2. สถานทท่ี ีใ่ ชใ้ นขั้นตอนต่างๆ ทกี่ ลา่ วมาแลว้ ต้องสะอาด มีการกาํ จดั เช้อื จุลนิ ทรีย์อืน่ ๆ อย่างสมํ่าเสมอ

การเปิดถุงก้อนเช้ือเหด็ นางรม หลังจากเสน้ ใยเห็ดเจริญเตม็ ก้อนแล้ว ควรปลอ่ ยใหเ้ สน้ ใยเหด็ รดั ตวั และสะสมอาหารเพิ่ม มากข้ึนประมาณ 5-7 วนั เปดิ ถงุ ก้อนเห็ดสามารถทาํ ได้ 3 วิธี ดงั น้ี 1. การเปิดปากถุงโดยการม้วนปากถุงลง ใช้วิธีดึงคอขวดออกพร้อมกับม้วนปากถุงลง แล้วนําไปวาง บนชั น้ ภายในโรงเรือนเพาะเห็ด ข้อเสียของการเปิดถุงแบบนี ค้ ือ จะมีนํ้าขังบนถุงทําให้ก้อนเชื ้อเสียได้ และ ความชน้ื ในกอ้ นเห็ดสญู หายไดเ้ ร็วขน้ึ 2. การเปดิ ปากถุงโดยใช้มีดปาดปากถุงบริเวณคอขวดออก แล้วนําไปวางบนช้ันเพาะเห็ด มีข้อเสียเหมือน วิธแี รก 3. การกรีดข้างถุงโดยใช้มีดปาดตรงคอขวดออก หรือดึงจุกสําลีออกแล้วนําก้อนเชื้อมาวาง เรียงซ้อนกัน ภายในโรงเรือน ปล่อยใหเ้ ห็ดเจริญออกมาทางปากถุงทางเดียว เป็นวิธีใช้กันมากเพราะ ประหยัดพ้ืนท่ีและนํ้าไม่ขัง บนกอ้ นเช้ือ 2.5 ปญั หาในการเพาะเห็ดนางรม เส้นใยไม่เดินลงกอ้ นเชือ้ เหด็ อาจเกดิ จากสาเหตุเหล่านี้ 1. หัวเชื้อเห็ดเป็นเชื้ออ่อน หรือเส้นใยที่นํามาทําหัวเช้ือเห็ดผ่านการต่อเช้ือเห็ดมาหลายคร้ัง ทําให้เส้นใย อ่อนแอ จึงควรเลือกหัวเช้อื ท่ีไดจ้ ากพนั ธดุ์ ี ใหผ้ ลผลิตสงู และไมค่ วรตอ่ เช้ือบ่อยคร้งั 2. หัวเชื้อเห็ดมีเชื้อจุลินทรีย์อ่ืนปนเป้ือน และเจริญแข่งกับเส้นใยเห็ด ผู้เพาะเล้ียงควรสังเกต ต้ังแต่ระยะ เล้ียงบนอาหารวุน้ วา่ มเี ชื้ออ่ืนปนหรือไม่ และหลังจากขยายลงบนเมลด็ ขา้ วฟา่ งแลว้ ต้องไม่มีเชอ้ื จุลินทรียอ์ น่ื 3. เลือกวสั ดุเพาะทป่ี ราศจากสารเคมีปะปนอยู่ โดยเฉพาะสารกาํ จัดโรคพชื ไม่ว่าจะเปน็ ฟางขา้ ว ขเ้ี ลือ่ ย 4. สภาพความเปน็ กรด-ด่าง ไม่เหมาะสม ควรใหม้ ี pH ระหว่าง 6.5-6.8 5. ข้เี ล่ือยท่ใี ชเ้ พาะมคี วามช้นื มากเกินไป เพราะสภาพดังกล่าวเชื้อแบคทเี รยี และเชอื้ อนื่ จะเจรญิ ได้ดกี วา่

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า เห็ดเพ่อื การคา้ รหัสวชิ า 3502 – 2207 ครผู สู้ อน : นางสาวสดุ ารัตน์ ทองไตรภพ

13

เส้นใยเหด็ เดนิ บางมาก เสน้ ใยเหด็ เดนิ แตล่ กั ษณะการเดินของเส้นใยบางมากอาจเกิดจาก 1. มีอาหารเหลอื อยนู่ ้อยในถงุ กอ้ นเห็ด หรอื มีอาหารเสริมนอ้ ยเกนิ ไป 2. การนึ่งฆ่าเชอื้ ยงั ไม่สมบรู ณเ์ พียงพอ ใชเ้ วลาในการนงึ่ น้อยเกินไป เส้นใยเห็ดเดินแล้วหยุด ก้อนเชื้อเห็ดมีความชื้นมากเกินไป จะสังเกตเห็นน้ําไหลมารวมกันที่ก้นถุง เชื้อ แบคทีเรยี จะเจรญิ ไดด้ ี มีกล่นิ เหม็นเกิดขึ้น และอาจเกิดจากเช้อื เห็ดอ่อนแอ เห็ดออกดอกช้าหลังจากเปิดถุงแล้ว เม่ือเส้นใยเดินเต็มถุงแล้วควรปล่อยเส้นใยรัดตัว นาน 8-10 วัน เส้น ใยต้องสานกันแน่นและสะสมอาหารให้มากพอจึงจะพัฒนาไปเป็นดอก นอกจากนี้อาจมีปริมาณของ คาร์บอนไดออกไซดส์ ูง เพราะการระบายอากาศไม่ดีพอ หรือภายในโรงเรือนอาจมีอุณหภูมิสูงหรือต่ําเกินไป หรือมี ความชื้นไม่เพยี งพอ ดอกเห็ดเกดิ ขึน้ แตไ่ มพ่ ฒั นาไปเปน็ ดอก มักจะเหีย่ วและแห้งตายในท่ีสดุ อาจเกิดขึ้นจาก 1. หวั เช้ือเห็ดอ่อนแอ ตอ้ งเลือกหวั เชอ้ื ท่ีดแี ละแข็งแรงเท่านั้น 2. เปิดปากถุงก้อนเชื้อกว้างเกินไป ทําให้เกิดดอกเห็ดมากโดยอาหารมีไม่พอเพียงและน้ําในก้อนเช้ือ เคลอ่ื นยา้ ยออก จงึ ไม่ควรเปิดปากถุงให้กวา้ งเกนิ ไป 3. ความช้ืนในโรงเรือนมนี ้อย ควรฉดี พ่นน้าํ ในทางตรงกันขา้ มหากฉีดพน่ นํ้าให้กระทบกับก้อนเห็ดโดยตรง จะทาํ ให้ดอกเน่าเสียหายได้ ควรฉดี พน่ นํ้าเปน็ ละอองฝอยในอากาศ 4. มีเชื้อจุลินทรีย์และเชื้ออ่ืนๆ แพร่ระบาดมาก จึงต้องรักษาความสะอาดภายในโรงเรือนให้ดี และอาจมี แมลงศตั รูเหด็ กัดและทําลายก้อนเชอ้ื เหด็ จาํ เป็นต้องจดั โรงเรอื นใหส้ ะอาดกอ่ นนาํ ก้อนเชื้อเหด็ เข้า และระหว่างการ เกิดดอก

3. เห็ดนางรม 3.1 ชวี วิทยาและสณั ฐานวทิ ยา (1) การจําแนกเหด็ นางฟ้า ช่ือวิทยาศาสตร์ : Pleurotus sajor-caju (Fr.) Singers ช่ือสามญั : grey oyster mushroom หรอื Indian mushroom หรือ sajor-caju

Subdivision Basidiomycotina Class Hymenomycetes Subclass Holobasidiomycetidae Order Agaricales (Agarics) Family Pleurotaceae Genus Pleurotus Specie sajor-caju

(2) ลักษณะทางสณั ฐานวทิ ยา 1. หมวกดอก (cap) หมวกดอกหนาและมีเน้ือแน่นกว่าเห็ดนางรม มีสีนํ้าตาลอ่อนคล้าย

เหด็ เปา๋ ฮอ้ื แตส่ จี างกวา่ มเี ส้นผา่ ศนู ย์กลางประมาณ 3-6 นวิ้ ดอกอาจเป็นดอกเด่ยี วหรอื เป็นกระจกุ กไ็ ด้