การพ ฒนาส งเสร ม และน เทศน ศาสตร เกษตร ตารางเร ยน

1. บรษิ ัท อะมิวส์เม้นท์ ครเี อช่นั จำกัด (สวนสนุกดรมี เวิลด)์ ....................................................................46

สารบญั (ต่อ)

2. บรษิ ัท พราว เรยี ล เอสเตท จำกัด ..............................................................................................................47 3. บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กร้ปุ จำกัด (มหาชน) .....................................................................................49 4. ผอู้ ำนวยการครอบครวั วิรยิ ะพันธุ์................................................................................................................51 5. ดสิ นยี ์แลนด์ ......................................................................................................................................................52 สรุป ..........................................................................................................................................................................54 เอกสารอา้ งอิง........................................................................................................................................................55 บทที่ 4 สถานบรกิ ารด้านแหล่งทอ่ งเทยี่ วตามธรรมชาติ ....................................................................... 57 1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม.........................................................................................57 2. กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา..................................................................................................................60 3. กระทรวงมหาดไทย.........................................................................................................................................63 4. หน่วยงานปกครองทอ้ งถ่ิน กรงุ เทพมหานคร...........................................................................................65 5. คุณกานต์ ฤทธข์ิ จร เจ้าของไร่ปลูกรัก.....................................................................................................66 6. เมอร์ลนิ (Merlin Entertainments Group) ..........................................................................................67 สรุป ..........................................................................................................................................................................68 เอกสารอา้ งอิง........................................................................................................................................................69 บทที่ 5 สถานบริการดา้ นสขุ ภาพ................................................................................................................................71 1. กระทรวงสาธารณสขุ ......................................................................................................................................71 2. กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม...................................................................77 3. บรษิ ทั สินแพทย์ จำกดั ..................................................................................................................................80 4. บริษทั กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกดั (มหาชน) ...........................................................................................81 5. สภากาชาดไทย ................................................................................................................................................82 6. โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์.................................................................................................................83

7. โรงพยาบาลไทยนครนิ ทร์..............................................................................................................................84

สารบัญ (ตอ่ )

8. โรงพยาบาลบำรุงราษฏร์ ...............................................................................................................................86 สรปุ ..........................................................................................................................................................................86 เอกสารอา้ งองิ ........................................................................................................................................................87 สรปุ .......................................................................................................................................................... 89 บรรณานกุ รม............................................................................................................................................. 1

สารบัญภาพ

ภาพที่ 1 พิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ ............................................................................................................. 12 ภาพท่ี 2 พพิ ิธภณั ฑธ์ รรมชาตวิ ทิ ยา......................................................................................................... 13 ภาพที่ 3 พพิ ธิ ภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ............................................................................................... 14 ภาพท่ี 4 พพิ ิธภณั ฑพ์ ระรามเกา้ .............................................................................................................. 15 ภาพที่ 5 พพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์และทอ้ งฟ้าจำลอง................................................................................ 16 ภาพท่ี 6 พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศและการบิน........................................................................................ 17 ภาพที่ 7 พิพธิ ภัณฑ์กองทพั บกเฉลิมพระเกยี รติ ..................................................................................... 15 ภาพที่ 8 พพิ ธิ ภณั ฑท์ หารเรอื ................................................................................................................. 16 ภาพท่ี 9 หอศิลปวฒั นธรรม..................................................................................................................... 24 ภาพที่ 10 หอภาพยนตร์.......................................................................................................................... 26 ภาพที่ 11 หออัครศลิ ปนิ .......................................................................................................................... 27 ภาพท่ี 12 พิพธิ ภณั ฑเ์ กษตรเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ............................................ 28 ภาพท่ี 13 อทุ ยานการเรยี นรู้ TK Park ห้องสมดุ มีชีวิต............................................................................ 30 ภาพท่ี 14 ห้องสมุดการ์ตูน ห้วยขวาง...................................................................................................... 31 ภาพที่ 15 พพิ ธิ ภัณฑ์การเกษตรเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว...................................... 36 ภาพที่ 16 พพิ ิธภณั ฑ์เด็กกรงุ เทพมหานคร แหง่ ท่ี 1 (จตุจักร)................................................................. 38 ภาพที่ 17 คดิ ส์ซาเนีย KIDZANIA BANGKOK ........................................................................................ 40 ภาพที่ 18 สวนสนกุ ดรีมเวลิ ด์.................................................................................................................. 46 ภาพท่ี 19 สวนน้ำ.................................................................................................................................... 48 ภาพที่ 20 Kids Cinema......................................................................................................................... 49 ภาพที่ 21 เมอื งโบราณ............................................................................................................................ 51 ภาพที่ 22 อุทยานธรรมชาติวทิ ยาสริ รี ุกชาติ เปน็ สวนสาธารณะและแหลง่ ทอ่ งเท่ียวเชงิ อนุรกั ษท์ างด้าน พฤกษศาสตร์และสมุนไพร....................................................................................................................... 57 ภาพที่ 23 สวนสตั ว์นครราชสมี า.............................................................................................................. 59 ภาพท่ี 24 สวนนงนชุ หบุ เขาไดโนเสาร์ ................................................................................................... 60 ภาพที่ 25 ฟาร์มโชคชยั ........................................................................................................................... 61 ภาพที่ 26 สวนปาล์มฟารม์ นก................................................................................................................. 62 ภาพที่ 27 ป่าในกรงุ บางกระเจ้า............................................................................................................. 63 ภาพที่ 28 สวนหลวง ร.9......................................................................................................................... 65 ภาพที่ 29 ไร่ปลูกรกั ................................................................................................................................ 66 ภาพท่ี 30 SEA LIFE Bangkok อควอเรยี มกลางใจเมอื ง......................................................................... 67

สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่ 31 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล(รัฐบาล) ............................................................................. 71 ภาพที่ 32 โรงพยาบาลเวชชารักษ์ ลำปาง ............................................................................................... 74 ภาพท่ี 33 คลินิกเดก็ ................................................................................................................................ 76 ภาพที่ 34 โรงพยาบาลศิรริ าช ................................................................................................................. 77 ภาพท่ี 35 โรงพยาบาลรามาธิบดี............................................................................................................. 79 ภาพที่ 36 โรงพยาบาลเด็กสนิ แพทย์ ....................................................................................................... 80 ภาพที่ 37 โรงพยาบาลเด็กสมติ ิเวช ......................................................................................................... 81 ภาพที่ 38 โรงพยาบาลกมุ ารเวชศาสตร์ (เอกชน).................................................................................... 82

1

บทท่ี 1 ความหมาย ความสำคัญ และ แนวคิดของสถานบรกิ ารเด็กปฐมวัย

ความหมายของสถานบริการ (พระราชบัญญัติสถานบริการ, 2546) สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้บริการโดยหวังประโยชน์ในทาง

การค้า สถานท่ตี ัง้ ขน้ึ เพ่ืออำนวยความสะดวก ใหก้ บั ผทู้ ่เี ข้ารบั บริการ

ความหมายของการบรกิ าร พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมาย “บริการ” หมายถึง ปฏิบัติรบั

ใช้ หรอื ให้ความสะดวกต่างๆ ดังน้ัน การให้บริการจงึ หมายถึง งานท่ีมผี ้คู อยช่วยอำนวย ความสะดวกซึ่ง เรยี กว่า “ผู้ให้บริการ” และ “ผู้มารับบริการ” กค็ ือผู้มารบั ความสะดวก

“การบริการ” ไม่ใช่สิ่งที่มีตัวตน แต่เป็นกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ท่ีต้องการใชบ้ รกิ ารกับผู้ให้บริการในการที่จะตอบสนองความตอ้ งการอย่างใดอยา่ ง หนึง่ ใหบ้ รรลุผลสำเร็จ (จิตตินันท์ เดชะคุปต์, 2549.)

“การบริการ” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Service” ในความหมายที่ว่าเปน็ การกระทำทีเ่ ปี่ยม ไป ด้วยความช่วยเหลือ การให้ความช่วยเหลือการดำเนินการที่เป็นประโยชน์ (จิตตินันท์เดชะคุปต์, 2540.) ซงึ่ ความหมายอกั ษรภาษาองั กฤษ 7 ตวั น้ี คือ

S = Smiling & Sympathy ยิ้มแย้มและเอาใจเขามาใส่ใจเรา เห็นอกเห็นใจต่อความลำบาก ยงุ่ ยากของผู้มารับการบรกิ าร

E = Early Response ตอบสนองต่อความประสงคจ์ ากผูร้ ับบรกิ ารอยา่ งรวดเร็ว R = Respectful แสดงออกถงึ ความนับถอื ใหเ้ กียรติผรู้ ับบริการ V = Voluntariness Manner การให้บริการที่ทำอย่างสมัครใจเต็มใจทำไม่ใช่ทำงานอย่างเสีย ไม่ได้ I = Image Enhancing การรักษาภาพลักษณ์ของผู้ให้บริการและภาพลักษณ์ขององค์กร C = Courtesy ความออ่ นนอ้ ม อ่อนโยน สุภาพมมี ารยาทดี E = Enthusiasm ความกระฉับกระเฉง กระตือรือร้นขณะให้บริการและให้บริการมากกว่า ผรู้ บั บริการคาดหวงั เอาไว สรุปได้ว่า การบริการ หมายถึง งานที่ปฏิบัติรับใช้ หรืองานที่ให้ความสะดวกต่างๆเกิดจากการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่ต้องการใช้บริการกับผู้ให้บริการ ในรูปแบบกิจกรรมผลประโยชน์หรือความพึง พอใจทผี่ ้ขู ายจดั ทำขน้ึ เพื่อสนองความต้องการแก่ผู้บรโิ ภค และเพอ่ื ส่งเสริมการขายใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ

2

ความหมายของเดก็ ปฐมวัย ทศั นา แก้วพลอย (2544: 1) ได้กลา่ วว่า เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ เดก็ ทีม่ ีชว่ งอายุต้งั แต่ 0-6 ปี เป็น

วัยเริ่มต้นของการพัฒนาการในทุกด้าน ได้แก่ ด้านสติปัญญา ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจและด้าน สังคม จงึ เปน็ วยั ท่มี คี วามสำคัญและเป็นพ้ืนฐานของการพฒั นาบคุ คลให้เจริญเติบโตอย่างมีคณุ ภาพ

พชั รี เจตน์เจริญรักษ์ (2545: 89) กล่าววา่ เดก็ ปฐมวัย หมายถงึ วัยเดก็ ตอนต้น โดยนับต้งั แต่แรก เกิดถึง 6 ปี เปน็ วัยท่ีเตรียมตวั เพอื่ เข้าส่สู ังคมได้รจู้ ักบุคคลอน่ื ๆ มากขึ้น

พระราชบญั ญัติการพฒั นาเด็กปฐมวยั , 2562 เดก็ ปฐมวัย หมายความว่า เดก็ ซง่ึ มอี ายตุ ่ำกว่าหกปี บริบรู ณ์ และให้หมายความรวมถึง เดก็ ซึง่ ตอ้ งได้รับการพฒั นากอ่ นเข้ารับการศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา

สรปุ ได้วา่ เด็กปฐมวยั หมายถึง เดก็ ทม่ี อี ายุตง้ั แตเ่ รม่ิ ปฏสิ นธจิ นถงึ 6 ปี มีธรรมชาติท่อี ยากร้อู ยาก เหน็ ชา่ งสงสยั ช่างซกั ถาม ชอบคน้ หา สำรวจ อยู่ไม่นงิ่ ชอบอิสระเปน็ ตัวของ ตวั เองเป็นวยั ท่ีกำลังพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ทางรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสตปิ ญั ญาอยา่ งเตม็ ที่

จากนิยามข้างต้น สรุปได้ว่า สถานบริการสำหรบั เด็กปฐมวัย หมายถงึ เปน็ สถานท่ีท่ีต้ังข้ึนเพ่ือให้ ความสะดวกต่างๆ ให้กับเด็กปฐมวัย อาทิเช่น สถานบริการด้านความสนกุ และความบันเทิง ด้านสุขภาพ ด้านการทอ่ งเที่ยวและธรรมชาติ ด้านการพัฒนาทักษะและให้ความรู้ โดยสถานบริการด้านต่างๆ จะช่วย สง่ เสรมิ พัฒนาการของเดก็ ทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา ความสำคัญของสถานบริการเด็กปฐมวัย

สถานบริการเด็กปฐมวัยช่วยให้เด็กได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างเหมาะสม ตามความ ต้องการของเด็กและพ่อแม่ผู้ปกครอง เช่น การใช้สายตาสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัว, ได้ใช้มือทดลองทำส่ิง ใหม่ๆ ท่ีไมเ่ คยทำ

สถานบริการเด็กปฐมวัยช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และการเรียนรู้ที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจมาก ที่สุดก็คือ การเรียนรู้โดยการลงมือทำ (Learning by Doing) ดังนั้น ถ้าต้องการให้เด็กได้รับความรู้ด้วย ความเข้าใจ กค็ งตอ้ งใหเ้ ดก็ ไดล้ งมือทำอะไรสกั อยา่ งเพอ่ื ให้เกิดการเรยี นรู้อย่างที่เราตงั้ เป้าหมายไว้

สถานบริการเด็กปฐมวัยเป็นสถานทีท่ ี่ทำให้พอ่ แม่ผู้ปกครองได้ใช้เวลาในการทำกิจกรรมร่วมกบั ลูก

การพาเด็กไปสถานบริการต่างๆ ก็เปรียบเสมือนการเปิดห้องเรียนชีวิตให้เด็กๆ ได้ฝึกฝนและ พัฒนาไปพร้อมกับการเรยี นรู้โลกกว้าง เด็กๆ จะได้เห็นอะไรใหม่ๆ ทำให้เขาได้เรยี นรู้ความแตกต่าง รู้จัก การปรับตัวให้เขา้ กบั สภาพแวดล้อมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป แนวคิดของสถานบริการเดก็ ปฐมวัย

การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้วยความบันเทิง โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพักผ่อน หยอ่ นใจในยามว่าง ในยามผอ่ นคลายเปน็ ชว่ งเวลาหนึง่ ท่ีสามารถจัดการเรยี นรู้โดยผู้เรียนก็ยังมีความรู้สึก ว่าเป็นการพักผอ่ นและเปน็ การใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ (เสาวพร เมืองแกว้ , 2547)

3

โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) ศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของสติปัญญา (Theory of Multiple Intelligence : MI) ซึ่งการ์ดเนอร์เชื่อว่าสมองของมนุษยไ์ ด้แบง่ เป็นสว่ น ๆ แต่ละ ส่วนไดก้ ำหนดความสามารถท่ีค้นหาและแก้ปัญหาท่ีเรยี กว่า “ปัญญา” โดยปจั จุบนั จำแนกความสามารถ หรอื สติปัญญาของคนเอาไว้ 10 ประเภท

อริ คิ สัน (Erikson อา้ งถงึ ใน สริ มิ า ภญิ โญอนนั ตพงษ์, 2547 : 46-49) เปน็ นักจติ วทิ ยาในกลุ่มจิต วิเคราะห์ มีอาชีพเป็นจิตแพทย์ ในปี 1955 ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานของ The Division of Development Psychology อิริคสัน (Erikson) ได้เน้นความสำคัญของเด็กปฐมวัยว่าเป็นวัยที่กำลัง เรียนร้สู ่งิ แวดล้อมรอบตวั ซึ่งเป็นส่ิงท่ีแปลกใหม่และน่าตนื่ เต้นสำหรับเดก็ บุคลกิ ภาพจะสามารถพัฒนาได้ ดหี รือไมข่ น้ึ อยกู่ ับว่าแตล่ ะชว่ งของอายุเด็กประสบส่งิ ทพ่ี ึงพอใจตามขนั้ พัฒนาการต่าง ๆ ของแตล่ ะวัยมาก เพยี งใด ถา้ เดก็ ได้รับการตอบสนองต่อส่งิ ท่ีตนพอใจในชว่ งอายนุ นั้ เด็กกจ็ ะมพี ฒั นาการทางบุคลิกภาพที่ดี และเหมาะสมและพฒั นาครอบคลมุ ถึงวยั ผ้ใู หญ่

เพียเจต์ (Jean Piaget, 1969) นักจิตวิทยาชาวสวิสที่เป็นที่รู้จักในฐานะผู้เชี่ยวชาญในทฤษฎี พัฒนาการทางด้านสติปัญญา หนังสือและบทความทั้งหมดซึ่งเป็นผลงานของเขาเกี่ยวข้องกับความ เจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการทางสติปญั ญาของเดก็ ซ่งึ ทฤษฎนี ้ีเนน้ ถงึ ความสำคัญของความเป็นมนุษย์ อยู่ท่ี มนุษย์มีความสามารถในการสร้างความรผู้ า่ นการปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับส่งิ แวดลอ้ ม ซึ่งปรากฏอยใู่ นตวั เด็กตงั้ แต่ แรกเกดิ ความสามารถนค้ี ือการปรบั ตัว (Adaptation) เปน็ กระบวนการท่เี ด็กสร้างโครงสรา้ งตามความคิด (Scheme) โดยการมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับสิ่งแวดล้อม 2 ลักษณะ คือ เด็กพยายามปรับตัวให้เข้ากับส่ิง แวดบอ้ ม โดยซึมซับประสบการณ์ (Assimilation) และการปรับโครงสรา้ งสติปญั ญา (Accommodation) ตามสภาพแวดล้อมเพ่ือให้เกิดความสมดุลในโครงสรา้ งความคดิ ความเขา้ ใจ (Equilibration)

บรูเนอร์ (Bruner, 1956) เป็นนักจิตวิทยาในยุคใหม่ ชาวอเมริกันคนแรกที่สืบสานความคิด ของเพียเจต์ โดยเชื่อวา่ พฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายในอินทรีย์ (Organism) เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็ก ซึ่งจะพัฒนาได้ดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับ ประสบการณ์และส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั เด็ก

แนวคิดเพลิน (Plearn) = Play and learn ทฤษฎคี อนสตรัคติวิสต์ ส่กู ารจัดการเรยี นรู้ Play + learn = Plearn ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ สิ ต์ให้ ความสำคญั กบั ตวั ผูเ้ รียน หรอื นักเรยี นมากกว่า ครู หรือ ผู้สอน ผู้เรียนจะเปน็ ผู้ทมี่ ีปฏิสมั พันธ์ (interact) กบั วัตถุ (object) หรอื เหตกุ ารณ์ ด้วยตัวของเขาเอง ซ่ึงจะทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจในวตั ถุ หรอื เหตกุ ารณ์ น้นั ซงึ่ กค็ ือ การสรา้ ง (construct) การทำความเข้าใจ (conceptualization) และ การแก้ปญั หาต่าง ๆ ดว้ ยตัวของเขาเอง ได้มผี ู้ให้ทศั นะเก่ยี วกับทฤษฎี คอนสตรคั ตวิ ิสต์ ไว้ ดงั นี้ คอนสตรัคตวิ ิสต์ (Constructivism) เปน็ ปรัชญาของการเรียนรทู้ ่ีมีรากฐานมาจากปรัชญาและ จติ วทิ ยา โดยมแี ก่นของทฤษฎี กค็ ือ เนน้ การสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเองและอยา่ งมีความหมายจาก ประสบการณ์ บุคคลสำคญั ในการพัฒนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ได้แก่ John Dewey Jean piaget Lev

4

Vygotsky Jerome Bruner ในมมุ ของ Constructivist การเรียนรู้ (Learning) หมายถงึ กระบวนการที่ ผเู้ รียนสร้างความรขู้ ึน้ ภายในอยา่ งมีความหมายโดยการตีความหมาย (interpretation) แตกต่างกันตาม ประสบการณ์ของแต่ละคนมีอยู่ เป็นกระบวนการทเ่ี กิดข้ึนอยา่ งต่อเนอื่ ง โครงสร้างความรู้ (knowledge Structure) ปรบั แก้ (modification) ได้ตลอด ความรู้ (knowledge) เกิดไดจ้ ากการแปลความหมายของ ความเป็นจริงในโลก และเข้าไป representation ภายใน (Bednar,Cunnigham, Dufft,Pertt, 1995)

Von glasersfeld (1987) ได้กลา่ วถงึ คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เปน็ ทฤษฎเี ก่ยี วกบั ความรู้ (theory of knowledge) โดยมมี มุ มองว่าเกีย่ วข้องกบั หลักการ 2 ประการ ไดแ้ ก่

- ความรู้ (knowledge) เปน็ การกระทำอยา่ งกระตือรอื ร้นโดยผเู้ รียนไมใ่ ชก่ ารทผี่ เู้ รียนจะตอ้ งมา เป็นฝ่ายรับ อยา่ งเดียวจากสิ่งแวดล้อม (Environment)

- การรจู้ กั (know) เป็นกระบวนการปรบั ตัว (adaptation) ทต่ี ้องมีการปรบั แก้ (modify) อยู่ ตลอดเวลาโดยประสบการณ์ของผู้เรยี นเองจากโลก (world) ความเป็นจริง

fosnot (1996) กลา่ วว่า คอนสตรัคตวิ สิ ต์ เนน้ ทฤษฎีเก่ียวกับความรู้ (knowledge) และการ เรยี นรู้

(กรมวชิ าการ,2545 อา้ งจาก nick Selly) ไดเ้ ขยี นเกย่ี วกบั ทฤษฎสี รรค์สรา้ งนิยม (Constructivism) วา่ เป็นทฤษฎกี ารเรยี นรูท้ ผ่ี ้เู รียนทกุ คนสรา้ งความรู้จากความคิดของตนเอง แทนทจี่ ะ รบั ความรู้ท่สี มบรู ณ์และถูกตอ้ งจากครหู รือแหล่งความร้ทู ค่ี รกู ำหนดไว้ การสรา้ งความร้เู ชน่ นี้ เป็น กระบวนการทเี่ กดิ ขน้ึ ภายในบคุ คลโดยไมร่ ู้ตวั ซง่ึ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยการนำความร้หู ลายดา้ นมา ตีความหมายใหม่ ความรบู้ างเรอื่ งอาจไดม้ าจากประสบการณต์ รงของตนเองและบางเรอ่ื งได้มาจากการ แลกเปลี่ยนกับผอู้ ืน่ แล้วจงึ สรา้ งภาพท่ีสมบรู ณ์และสอดคลอ้ งกบั ของโลกโดยรวมขน้ึ มา “โลก” อาจหมาย รวมถึงธรรมชาตดิ า้ นกายภาพ หรอื วัตถุ และด้านจติ ใจ คอื ด้านสงั คมอารมณ์ และปรัชญาตา่ ง ๆ

ดังนนั้ จงึ อาจสรปุ ได้วา่ ทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เป็นทฤษฎกี าร เรียนรทู้ เ่ี ช่อื วา่ ความรู้ (knowlodge) และการเรียนรู้ (Learning) จะเกดิ ข้นึ ไดด้ ้วยตนเองเป็นคนสรา้ ง ข้ึนมาด้วยการ ตีความหมาย (interprete) ของส่ิงที่อยใู่ นโลกความเปน็ จริง (real world) ท้ังท่ีเปน็ วัตถุ (object) หรือเหตกุ ารณ์ (event) ทอ่ี ยบู่ นฐานประสบการณ์และความรู้ ทแี่ ต่ละบุคคลมีมาก่อนเขา้ ไป สรา้ งความหมาย (representation) ภายในจติ ใจ

PLEARN เปน็ ศัพทบ์ ญั ญัตทิ ่ีศาสตราจารย์ ดร.ชยั อนันต์ สมุทวาณิช อดีตผู้บงั คับการวชริ าวุธ วิทยาลยั บญั ญตั ิขนึ้ จากคำว่า Play + Learn ซ่ึงเมือ่ ออกเสยี งเป็น “เพลนิ ” แลว้ ใหค้ วามหมายที่ ดี กลา่ วคือการเล่นเรยี นทำให้เดก็ เพลนิ เพราะถ้าเรยี น (learn) อย่างเดยี วกเ็ กิดความเบอ่ื เลน่ (play) อยา่ งเดยี วก็จะเป็นการไรส้ าระจนเกินไป ดว้ ยดร.ชัยอนันต์ เหน็ ว่าการเรยี นในระบบโรงเรยี นล้มเหลว และทำให้ทงั้ ครูและนกั เรยี นเกิดความทกุ ขเ์ พราะระบบโรงเรียนพยายามจะบงั คับใหเ้ ด็กเรยี นและรับในสิ่ง ที่เดก็ ไมส่ นใจ แตก่ ารที่ใหท้ างเลอื กกต็ ้องให้เดก็ เข้าใจดว้ ยวา่ เดก็ ๆควรรจู้ ักเลือก ไมใ่ ช่เลือกทจ่ี ะเลน่ โดยไม่

5

เรียน และก็ไมใ่ ช่การเลือกทจี่ ะเรยี นอย่างเดียวโดยไม่เลน่ กล่าวคอื เปน็ ทางสายกลาง ซ่ึงครูควรเข้าใจและ ตอ้ งมคี วามคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ (Creativity) จงึ จะสร้างกระบวนการเพลนิ ได้

ดังนนั้ จึงกล่าวไดว้ ่า บทสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีคอนสตรคั ติวิสตท์ ก่ี ล่าวมาขา้ งต้น สรปุ เป็น สาระสำคญั ไดด้ ังน้ี

  1. ความรูข้ องบุคคลใด คอื โครงสรา้ งทางปญั ญาของบคุ คลน้นั ทีส่ ร้างข้นึ จากประสบการณใ์ นการ คล่คี ลายสถานการณ์ท่ีเปน็ ปญั หาและสามารถนำไปใชเ้ ปน็ ฐานในการแก้ปัญหาหรอื อธิบายสถานการณ์ อ่นื ๆ ได้
  1. ผู้เรยี นเปน็ ผู้สรา้ งความร้ดู ้วยวิธีการท่ีตา่ งๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และโครงสรา้ งทาง ปัญญาทีม่ อี ย่เู ดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจดุ เรม่ิ ต้น
  1. ครมู ีหนา้ ทีจ่ ัดนวตั กรรมการเรียนรู้ใหผ้ ้เู รียนไดป้ รบั ขยายโครงสรา้ งทางปัญญาของผเู้ รยี นเอง ภายใต้ข้อสมมตฐิ านต่อไปน้ี

- สถานการณท์ ี่เป็นปัญหาและปฏสิ มั พันธ์ทางสังคมกอ่ ให้เกดิ ความขดั แยง้ ทางปญั ญา - ความขัดแยง้ ทางปัญญาเปน็ แรงจงู ใจภายในให้เกิดกจิ กรรมการไตรต่ รองเพอื่ ขจดั ความขดั แยง้ นน้ั Dewey ได้อธบิ ายเกีย่ วกับลักษณะการไตรต่ รอง (Reflection) เปน็ การพิจารณาอย่างรอบคอบ กจิ กรรมการไตรต่ รองจะเรม่ิ ตน้ ด้วยสถานการณท์ ี่เป็นปญั หา นา่ สงสยั งงงวย ยุง่ ยาก ซบั ซอ้ น เรียกวา่ สถานการณ์กอ่ นไตรต่ รอง และจะจบลงดว้ ยความแจ่มชดั ท่ีสามารถอธบิ ายสถานการณ์ดังกล่าว สามารถ แกป้ ญั หาได้ ตลอดจนไดเ้ รยี นรแู้ ละพงึ พอใจกับผลท่ีไดร้ บั - การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสรา้ งทางปญั ญาทม่ี ีอยูเ่ ดมิ ภายใตก้ ารมี ปฏสิ ัมพันธ์ทางสังคม กระต้นุ ใหม้ กี ารสร้างโครงสรา้ งใหม่ทางปัญญา ดังนน้ั การจดั การเรียนรู้แบบ Play + Learn = Plearn เป็นการจดั การเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเป็น สำคญั ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และครูเปน็ ผู้สรา้ งแรงจูงใจให้กบั ผเู้ รยี น ซ่ึงเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ แนวทางของทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต์ แนวคดิ การเรียนผา่ นการเล่น (PLAY-BASED LEARNING) Play-based Learning คือการใชก้ ารเล่นเพอ่ื เรียนรู้และเปน็ บริบทของการเรยี น เปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ ไ่ี ดร้ บั การยอมรับวา่ เหมาะสมสำหรับเด็กและได้รับความนยิ มเป็นอย่างย่งิ ในโรงเรียน ทว่ั โลก โดยเฉพาะในสหราชอาณาจกั ร และได้ใช้กันอยา่ งแพรห่ ลาย หอ้ งเรยี นในแบบ Play-based Learning จึงไม่มีโตะ๊ และเกา้ อ้ี แต่เต็มไปด้วยมมุ ต่าง ๆ ให้เด็ก ๆ ไดเ้ ลอื กเลน่ ‘ด้วยตวั เอง’ เพ่อื สำรวจ ทดลอง คน้ หา สนุกสนาน ผ่านจนิ ตนาการของตัวเอง ซึง่ ความหมายของคำว่า ‘เล่น’ ในที่นี้หมายถึง การ เลน่ อยา่ งอิสระ (free play) โดยเด็กๆ เป็นผรู้ เิ รมิ่ กิจกรรมตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง (child-initiated) ตาม ธรรมชาติของพวกเขา หรอื การเล่นท่ีได้รับการช้ีนำ (guide play) และมคี รเู ป็นผู้ร่วมเลน่ (co-player) ใน แต่ละกิจกรรมนัน้ ๆ ซึง่ การเลน่ ทง้ั สองรูปแบบของกระบวนการเรียนรู้ Play-based Learning จะ สอดแทรกความรูว้ ชิ าการผ่านการสนบั สนนุ จากครู กล่าวคือ ครูกระตนุ้ การเรยี นของเดก็ ๆ ตัง้ คำถามผา่ น

6

การมีปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั โดยมีเป้าประสงคเ์ พ่ือขยายขอบเขตความคิดของพวกเขาให้กวา้ งไกลมากข้ึน วิธกี ารน้ี เด็ก ๆ จงึ เปน็ ศูนย์กลางในการเรยี นรอู้ ยา่ งแทจ้ ริง แตกตา่ งจากวิธกี ารเรียนทวั่ ไปท่มี ักจะถูกนำ โดยคุณครูหรือหลักสตู รท่ีกำหนด

“การเรียนร”ู้ – ในห้องเรยี นคณิตศาสตรท์ ่วั ไป อาจจมรี ูปแอปเป้ลิ หลายผลใหเ้ ด็ก ๆ ได้นับหรือต้งั โจทย์ปัญหา ตามแบบฝกึ หดั ให้เขาได้ลองบวกลบคูณหาร เพื่อสรา้ งทักษะทางคณติ ศาสตร์ใหเ้ ดก็ ๆ – ในหอ้ งเรียนแบบ Play-based Learning อาจจะไมม่ ีวชิ าเลข แตห่ ากเดก็ ๆ เลือกเลน่ บทบาท สมมติ คุณครจู ะสอดแทรกวชิ าคณิตศาสตร์โดยใช้การต้ังคำถามและเล่นไปกับเด็ก ๆ เช่น ‘คุณครอู ยากซ้อื แอปเป้ิลใหเ้ พือ่ น 3 ผล และใหต้ วั เอง 1 ผล คุณครคู วรจะซอ้ื แอปเปิ้ลทง้ั หมดกผี่ ล’ ดว้ ยวิธนี ี้ เด็ก ๆ จะได้ ทง้ั ทักษะคณิตศาสตร์ พรอ้ มทัง้ พฒั นาการทงั้ ดา้ นความคดิ สร้างสรรค์ การเข้าสังคม พฒั นาการด้าน อารมณ์ การแสดงออกดา้ นความคิด ผ่านทางการเลน่ และตอบโต้กบั คนรอบข้าง ‘บทบาทของคณุ คร’ู – ในห้องเรยี นทว่ั ไป คณุ ครูจะสอนบทเรียนตามหนังสอื ในขณะทีเ่ ด็ก ๆ น่ังฟงั หรือทำแบบฝึกหัด – ในห้องเรียนแบบ Play-based Learning คุณครผู เู้ ชีย่ วชาญจะรับบทบาทเปน็ ผ้สู ังเกตการณ์ คอยกระต้นุ ตั้งคำถาม เพ่ือให้พวกเขาได้คดิ และแนะนำไปในการเรยี นรทู้ ถี่ ูกตอ้ งโดยไม่ตดั สนิ วา่ ถกู หรือผิด ทำให้นอ้ ง ๆ ภูมิใจในผลงานของตวั เอง เกิดความเขา้ ใจอย่างแท้จรงิ ในส่งิ ท่ที ำ และที่สำคญั ท่ีสดุ คอื ได้ เรยี นรโู้ ดยไม่ต้องทอ่ งจำ โดยสรปุ คอื การใช้ Play-based Learning ทำให้การเรยี นรู้เกดิ ขน้ึ อยา่ งเป็นธรรมชาติ จุด ประกายความอยากรู้เก่ยี วกับสิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั และท่ีสำคญั คอื สนกุ และเปน็ ธรรมชาติ จงึ นำไปส่กู าร เรียนรเู้ พิม่ เตมิ และสร้างเป็นนสิ ยั ทร่ี กั การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเด็กในระดับปฐมวัยเป็นสิ่งสำคัญ จึง จำเป็นต้องให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการทำกิจกรรม เพื่อที่เด็กจะไดร้ ับประสบการณ์ตรงและได้รับพัฒนาการ ต่างๆอย่างเป็นองค์รวม ดังนั้น สถานบริการสำหรับเด็กปฐมวัยแต่ละสถานบริการที่ตั้งขึ้นโดยมี เป้าประสงค์ที่ต่างกนั จะช่วยตอบสนองความต้องการของเด็กกับพ่อแม่ผู้ปกครองที่ต้องการรับบริการใน ดา้ นนนั้ ๆ Educational entertainment (also referred to as edutainment) is media designed to educate through entertainment. It's a term used as early as 1954 by Walt Disney. Most often it includes content intended to teach but has incidental entertainment value. It has been used by academia, corporations, governments, and other entities in various countries to disseminate information in classrooms and/or via television, radio, and other media to influence viewers' opinions and behaviors.

7

สรุป จากความหมาย ความสำคัญ แนวคดิ ของสถานบรกิ ารเด็กปฐมวยั สรุปได้ว่า สถานบริการสำหรับ

เด็กปฐมวัย เป็นสถานทท่ี ี่ต้งั ขึน้ เพ่อื ใหค้ วามสะดวกต่างๆ ใหก้ บั เด็กปฐมวยั ช่วยให้เดก็ ได้รับการพัฒนาใน ด้านต่างๆอย่างเหมาะสม ตามความต้องการของเดก็ และพอ่ แม่ผู้ปกครอง ช่วยใหไ้ ด้การเรียนรูโ้ ลกกว้าง ได้ เห็นอะไรใหม่ๆ ทำให้เด็กได้เรียนรูค้ วามแตกต่าง รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง ไป เพราะการพัฒนาในช่วงปฐมวัย คือ ช่วงวัยที่สำคัญจำเป็นต้องให้เด็กได้เรียนรู้ เพื่อที่เด็กจะได้รับ ประสบการณ์ตรงและได้รับพัฒนาการต่างๆอย่างเป็นองค์รวม ซึ่งสถานบริการสำหรับเด็กปฐมวัยแต่ละ สถานบริการที่ตั้งขึ้นโดยมีเป้าประสงค์ที่ต่างกัน จะช่วยอำนวยความความสะดวก และส่งเสริมให้เด็กๆ ไดร้ บั ประสบการณ์ความรตู้ ่างๆอย่างเหมาะสม

8

เอกสารอ้างอิง ครูประถม.คอม. (2561). Learning by doing. [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก:

https://www.krupatom.com/education_1637/1637-2/. (2564, 28 พฤศจิกายน). ทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้องกับพฒั นาการเด็กปฐมวยั . (2565). [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:

https://sites.google.com/site/thvsdiphathnakardekpthmway/thvsdi-thi-keiywkhxng- kab-phathnakar-dek-pthmway. (2564, 28 พฤศจิกายน). เทยี มยศ ปะสาวะโน. (2556). เอดูเทนเมนต์: การศกึ ษาแนวใหมท่ ี่โดนใจวยั ร่นุ . วารสารครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ .ี 1(1): 25-35. พระราชบัญญัติ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๒. (2562). [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/056/T_0005.PDF. (2564, 28 พฤศจิกายน). พระราชบัญญัติสถานบรกิ าร. (2509). [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ได้จาก: http://taxclinic.mof.go.th/pdf/E044CD6_3C04_F562514CA005.pdf. (2564, 28 พฤศจิกายน). เพลนิ (Plearn) = Play and learn. (2555). [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก: http://nonghinschool2555.blogspot.com/2012/07/plearn-play-and-learn.html. (2564, 28 พฤศจิกายน). มหาวทิ ยาลยั คริสเตยี น. คำจำกดั ความของการบริการ. (2565). [ออนไลน์], เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://ctublog.christian.ac.th/blog_stu/A3/. (2564, 28 พฤศจิกายน). โรงเรียนบคี อนเฮาส์แยม้ สอาดลาดพร้าว. (2565). การเรียนผา่ นการเลน่ (PLAY-BASED LEARNING). [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://bys.ac.th/bilingual/bysladprao/index.php/th/ programme-th/play-based-learning-th. (2564, 28 พฤศจิกายน). โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลยั แผนกประถม. (2556). การเรยี นรูโ้ ดยการลงมอื ทำ (Learning by doing). [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://mcpswis.mcp.ac.th/html_edu/cgi- bin/main_php/print_informed.php?id_count_inform=20871. (2564, 28 พฤศจิกายน). วิทยาลยั อาชีวศึกษาสพุ รรณบรุ .ี (2558). หนว่ ยที่ 1 ความร้เู บ้ืองต้นการใหบ้ รกิ าร. [ออนไลน์], เขา้ ถึง ได้จาก: http://www.spvc.ac.th/news/Chapter1-Service.pdf. (2564, 28 พฤศจกิ ายน). สน สวุ รรณ. (2556). ทฤษฎีท่เี กยี่ วข้องกับพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั . [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก: https://suwanlaong.wordpress.com/2013/05/25/9E/. (2564, 28 พฤศจิกายน).

9

สืบศักดิ์ น้อยดดั . (2555). การศกึ ษาพฤตกิ รรมความมวี นิ ยั ในตนเองของเด็กปฐมวัยท่ีได้รับการจัด ประสบการณ์แบบโครงการ. ปริญญานิพนธ์. การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

สำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.). (2555). หลกั การ แนวคดิ ของนกั ทฤษฎี สำหรบั เดก็ ปฐมวัย. [ออนไลน์], เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.kidactiveplay.com/content. php?types=learn&cid=534. (2564, 28 พฤศจิกายน).

Beyond Code Academy. (2565). หลักคดิ ของการเรียนผา่ นการเลน่ . [ออนไลน]์ , เข้าถึงไดจ้ าก: https://www.beyondcodeacademy.com/post/play-base-learning-beyondcode. (2564, 28 พฤศจกิ ายน).

Kensington Learning Space. (2562). What is Play-based Learning? เรียนผา่ นการเลน่ เป็น ประโยชน์อยา่ งไร. [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก: https://klearningspace.com/news- blogs/whatisplay-basedlearning/. (2564, 27 พฤศจิกายน).

KEWIKA POOMDEE. (2558). play and learn = plearn. [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ได้จาก: https://www.gotoknow.org/posts/293698. (2564, 27 พฤศจกิ ายน).

McCallum, A. (2006). “Entertainment & Education Join Forces for theMillennium”. (Online). Available (December 3, 2021). Available From http://www.fundandedutain .com/define.html.

prasert rk. (2555). การบรกิ าร. [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก: http://www.spvc.ac.th/news/Chapter1-Service.pdf. (2564, 28 พฤศจกิ ายน).

Radick, L. (2004). “What's Edutainment? Utilizing new tools in our schools”. (Online). Retrieved (December 3, 2021). Available from http://www.fundandedutain.com.

Sakamura, K. (1999). Entertainment and Edutainment. Japan : University of Tokyo. White, R. (1999). “Children's Edutainment Centers: Learning Through Play”. (Online). Retrieved (December 3, 2021). Avarible From http://www.whitehutchinson.com.

Wikipedia, the free encyclopedia. (2021). Educational entertainment. (Online). Retrieved (December 3, 2021). Available from https://en.wikipedia.org/wiki/Educational_entertainment?fbclid=IwAR3lagsJ5DhXq wiztFVIknpPaxWp2vO4QPe_FzJDlLko9N8xmhMmpozyBgY

Concept.

10

บทที่ 2 สถานบริการดา้ นสง่ เสริมทักษะและความรู้

สถานบริการท่ีสง่ เสริมดา้ นทักษะและความรทู้ ่ีอยู่ในการดูแลของภาครฐั บาล ได้แก่ 1. กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม

1.1 พิพิธภณั ฑ์ในเครอื อพวช. ความเปน็ มา

เนื่องในวาระมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เม่ือวันท่ี 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535 รัฐบาลสำนึกในพระมหากรณุ าธคิ ุณจึงมอบหมายให้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ดำเนินการโครงการจัดตั้ง "องค์การพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ" เพื่อเฉลิมพระเกียรตทิ ี่ล้นเกล้าฯ ทรงมีต่อพสกนิกรและประเทศชาติ โดยเฉพาะที่ ทรงเป็นผู้นำในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้กับศลิ ปวัฒนธรรมไทย เพื่อพัฒนาอาชพี และยกระดับคุณภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ของประชาชน เปา้ ประสงค์สำคญั ในการจดั ต้ัง

- เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงนำวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีไปใช้ในการพฒั นา เศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดลอ้ มและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพ้ืนท่ี ชนบท

- เพอื่ กระตุ้นและส่งเสริมสงั คมไทยให้สนใจและเหน็ ความสำคญั ของวิทยาศาสตร์ที่มีต่อการพัฒนา ประเทศ และปลกู ฝังให้เยาชนมที ศั นคติทดี่ ีต่อวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- เพื่อเป็นสถานที่ให้ความรู้และความเพลิดเพลินของครอบครัว รวมทั้งเป็นแหล่งท่อง เที่ยวของ นกั ทอ่ งเที่ยว ทั้งชาวไทยและตา่ งประเทศ

บทบาทหนา้ ที่ สงิ่ ที่ให้กับประชาชน อพวช.เป็น 1. ความรู้รอบด้าน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์แขนงตา่ งๆ ที่ อพวช. รวบรวมมาจากหน่วยงานของ

รฐั และนักวชิ าการภายในองคก์ ร ทีม่ กี ารสัง่ สมมาเปน็ เวลานานกว่า 26 ปี 2. ความมีประโยชน์ ประโยชน์การดำรงชีวิตที่จะเป็นแรงต่อยอดสร้างความรู้รอบด้าน ให้กับ

ตนเอง ครอบครวั และประเทศในตอนน้แี ละอนาคต 3. ความเพลิดเพลิน ความสนกุ ความสขุ ท่ีไดร้ บั และแรงบันดาลใจใฝร่ ู้ทางวิทยาศาสตร์ จากการ

เสพขอ้ มูลของ อพวช. ผา่ นทางชอ่ งทางและวิธีการตา่ ง ๆ หน่วยงานและกระทรวงทร่ี ับผดิ ชอบ/อย่ภู ายใต้หนว่ ยงาน

รฐั วิสาหกิจในสังกดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม การเปิดดำเนินงาน / การขออนุญาตจดั ต้งั

จดั ตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การพพิ ิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์แหง่ ชาติ เมอื่ วนั ที่ 30 มกราคม 2538

11

การจดั โครงสร้างองคก์ ร และการจัดระบบงานบรหิ าร - แผนปฏิบัติการ อพวช. จัดทำขึ้นโดยมีความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ

แนวทางการดำเนนิ งานตามมาตรการเพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพ - การใช้จ่ายเงินงบประมาณของรัฐบาล และเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานใน

โครงการ/กจิ กรรมของ อพวช. ใหบ้ รรลุเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ - ตามภารกิจทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งแรงบันดาลใจ การสรา้ งความตระหนกั ทางวิทยาศาสตร์

วสิ ยั ทัศน์ ดินแดนแห่งการค้นพบ ความมหัศจรรย์ของวิทยาศาสตร์ A place where everyone can

discover the wonders of science พนั ธกจิ

- สร้างแรงบันดาลใจให้ทุกคนสนุกกับการค้นพบ เรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยความมหัศจรรย์ของ วิทยาศาสตร์ (To inspire people with the best learning, research and entertainment solution.) ดว้ ยการ

- สร้างแรงบันดาลใจและความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ - ให้บรกิ ารพิพิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยมาตรฐานระดับโลก - วจิ ัย รวบรวมวัสดุตัวอย่าง และจดั การองค์ความรู้เพ่ือการสอ่ื สารวทิ ยาศาสตร์ - พัฒนาธุรกจิ และสร้างความร่วมมอื ระดับประเทศและนานาชาติที่เกีย่ วกับพพิ ธิ ภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์ คา่ นิยม (Core Value) หลักการนำทางชีวิตการปฏบิ ตั งิ าน ทเ่ี ปน็ วฒั นธรรมองค์กร มดี งั ต่อไปนี้ Wisdom – Innovation – Neighborly - Spark

Wisdom : ความรอบร้ใู นมนุษย์ ธรรมชาติและศลิ ปวิทยาการ Innovation : มีความคิดรเิ รมิ่ ค้นควา้ สรา้ งสรรค์สิง่ ใหมอ่ ย่เู สมอ Neighborly : มอบสิ่งทดี่ ีทีส่ ุดใหก้ ับลกู ค้า เพอ่ื นร่วมงาน และสงั คม Spark : เปน็ ประกายมชี วี ติ ชวี า มีพลงั เชิงบวก พิพิธภณั ฑ์ในต่างประเทศ Shanghai Science & Technology Museum พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Science & Technology Museum) มีลานแสดงนทิ รรศการและโรงภาพยนตร์ ภายในมีการ จัดแสดงหลากหลาย เกย่ี วกบั ประวตั ิศาสตร์ธรรมชาติ ไปจนถงึ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้รับความนิยมมาก ในหมู่นักท่องเท่ยี วท่ีมาเป็นครอบครวั National Museum of Natural Science, Taiwanพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติ (National Museum of Natural Science) ต้ังอยู่ทเี่ มืองไทจง ประเทศไตห้ วนั Science Museum, Londonพพิ ิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตร์ (Science Museum) ตั้งอยู่ในเซาทเ์ คนซิงตัน กรุง ลอนดอน ประเทศอังกฤษ

12

Experience at Home Kahaku VR National Museum of Nature and Science ห น ึ ่ ง ใน พิพิธภัณฑเ์ ก่าแก่ของประเทศญี่ปุ่นที่ก่อตัง้ มาตั้งแต่ พ.ศ.2420 ตั้งอยู่ท่ีสวนอูเอโนะ กรุงโตเกียว ที่นี่มีท้ัง นิทรรศการพิเศษหมุนเวียน และส่วนจัดแสดงถาวรซึ่งจะเน้นการจัดแสดงตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ท่ี แสดงให้เหน็ ถงึ วิวัฒนาการ โดยเฉพาะสำหรับใครทช่ี อบหรอื สนใจเก่ียวกับสิ่งมชี วี ติ

พิพิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรน์ าโกย่า (Nagoya Science Museum) แหลง่ เรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์ที่ดี ท่ีสดุ แหง่ หนึ่งของประเทศญี่ปุน่ ภายในมีส่วนจัดแสดงเรือ่ งราวเก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ธรรมชาติ วทิ ยา พิพิธภัณฑใ์ นเครือ อพวช. ประกอบด้วย

ภาพที่ 1 พิพธิ ภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ พิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ พิพิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์ เป็นอาคารที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเดน่ ด้วยรูปทรงลูกบาศก์ 3 ลูก เชื่อมติดกัน ภายในอาคารประกอบด้วยพื้นที่นิทรรศการ 6 ชั้น โดยจัดแสดงเนื้อหานิทรรศการเกี่ยวกับ ประวัตินักวิทยาศาสตร์ ประวัติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน พลังงาน วทิ ยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวนั และวิทยาศาสตรใ์ นภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ของไทย แต่ละช้ันประกอบด้วยสาระ ดงั นี้ ชั้นที่ 1 นักวิทยาศาสตร์รุ่นบุกเบิก และกิจกรรมเสริมศึกษา ได้แก่ Enjoy Maker Space, Engineering Design, ภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์, การแสดงทางวทิ ยาศาสตร์ และนทิ รรศการหมนุ เวยี น ช้นั ท่ี 2 ประวตั ิการค้นพบทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ช้ันท่ี 3 วิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน อุโมงคพ์ ลงั งาน และ โรงภาพยนตร์พลงั งาน 4 มิติ ชั้นท่ี 4 โลกของเรา ธรณีวทิ ยา ภมู ศิ าสตร์ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ เกษตรแหง่ ความสุข และ สิง่ กอ่ สรา้ งและโครงสรา้ ง

13

ชน้ั ท่ี 5 รา่ งกายของเรา การคมนาคม คุณภาพชวี ติ วิทยาการหุ่นยนต์และระบบอตั โนมัติ และนา โนเทคโนโลยี

ชน้ั ที่ 6 เทคโนโลยภี มู ิปญั ญาไทย

ภาพที่ 2 พิพธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตวิ ทิ ยา พิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวิทยา พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวทิ ยาเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2546 เพอื่ ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางการศึกษาวิจัยด้าน ธรรมชาติวิทยาและวัสดุอุเทศน์ของประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง และยังเป็นศูนย์จัดแสดง นิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนำเสนอตัง้ แตก่ ารกำเนิดโลก สู่กำเนิดสรรพสิง่ และสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วยส่วนแสดงนิทรรศการถาวร 1,000 ตารางเมตร ส่วนแสดงนิทรรศการหมุนเวียน และห้อง แสดงนิทรรศการนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุลพร้อมด้วยตัวอย่างเขาสัตว์ที่ท่านได้มอบให้กับพิพิธภัณฑ์ ธรรมชาตวิ ทิ ยา พื้นท่ี 400 ตารางเมตร พน้ื ทีร่ วมจดั แสดง 1,400 ตารางเมตร การจัดแสดงนทิ รรศการ ประกอบดว้ ยส่วนจดั แสดงหลกั 4 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี 1 การกำเนดิ โลก สว่ นที่ 2 การกำเนิดสงิ่ มีชีวติ สว่ นที่ 3 ววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวิต สว่ นท่ี 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ

14

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ยังเป็นคลังเก็บวัตถุตัวอย่าง ประกอบด้วยคลังเก็บวัตถุตัวอย่างแห้ง และคลังเก็บวัตถุตวั อย่างเปียก พื้นที่ 1,200 ตารางเมตร วัตถุตัวอย่างเริ่มต้นจากการบริจาคตัวอย่างนก และสัตวเ์ ล้ยี งลกู ด้วยนมจากครอบครัว นายแพทยบ์ ญุ สง่ เลขะกุล และตวั อยา่ งปลา สตั ว์สะเทินน้ำสะเทิน บก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง จากสถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย ต่อมาจึงได้เกบ็ ตวั อย่างพชื และสตั วท์ ุกชนดิ ต่อเน่ืองมาถึงปจั จุบนั

ภาพท่ี 3 พิพิธภัณฑเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ พพิ ธิ ภัณฑเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

พพิ ิธภัณฑเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ จัดแสดงนิทรรศการเก่ียวกบั ความรู้ ประโยชน์ และความสำคัญ ของเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ เตรยี มคนไทยสู่สงั คมดจิ ิทัล สรา้ งความตระหนัก รู้เท่าทันเทคโนโลยีซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการ ถาวรที่เล่าเรื่องราวววิ ฒั นาการของเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารนับต้ังแต่ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์จนถึงยุคปัจจุบัน ผ่านการนำเสนอด้วยเทคนิค แสง สี เสยี ง ท่ีทนั สมยั ประกอบดว้ ยช้ินงาน เครือ่ งเลน่ ทางวิทยาศาสตร์ ส่ือ ประสมเชิงปฏสิ ัมพันธ์ และกิจกรรมเสริมการเรียนรู้มากมาย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไป กบั การเรียนรู้ภายในพพิ ธิ ภณั ฑ์ นิทรรศการถาวร ประกอบด้วยส่วนจัดแสดงหลัก 6 สว่ น ได้แก่

ส่วนท่ี 1 ประตสู ่วู วิ ัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศ สว่ นที่ 2 การส่อื สารยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์ ส่วนที่ 3 การส่อื สารยุคอิเล็กทรอนกิ ส์ ส่วนท่ี 4 การคำนวณ ส่วนที่ 5 คอมพิวเตอร์

15

สว่ นท่ี 6 เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ

ภาพที่ 4 พพิ ิธภณั ฑ์พระรามเก้า

พิพิธภัณฑ์พระรามเกา้ พิพิธภัณฑ์พระรามเก้าเป็นโครงการที่ริเริ่มเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษาพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยนำเสนอ หลักการคิด วิธกี ารทรงงาน และกระบวนการค้นหาคำตอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ องในหลวง รชั กาลท่ี 9 ที่ทรงพระราชทานแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ แก้ปัญหาแก่พสกนกิ รในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมที่แสดงถึงวิวัฒนาการของโลกและ สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศวิทยาของภูมิภาค และความหลากหลายทางชีวภาพในภาพรวมของโลกและของ ประเทศไทย พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า จึงเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของประชาชนชาวไทยอย่างลึกซึ้งและ กว้างขวาง ในการสง่ เสริมความรู้ ความเขา้ ใจและความตระหนกั ในบทบาทความสัมพันธ์ของระบบนิเวศท่ี สำคัญของโลกและของประเทศไทย อันจะนำไปสู่การมีจิตสำนึกในการรักษา อนุรักษ์ระบบนิเวศ และ เตรียมรบั มือกับภยั พิบัติทางธรรมชาติอย่างรูเ้ ทา่ ทนั การจดั แสดงนิทรรศการ ประกอบดว้ ยสว่ นจัดแสดงหลัก 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ส่วนที่ 1 บ้านของเรา กำเนดิ โลกและส่ิงมชี ีวิต สว่ นท่ี 2 ชวี ิตของเรา ชวี นิเวศแบบตา่ ง ๆ บนโลกนี้ ส่วนท่ี 3 ในหลวงของเรา ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารอยรู่ ว่ มกันอยา่ งยงั่ ยนื

16

1.2 พพิ ิธภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์และท้องฟา้ จำลอง

ภาพท่ี 5 พพิ ธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตรแ์ ละท้องฟ้าจำลอง

ความเป็นมา ในปี พ.ศ. 2505 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้กระทรวงศึกษาธกิ าร ดำเนินการสร้างท้องฟ้าจำลอง

กรุงเทพและหอดูดาว ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำคัญและมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และดาราศาสตร์ ตลอดจนเป็นแหล่งท่ีเยาวชนสามารถไปชุมนุมหาความรู้ได้ง่าย โดยจะได้ เรียนจากของจำลองเหมือนของจริง ทำให้เข้าใจได้ลึกซึ้งและรวดเร็วกว่าการสอนด้วยปากเปล่า รวมท้ัง ก่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความมเี หตผุ ลและความเพลดิ เพลิน เป้าประสงค์สำคญั ในการจัดต้ัง

แสดงและเผยแพร่ความรู้ เช่น การจัดนิทรรศการ บรรยายความรู้สาขาต่าง ๆ ของวิชา วิทยาศาสตร์ และดาราศาสตร์ หนว่ ยงานและกระทรวงทร่ี บั ผิดชอบ/อยู่ภายใต้หน่วยงาน

หน่วยงานราชการ ภายใตก้ ารดูแลของกระทรวงศกึ ษาธิการ การเปดิ ดำเนนิ งาน / การขออนุญาตจดั ต้ัง

เปิดดำเนินการคร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2507 พิพธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตรใ์ นต่างประเทศ

City of Arts and Sciences วาเลนเซีย สเปน Griffith Observatory แคลฟิ อร์เนีย สหรฐั อเมรกิ า Hayden Planetarium นวิ ยอรค์ สหรฐั อเมริกา Nagoya City Science Museum นาโกย่า ญี่ปุ่น

17

2. กระทรวงกลาโหม 2.1 พพิ ิธภัณฑก์ องทัพอากาศและการบิน

ภาพท่ี 6 พิพธิ ภัณฑก์ องทัพอากาศและการบิน

ความเปน็ มา พ.ศ.2457 ได้จดั ต้งั เปน็ กองบนิ ทหารบก จนกระทัง่ ได้วิวฒั นาการมาเปน็ “กองทพั อากาศ”

กองทพั อากาศได้จัดต้ังพิพิธภณั ฑ์กองทพั อากาศข้ึน”เมอื่ วันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2495 เปา้ ประสงค์สำคญั ในการจัดตง้ั

เพื่อรวบรวม และเก็บรักษาอากาศยานเครือ่ งสื่อสาร อิเล็กทรอนิกส์ อาวุธยุทโธปกรณ์ ที่เคยใช้ ในกองทพั อากาศ ตลอดจนบริภัณฑ์ประจำตัวนักบิน เครอ่ื งแบบและพสั ดอุ ่ืน ๆ ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ท่ี เหน็ สมควรเก็บรกั ษาไว้ เพอ่ื เป็นตำนาน ของกองทัพอากาศ และเปิดโอกาสใหผ้ สู้ นใจเข้าชม หน่วยงานและกระทรวงที่รบั ผิดชอบ/อยูภ่ ายใตห้ นว่ ยงาน

กรมสารบรรณทหารอากาศ เป็นผู้ดแู ลรับผิดชอบ พิพิธภณั ฑ์กองทพั อากาศ กระทรวงกลาโหม การเปิดดำเนนิ งาน / การขออนุญาตจัดต้งั

สร้างข้ึนในปี พ.ศ. 2512 พพิ ธิ ภณั ฑ์กองทัพอากาศและการบนิ ในต่างประเทศ

National Air and Space Museumพิพิธภัณฑ์ยานบินและยานอวกาศแห่งชาติ (National Air and Space Museum) ตั้งอยู่ท่ีกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นพิพธิ ภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงมาก ทส่ี ดุ ของสถาบันสมธิ โซเนียน ภายในเปน็ แหล่งรวมวตั ถุท่ีเก่ียวขอ้ งด้านอากาศยานและอวกาศยานท่ีใหญ่ ที่สุดในโลก

18

Space Center Houston เท็กซัส สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นศูนย์กลางการฝึกนักบินและการควบคุม ภารกิจของ NASA ในส่วนที่เข้าชมได้นั้นจะได้ชมชิ้นส่วนหลายอย่างจากจรวดและยานอวกาศต่างๆ มี รถรางพาชมศูนย์ควบคุมภารกิจ

Musée de l'Air et de l'Espace (Museum of Air and Space) ปารีส ฝร่ังเศส พิพิธภัณฑ์นี้ตั้งอยู่ท่ีสนามบิน Le Bourget ทางตอนเหนือของปารีส เป็นหน่ึงในพิพิธภัณฑ์ด้านการบินท่ี เก่าแก่ที่สุดในโลก ท่ีน่ีมีอากาศยานให้ชมกว่า 150 ลำ นับตั้งแต่ยุคเร่ิมสร้างเคร่ืองบิน บอลลูน ไปจนถึง ยานอวกาศ มีจรวดของสวิตเซอร์แลนด์และรัสเซียให้ชมมากมาย

2.2 พพิ ิธภัณฑ์กองทพั บกเฉลิมพระเกยี รติ

ภาพที่ 7 พิพิธภณั ฑ์กองทพั บกเฉลิมพระเกยี รติ พิพิธภณั ฑ์กองทัพบกเฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่ในกองบญั ชาการกองทัพบก และได้เปดิ พพิ ิธภณั ฑ์ ให้บุคคลทั่วไปได้เข้าชมเป็นวันแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2539 ซึ่งตรงกับวันที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยหู่ วั (ร.9) ทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ 50 ปภี ายในจัดแสดงนทิ รรศการถาวรเกยี่ วกับวิวัฒนาการของ กองทัพบก ด้วยการรวบรวบและจัดแสดงวัตถุตา่ งๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั กองทพั บก ประกอบด้วย ห้องจัดแสดงตัวอย่างของอาวุธที่ใช้ในกองทัพ ธง และเคร่ืองมือเครื่องใช้ทางทหาร ห้องแสดง เครื่องแบบเครื่องหมายทหาร ที่ใช้ตั้งแตส่ มัยกรุงสุโขทยั จนถึงเครือ่ งแต่งกายที่กำลังพลของกองทัพบกใน ปจั จบุ ัน ห้องจำลองเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ทหาร จำลองวรี กรรมและเหตุการณข์ องกองทพั บก ซ่ึงมี ผลตอ่ ความม่ันคงของประเทศ ห้องพระบารมีปกเกล้า ประดิษฐานพระบรมรูป รัชกาลที่ 5 ประทับยืนขนาดเท่าพระองค์จริง และจดั แสดงภาพอดีตผู้บญั ชาการทหารบก ตง้ั แตท่ า่ นแรกจนถงึ ทา่ นทีเ่ พ่ิงจะพ้นตำแหน่งไป หอ้ งแสดงววิ ฒั นาการกองทพั บก นำเสนองานด้านประวตั ศิ าสตร์ ตลอดจนววิ ัฒนาการของ กองทัพบก นับต้งั แตเ่ ร่ิมมีการสถาปนาอาณาจักรไทยจนถงึ ปัจจุบนั

19

2.3 พพิ ธิ ภณั ฑท์ หารเรอื

ภาพที่ 8 พพิ ธิ ภณั ฑ์ทหารเรอื

เป็นพิพธิ ภัณฑ์สถานแบบพเิ ศษ ทำหน้าที่ รวบรวม อนรุ กั ษ์ วัตถพุ ิพธิ ภณั ฑอ์ นั ทรงคุณค่าทาง

ประวตั ศิ าสตร์ โบราณสถาน และโบราณคดีที่เกี่ยวกับกิจการทหารเรือ ภายในพิพิธภณั ฑ์ เป็นทร่ี วบรวม

ข้อมูลทางประวตั ศิ าสตร์ เก่ยี วกบั วตั ถุพพิ ธิ ภณั ฑส์ มัยโบราณของกองทัพเรือไทย ยทุ ธนาวีการรบคร้งั