การเข ยนขออ ตรากำล งเพ ม ตามย ทธศาสต ด านอาสาสม คร

อำนวยความสะดวกให้กับสมาชิกทุกท่านด้วยบริการตลอด 24 ชม. ผ่านระบบ COE Service ไม่ต้องส่งเอกสารทางไปรษณีย์ ไม่ต้องการเดินทางมายังสภาวิศวกรด้วยตนเอง

การเข ยนขออ ตรากำล งเพ ม ตามย ทธศาสต ด านอาสาสม คร

ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกสภาวิศวกร นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ อุปนายกสภาวิศวกร คนที่ 1 และรองศาสตราจารย์ ดร.ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ อุปนายกสภาวิศวกร คนที่ 2 ร่วมงานฉลองครบรอบ 80 ปี ของการก่อตั้งสมาคม เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ณ อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ซอยรามคําแหง 39

ดูรายละเอียด

การเข ยนขออ ตรากำล งเพ ม ตามย ทธศาสต ด านอาสาสม คร

นางสาวกันต์ณัฐฐา เซ่งไพเราะห์ หัวหน้าสำนักงานสภาวิศวกร ให้การต้อนรับคณาจารย์และนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ เข้าศึกษาดูงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอาคารเขียวของสภาวิศวกรและงานออกแบบโครงการ โดยมีคุณณัฐพล ประชาเสรี ผู้ออกแบบวิศวกรรมงานระบบอาคาร พาเยี่ยมชมอาคาร ณ ที่ทำการสภาวิศวกร เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566

ดูรายละเอียด

การเข ยนขออ ตรากำล งเพ ม ตามย ทธศาสต ด านอาสาสม คร

สภาวิศวกร โดย ผศ.ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกสภาวิศวกร เชิญผู้บริหารในส่วนของการดำเนินการก่อสร้างซึ่งเป็นงานระบบสาธารณูปโภคและอาจมีผลกระทบต่อความปลอดภัยของสาธารณะชนทุกส่วนหารือเรื่อง “มาตรการและการป้องกันเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับการก่อสร้างโครงสร้างสาธารณูปโภค” เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30 น. ณ อาคารที่ทำการสภาวิศวกร ประกอบไปด้วย ซึ่งแต่ละทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของสาธารณะชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมืองใหญ่ที่มีผลกระทบกับประชาชน ทั้งนี้จะดำเนินการกำหนดมาตรการร่วมกันต่อไป

ดูรายละเอียด

การเข ยนขออ ตรากำล งเพ ม ตามย ทธศาสต ด านอาสาสม คร

ปัจจุบันผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมที่ได้รับใบรับรองความรู้ความชำนาญฯ (ระดับวิศวกร/วิศวกรวิชาชีพ) สามารถหักค่าใช้จ่ายจากการให้บริการวิชาชีพแบบเหมาได้ 30% ตามมาตรา 40(6) แห่งประมวลรัษฎากร เช่นเดียวกับผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก

ดูรายละเอียด

การเข ยนขออ ตรากำล งเพ ม ตามย ทธศาสต ด านอาสาสม คร

ผศ.ดร. ธเนศ วีระศิริ นายกสภาวิศกร พร้อมด้วยคณะผู้บริหารสภาวิศวกร เข้าพบนางสาวศุภมาส อิศรภักดี รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อหารือถึงเเนวทางการยกระดับมาตรฐานคุณภาพหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ เเละสาขาที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาของไทยสามารถพัฒนาหลักสูตรการศึกษาเเละบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 ทั้งนี้ รมว.กระทรวง อว. พร้อมสนับสนุนและผลักดันให้มีการพัฒนาระบบรับรองการศึกษาของประเทศให้มีมาตรฐานสอดคล้อง ตามข้อตกลง Washington Accord เพื่อยกระดับให้วิศวกรของไทยมีขีดความสามารถสูงขึ้น เเละได้รับการยอมรับในเวทีนานาชาติ ตลอดจนส่งเสริมโอกาสการเคลื่อนย้ายประกอบวิชาชีพในต่างประเทศ โดยจะประสานการทำงานในรายละเอียดร่วมกับสภาวิศวกร สภาอุตสาหกรรม เเละสำนักงานปลัดกระทรวง อว. เพื่อขับเคลื่อนเรื่องดังกล่าวให้สำเร็จโดยเร็วต่อไป

โดยเปิดการเรียนการสอนทางด้านกฎหมายในช่วงแรกให้แก่ผู้ที่สนใจซึ่งต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีในสาขาอื่นมาแล้ว (หรือที่เรียกว่า “ภาคบัณฑิต”) ก่อนที่จะจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีให้แก่นักเรียนที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่นักเรียนที่มีภูมิลำเนาหรือศึกษาอยู่ในภาคเหนือของประเทศ การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีมาตรฐานภายใต้หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวกันกับที่ท่าพระจันทร์ และศูนย์รังสิต การถ่ายทอดความรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพด้วยคณาจารย์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายในสาขาต่าง ๆ ทั้งที่ประจำอยู่ที่ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต และศูนย์ลำปาง

ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2564) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง มีการบริหารจัดการภายใต้หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นหลักสูตรที่สร้างความโดดเด่นให้แก่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง โดยกำหนดให้มี “สาขากฎหมายกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (Law and Sustainable Development)” ซึ่งเป็นสาขากฎหมายใหม่และเปิดการเรียนการสอนเฉพาะที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง เท่านั้น

ในสาขากฎหมายใหม่นี้ประกอบไปด้วยรายวิชาต่าง ๆ ทางด้านกฎหมายเกือบ 20 วิชา โดยมุ่งหวังที่จะสร้างนักกฎหมายที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้น มุ่งสร้างนักกฎหมายที่ตระหนักถึงความสำคัญของการดำรงชีวิตของคนในยุคปัจจุบันที่จะไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่คนรุ่นหลัง ทั้งด้านการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่จำกัดอย่างเห็นและตระหนักถึงคุณค่า การให้ความสำคัญแก่การรักษาสภาพเศรษฐกิจที่ดี ในขณะเดียวกันก็ไม่ทำลายเศรษฐกิจของประเทศอื่น และการรักษาไว้ซึ่งประโยชน์โดยส่วนใหญ่ของสังคม อีกทั้งรักษาไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ บนโลก ซึ่งหลักการนี้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและการอยู่ร่วมกันบนโลกอย่างสันติสุขภายใต้การให้ความสำคัญโดยองค์การสหประชาชาติ (United Nation : UN)

โครงสร้างหลักสูตรของหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตที่เปิดสอน ณ คณะนิติศาสตร์ ศูนย์ลำปาง เป็นหลักสูตรเดียวกันกับหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตที่เปิดสอน ณ คณะนิติศาสตร์ ศูนย์รังสิต อันประกอบด้วยการศึกษารายวิชารวมกันไม่น้อยกว่า 146 หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาในการศึกษา 4 ปี

คณะนิติศาสตร์ ศูนย์ลำปางรับนักศึกษาที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าศึกษาประมาณปีละ 200 คนโดย โดยเปิดรับสมัคร 2 รอบดังต่อไปนี้

  • รอบที่ 2 โควต้าพื้นที่ (ศูนย์ลำปาง) รับนักเรียน/นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ใน เขตพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดลำปาง พิษณุโลก นครสวรรค์ แพร่ เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ตาก ลำพูน เชียงใหม่ พะเยา แม่ฮ่องสอน กำแพงเพชร สุโขทัย พิจิตร และ อุทัยธานี และ เขตพื้นที่ 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บึงกาฬ บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี และอุบลราชธานี รอบที่่ 3 Admissions แบ่งเป็น Admission 1 (สอบตรงนิติ มธ.) และ Admission 2 (Admission เดิม) นอกจากนี้การเรียนการสอนที่จัดโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง ยังเน้นความผูกพัน ความใกล้ชิด และความอบอุ่นระหว่างคณาจารย์ประจำศูนย์ลำปางและนักศึกษาที่เข้ามาเรียนประมาณ 200 คนในแต่ละปี เน้นการใช้ชีวิตภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ บรรยากาศร่มรื่น และปราศจากความเร่งรีบจากสภาพการจราจรที่แออัดในเมืองใหญ่ นักศึกษานิติศาสตร์ ศูนย์ลำปางทุกคนจะมีเวลาอย่างเพียงพอในการบริหารจัดการทั้งเรื่องการเรียน กิจกรรม และการพักผ่อนได้อย่างลงตัวโดยปราศจากความกังวลในเรื่องคุณภาพการศึกษาและโอกาสในการประกอบอาชีพซึ่งมีอยู่อย่างเท่าเทียมกันในทุกศูนย์การศึกษา