2024 คณะ สาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราม คํา แหง

มหาวิทยาลยั ไดด้ ำเนนิ การเปดิ สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติในจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ จังหวดั นครศรีธรรมราช

จังหวดั อทุ ยั ธานี จังหวดั ปราจนี บรุ ี และต่อมาได้เปิดสาขาวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรตฯิ เพม่ิ ข้ึนอกี จนปจั จุบัน

มหาวิทยาลัยไดจ้ ัดตั้งสาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรติขึ้นแลว้ ใน 23 จงั หวดั ทั่วประเทศ ดังนี้

1. สาขาวทิ ยบริการเฉลมิ พระเกยี รตจิ ังหวดั นครศรธี รรมราช 13. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลมิ พระเกียรตจิ งั หวัดลพบุรี 2. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรติจงั หวดั อทุ ัยธานี 14. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รติจังหวัดหนองบวั ลำภู 3. สาขาวทิ ยบริการเฉลิมพระเกียรตจิ ังหวดั ปราจีนบุรี 15. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรตจิ งั หวดั ชัยภูมิ 4. สาขาวทิ ยบริการเฉลมิ พระเกยี รติจังหวัดอำนาจเจริญ 16. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รตจิ ังหวัดเพชรบรู ณ์ 5. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดนครพนม 17. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกยี รตจิ ังหวัดกาญจนบรุ ี 6. สาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รติจังหวัดแพร่ 18. สาขาวิทยบริการเฉลมิ พระเกยี รตจิ งั หวัดสุรินทร์ 7. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรตจิ ังหวัดนครราชสีมา 19. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รตจิ งั หวัดบุรรี ัมย์ 8. สาขาวทิ ยบริการเฉลมิ พระเกียรติจังหวัดสโุ ขทัย 20. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกยี รตจิ งั หวดั สงขลา 9. สาขาวทิ ยบริการเฉลมิ พระเกยี รตจิ ังหวดั ขอนแก่น 21. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจงั หวดั เชยี งรา 10. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรติจังหวัดศรสี ะเกษ 22. สาขาวิทยบริการเฉลมิ พระเกียรติจงั หวัดพังงา 11. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกยี รตจิ ังหวัดตรัง 23. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รติจงั หวัดเชียงใหม่ 12. สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรตจิ ังหวดั อุดรธานี

7. สาขาวิทยบริการเฉลมิ พระเกียรติในต่างประเทศ

มหาวิทยาลัยรามคำแหงได้ขยายการเรียนการสอนสู่ต่างประเทศ ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2546 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ปวงชนชาวไทย

ในตา่ งประเทศทว่ั โลก เพอ่ื นำการอดุ มศกึ ษาไทยสู่สากลอย่างเปน็ รูปธรรม ไดข้ ยายสู่ 32 ประเทศท่ัวโลก ดังน้ี

1. ประเทศแคนาดา 11. ประเทศออสเตรยี 21. ประเทศโอมาน 2. ประเทศสหรัฐอเมรกิ า 3. ประเทศเบลเยย่ี ม 12. ประเทศสหราชอาณาจักร 22. ประเทศออสเตรเลยี 4. ประเทศฝร่งั เศส 5. ประเทศเยอรมนี 13. ประเทศเดนมาร์ก 23. ประเทศนิวซีแลนด์ 6. ประเทศอิตาลี 7. ประเทศเนเธอแลนด์ 14. ประเทศไอซ์แลนด์ 24. ประเทศญีป่ ุ่น 8. ประเทศโปแลนด์ 25. ประเทศเกาหลีใต้ 9. ประเทศสเปน 15. ประเทศนอรเ์ วย์ 26. ประเทศจีน 10. ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ 16. ประเทศสวเี ดน 27. ประเทศกัมพชู า

17. ประเทศฟนิ แลนด์ 28. ประเทศมาเลเซีย

18. ประเทศกาตาร์ 29. ประเทศสงิ คโปร์ 19. ประเทศบาห์เรน 30. ประเทศเวยี ดนาม 20.ประเทศสหรฐั อาหรับเอมเิ รตส์ 31. ประเทศอินเดยี

32. ประเทศอนิ โดนีเซีย

FACULTY OF PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

8

8. การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงได้เริ่มขึ้นเป็น ครั้งแรกในปีการศึกษา 2538 โดยได้มีการสอนโดยตรง จากมหาวทิ ยาลยั รามคำแหง กรุงเทพฯ ไปสู่มหาวทิ ยาลยั รามคำแหงสาขาวทิ ยบริการเฉลิมพระเกียรติ

ส่วนภูมิภาค 3 จังหวัด คือ จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครศรีธรรมราช เริ่มแรก ได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรี โดยใช้ Video Conferencing System ผ่านดาวเทียมไทยคมในย่านความถ่ี C-Band โดยกระจายสัญญาณทิศทางเดียวไปยังสาขาวิทยบริการในส่วนภูมิภาค นักศึกษาที่เรียนอยู่ ในห้องเรียนสามารถสอบถามและขอคำอธิบายเกี่ยวกับการ เรียนการสอนผ่านระบบโทรศัพท์ และโทรสาร มายงั อาจารยผ์ ู้สอนได้

ในปีการศึกษา 2539 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล โดยใช้เทคโนโลยี การถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์โดยตรงสู่ห้องเรียนต่าง ๆ ในระบบ (Direct To Home Broad Casting) ผ่านดาวเทียมไทยคมย่านความถี่ Ku-Band ซึ่งปัจจุบันออกอากาศผ่านทางไทยสกายเคเบิ้ลทีวี ช่อง 10 นอกจากการใช้เทคโนโลยีสื่อสารแล้ว มหาวิทยาลัยยังได้จัดให้อาจารย์ไปบรรยายสรุป ณ สาขาวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติในจังหวัดต่าง ๆ เป็นประจำทุกวันเสาร์และอาทิตย์ เพื่อให้นักศึกษาในส่วนภูมิภาค ได้พบและขอคำปรึกษาจากอาจารย์ได้ และวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2539 มหาวิทยาลัย ได้เปิดสอนในระดับ บัณฑิตศึกษา ณ สาขาวิทยบริการ 4 จังหวัด คือ จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดอำนาจเจรญิ

ในการเรียนการสอนระดับปริญญาโทในส่วนภูมิภาคนั้น อาจารย์ผู้สอนจะเดินทางไปสอน ที่สาขาวิทยบริการฯ ต่าง ๆ หมุนเวียนกันไปทั้ง 4 จังหวัด เมื่ออาจารย์ไปบรรยายที่สาขาวิทยบริการฯ ใดก็จะทำการถา่ ยทอดภาพและเสียงการบรรยายไปยงั สาขาวทิ ยบริการฯ อ่นื ๆ โดยใช้ Video Conferencing System ผ่านสัญญาณดาวเทียมไปสู่ห้องเรียน ด้วยวิธีนี้จะทำให้นักศึกษาจากทุกสาขาวิทยบริการฯ ได้รับฟัง การบรรยายจากอาจารย์ผู้สอนพร้อมกันในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนยังสามารถสื่อสารโต้ตอบ กับนักศึกษาจากทุกสาขาวิทยบริการฯในลักษณะของการสื่อสารสองทาง (Two Way Communication) ไดอ้ กี ดว้ ย

FACULTY OF PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

9

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคำแหง

ประวัติความเปน็ มาคณะสาธารณสุขศาสตร์

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหงได้จัดตัง้ ขน้ึ ตาม ตามพนั ธกจิ ของแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554)

ข้อที่ (1) การพัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพมุ่งสรา้ งภูมคิ ุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว และชุมชนส่สู ังคมที่มีคณุ ภาพ สามารถจดั การความเสี่ยงและปรับตัวเข้ากบั การเปลย่ี นแปลง รวมทัง้ มีส่วนร่วม ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม และการเมืองของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ

ข้อท่ี (2) การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนไทย ทุกชว่ งวยั ใหม้ ีภูมคิ มุ้ กันตอ่ การเปลย่ี นแปลง มีความพร้อมทงั้ ดา้ นร่างกายทส่ี มบูรณแ์ ขง็ แรง มสี ติปญั ญาทร่ี อบรู้ และมีจิตใจที่สำนึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต ควบคู่ กับการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมและสถาบันสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการ พฒั นาคนนน้ั

ทางมหาวิทยาลัยได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว และเห็นว่ายังขาดแคลนสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านสาธารณสุขโดยตรงจึงได้มีการพัฒนาหลักสูตรทางด้านสาธารณสุขศาสตร์ โดยคำนึงถึงสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่ความยั่งยืน และความต้องการ ในการพัฒนาด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม โดยแบ่งส่วนราชการเป็น 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาบริหาร สาธารณสุข และสำนักงานคณบดี โดยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้ก่อตั้งขึ้น โดยมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยรามคำแหงคร้ังที่ 8/2551 วาระที่ 4.7 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2551 จัดตั้ง คณะที่ทำการ ณ สาขาวิทยบริการฯ จังหวัดสุโขทัย และมติสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2/2563 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 เห็นชอบและอนุมัติให้ย้ายสถานที่ตั้งคณะสาธารณสุขศาสตร์ มาสังกัดที่ส่วนกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก

FACULTY OF PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

10

สถานทตี่ ัง้

สำนักงานคณะสาธารณสุขศาสตร์ อาคารสุโขทัย ชน้ั 13 ห้อง 1301 มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง หวั หมาก

บางกะปิ กรุงเทพฯ

FACULTY OF PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

11

ขอ้ มูลทวั่ ไปคณะสาธารณสขุ ศาสตร์

ตราสัญลักษณ์

ชือ่ เตม็ "คณะสาธารณสขุ ศาสตร"์ ชื่อย่อ "สส." สีประจำคณะ สีชมพู-สม้

ปรชั ญา สขุ ภาวะสรา้ งได้

วิสัยทัศน์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ สรา้ งคน สรา้ งสังคม สขุ ภาพดี

ปณิธาน มุ่งผลติ บัณฑิตที่มคี วามรู้คู่คณุ ธรรม และจติ สำนกึ ในความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม

พันธกิจ

1. สร้างโอกาสทางการศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ บุคลากรด้านสาธารณสุขศาสตร์

โดยผ่านกระบวนการทหี่ ลากหลาย

2. พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ครอบคลมุ ด้านการเรยี นการสอน การวจิ ัย

การบริการวิชาการ การทำนบุ ำรุงศิลปวัฒนธรรม และการบรหิ ารจัดการ ภายในมหาวิทยาลัย

3. สนับสนนุ ส่งเสริม พัฒนาในเร่อื งระบบสุขภาพเพอ่ื ประชาชนมีสุขภาวะท่ีดอี ย่างย่งั ยืน

4. พัฒนาระบบการบริหารการศึกษาโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการบา้ นเมืองท่ีดี

เปา้ ประสงค์

1. ผูร้ บั บรกิ ารได้รับการศึกษา และการเรยี นรู้ ทีม่ ีคุณภาพ และมาตรฐานอยา่ งต่อเน่ือง

2. ผู้รับบริการได้พัฒนา ศักยภาพ ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ตลอดจนรู้คุณค่า

ของศิลปวัฒนธรรม

3. ผลงานวิจัยไดร้ บั การเผยแพรแ่ ละนำไปใชป้ ระโยชน์ได้

4. มเี ครอื ขา่ ยเชื่อมโยงกับภาคประชาสงั คม เพ่อื ดำเนินกจิ กรรมดา้ นต่างๆ รว่ มกนั

5. ระบบบรหิ ารงานที่มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นทย่ี อมรบั ของผรู้ ับบรกิ าร

FACULTY OF PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

12

กลยุทธ์

1. สร้างโอกาสทางการศกึ ษาทกุ ระดับ

2. สง่ เสริมการจดั บริการวิชาการแกช่ มุ ชน และสงั คม

3. ส่งเสรมิ การทำนุบำรุง ศาสนา และศลิ ปวัฒนธรรม

4. พัฒนามาตรฐานหรอื คณุ ภาพของผลผลติ ตามอัตลกั ษณ์

5. พัฒนาคณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา เพอื่ สนบั สนุนเอกลักษณ์ และอตั ลักษณ์

6. ส่งเสรมิ สนับสนุนการวจิ ยั และพัฒนา

7. ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

8. พฒั นาระบบบริหารการศึกษาตามแนวทางหลักธรรมาภบิ าล

เอกลักษณ์ เปดิ โอกาสการเรียนรู้ และเสรมิ สร้างชุมชนสุขภาพ

อัตลักษณ์ ผลติ บัณฑติ ท่มี คี วามรคู้ ูค่ ณุ ธรรม และยดึ มั่นในจรรยาบรรณวชิ าชพี

คา่ นิยมร่วม

P– Prosperity การประสบผลสำเร็จ H–Harmony ความปรองดองเป็นหน่ึงเดียว

U-Utility การเป็นประโยชน์ E-Efficiency ความมปี ระสิทธิภาพ

B-Balance การรกั ษาสมดลุ A-Ability การมีความสามารถ

L-Logic การมเี หตุมผี ล L-Leadership การมภี าวะผนู้ ำ

I- Intelligent ความฉลาดรอบรู้ T-Tradition การรักษาขนบธรรมเนียม

C-Creativity ความคิดสร้างสรรค์ H-Humanity ความมีมนุษยธรรม

FACULTY OF PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

13

บคุ ลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เดช สำราญจติ ต์ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์

อาจารย์ ดร.สาโรจน์ นาคจู อาจารย์ ดร.มงคล รชั ชะ อาจารย์จักรกฤษ เสลา รองคณบดฝี า่ ยบรหิ าร และ รองคณบดฝี า่ ยประกนั คณุ ภาพการศึกษา รองคณบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษา ผู้อำนวยการบัณฑิตศึกษา

อาจารย์ ดร.มิ่งขวญั ศิริโชติ ผศ.ดร.ถาวร มาตน้ รศ.ดร.วัฒน์ บญุ กอบ รศ.ดร.จนั ทรจ์ ารี เกตุมาโร อาจารย์สุพตั รา อัศวไมตรี

อาจารย์ ชนุ ิกา แจ่มจำรัส ผศ.สนุ ารี ทะนะ๊ เป็ก อาจารย์อนุ สุราช (กำลงั ศึกษาตอ่ ระดับปริญญาเอก) (กำลังศกึ ษาต่อระดบั ปรญิ ญาเอก) (กำลังศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาเอก)

14

เจ้าหนา้ ทป่ี ระจำคณะสาธารณสขุ ศาสตร์

นางสาวสธุ ีกานต์ คงอำนาจ นางสาวศริลลา คงรักษ์ นางสาวอารรี ัตน์ เรอื งคำ หัวหนา้ สำนกั งานคณบดีและ เจา้ หน้าท่บี ริหารงานท่ัวไปปฏิบัตกิ าร นักวทิ ยาศาสตรป์ ฏบิ ัติการ

หัวหนา้ งานบรหิ าร

นายนพพล จันทรานภาสวัสด์ิ นางสาวประภสั สร ศรีเจริญ นางสาวอิสราภร สายกลน่ิ นกั วิชาการพัสดปุ ฏิบัตกิ าร นกั วชิ าการเงินและบัญชปี ฏบิ ัติการ นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ

15

สาขาวชิ าทีเ่ ปดิ สอนในระดับปรญิ ญาตรี

สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน

1. ชอ่ื หลกั สูตร

ภาษาไทย หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน

ภาษาอังกฤษ Bachelor of Public Health Program in Community Health

2. ชอื่ ปรญิ ญาและสาขา

ชอ่ื เต็มภาษาไทย สาธารณสุขศาสตรบัณฑติ (สาธารณสขุ ชมุ ชน)

ชอ่ื ย่อภาษาไทย ส.บ. (สาธารณสขุ ชมุ ชน) ช่ือเต็มภาษาองั กฤษ Bachelor of Public Health (Community Health)

ชอ่ื ยอ่ ภาษาอังกฤษ B.P.H. (Community Health)

3. จำนวนหน่วยกติ ทตี่ ้องเรียนตลอดหลกั สตู ร 143 หนว่ ยกิต

โครงสร้างหลักสตู ร

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกติ

- กลุ่มวชิ าสังคมศาสตร์ 9 หนว่ ยกติ

- กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ

- กลุ่มวชิ าภาษา 9 หน่วยกติ

- กล่มุ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 9 หนว่ ยกติ

หมวดวิชาเฉพาะ 104 หนว่ ยกติ

- กลมุ่ วชิ าพื้นฐานสาธารณสุข 51 หนว่ ยกติ

- กลุ่มวชิ าชีพเฉพาะดา้ น 53 หน่วยกติ

หมวดวชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต

(1) หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 33 หน่วยกิต

1.1 กล่มุ วิชาสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกติ 3 หนว่ ยกิต RAM 1000 ความรคู้ ูค่ ุณธรรม 3 หนว่ ยกติ 3 หน่วยกิต POL 1101 การเมอื งการปกครองไทย 6 หนว่ ยกิต 2 หนว่ ย กติ PSY 1001 จติ วทิ ยาทวั่ ไป 2 หน่วย กิต 2 หน่วย กิต 1.2 กลุม่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า 3 หนว่ ย กติ

GAS 1001 กีฬาและการออกกำลังกายสำหรบั สขุ ภาพ

LIS 1001 สารสนเทศและเทคโนโลยเี พ่ือการค้นควา้

MSA 1003 ดนตรีวิจกั ษณ์

PHC 1101 มนษุ ย์กบั สขุ ภาพ

16

1.3 กลมุ่ วิชาภาษา 9 หนว่ ยกติ

ENG 1001 ประโยคภาษาอังกฤษพ้นื ฐานและศัพทจ์ ำเปน็ ในชีวติ ประจำวัน 3 หน่วยกิต

ENG 1002 ประโยคภาษาองั กฤษและศพั ทท์ วั่ ไป 3 หนว่ ย กิต THA 1003 การเตรยี มเพือ่ พูดและเขยี น 3 หนว่ ย กติ

1.4 กล่มุ วิชาคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 9 หนว่ ยกิต

INT 1001 พน้ื ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 หน่วยกิต

MTH 1003 คณิตศาสตร์พนื้ ฐาน 3 หน่วยกิต

SCI 1003 วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3 หน่วยกิต PHC 1102 วิทยาศาสตรแ์ ละคุณภาพชีวติ 3 หนว่ ยกติ

(2) หมวดวชิ าเฉพาะ 104 หน่วยกิต 51 หนว่ ยกิต 2.1 กลุม่ วชิ าชีพพืน้ ฐานสาธารณสขุ 3 หนว่ ยกิต PHC 1203 การสาธารณสุขท่ัวไป 3 หนว่ ยกิต PHC 2204 ภาษาองั กฤษสำหรับงานสาธารณสขุ 3 หน่วยกติ PHC 1205 ฟิสกิ ส์พ้นื ฐานสำหรบั งานสาธารณสุข 3 หน่วยกิต PHC 2206 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 3 หน่วยกติ PHC 3209 ชีวสถติ ิ 3 หน่วยกิต PHC 2210 วทิ ยาการระบาด 3 หน่วยกิต PHC 2212 สขุ ศกึ ษาและพฤตกิ รรมศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต PHC 2213 กฎหมายสาธารณสขุ และจรยิ ธรรม 3 หนว่ ยกิต PHC 2214 อาชีวอนามยั และความปลอดภยั 3 หนว่ ยกติ PHC 3215 การบริหารงานสาธารณสขุ 3 หน่วยกติ PHC 3216 ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางสาธารณสุข 3 หน่วยกติ PHC 2217 ประชากรศาสตร์ ในงานสาธารณสุข 3 หนว่ ยกติ PHC 1218 ชวี วิทยาพ้ืนฐานสำหรบั งานสาธารณสขุ 3 หน่วยกติ PHC 1219 เคมีพน้ื ฐานสำหรบั งานสาธารณสุข 3 หนว่ ยกิต PHC 2220 ชวี เคมสี ำหรับงานสาธารณสขุ 3 หนว่ ยกิต PHC 2221 จลุ ชีววิทยาและปรสิตวิทยาสำหรับงานสาธารณสุข 3 หนว่ ยกิต PHC 2222 สุขภาพสงิ่ แวดล้อม 53 หนว่ ยกิต 2.2 กลุ่มวชิ าชีพเฉพาะดา้ น

COH 3301 เศรษฐศาสตร์สาธารณสขุ 3 หน่วยกติ

COH 3302 เภสชั สาธารณสขุ 3 หน่วยกิต

COH 3303 โภชนศาสตร์ชุมชน 3 หนว่ ยกิต COH 3304 การสร้างเสริมสุขภาพ 3 หน่วยกติ

COH 3305 การป้องกนั และควบคมุ โรค 3 หนว่ ยกิต

COH 3306 การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้นและการดูแลฉกุ เฉนิ 3 หนว่ ยกิต

17

COH 2307 การคมุ้ ครองผู้บริโภคดา้ นสขุ ภาพ 3 หนว่ ยกิต COH 3308 สุขภาพจติ ชุมชน 3 หนว่ ยกิต COH 4310 สาธารณสุขชมุ ชน 3 หนว่ ยกติ COH 4311 ภาวะผู้นำในการพัฒนาสขุ ภาพชุมชน 3 หนว่ ยกติ COH 4312 การวางแผนและการประเมนิ ผลโครงการสขุ ภาพ 3 หน่วยกิต COH 3313 การตรวจประเมินและบำบดั โรคเบอื้ งต้น 3 หน่วยกิต COH 3314 สขุ ภาพครอบครัว 3 หนว่ ยกติ COH 4901 การศึกษาอสิ ระทางสาธารณสุข 3 หน่วยกิต COH 3902 สมั มนาสาธารณสขุ 2 หน่วยกติ COH 3903 การฝกึ ปฏิบตั ติ รวจประเมินและบำบดั โรคเบอื้ งตน้ 3 หน่วยกิต COH 4909 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสขุ ชมุ ชน 6 หน่วยกิต

(3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ

ใหเ้ ลอื กวชิ าทเ่ี ปิดสอนในมหาวิทยาลัยรามคำแหงตามท่สี นใจ หรอื เลือกกระบวนวิชา RAM 3000 สหกจิ ศึกษา (9 หน่วยกติ ) หรือกระบวนวชิ าในสาขาวิชาอืน่ ของคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ หรอื รายวิชาดงั น้ี

COH 3401 คอมพิวเตอร์ในงานสาธารณสุข 3 หนว่ ยกิต COH 3402 การให้คำปรกึ ษาดา้ นสขุ ภาพ 3 หน่วยกิต COH 3403 สขุ ภาพผู้สูงอายุ 3 หนว่ ยกติ COH 3404 ระบบสารสนเทศด้านสขุ ภาพ 3 หน่วยกิต COH 3405 การประเมนิ ผลกระทบด้านสขุ ภาพ 3 หน่วยกติ COH 3406 การจัดการสาธารณภัย 3 หน่วยกติ COH 3407 การสอื่ สารในงานสาธารณสขุ 3 หนว่ ยกิต COH 3408 การนเิ ทศงานสาธารณสขุ 3 หนว่ ยกิต COH 3409 ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นไทยกบั สขุ ภาพทางเลอื ก 3 หนว่ ยกิต COH 3410 มานษุ ยวิทยาและสงั คมวทิ ยาสุขภาพ 3 หน่วยกิต OCS 3401 สขุ ศาสตร์อตุ สาหกรรมพ้นื ฐาน 3 หน่วยกติ

อาชพี ที่สามารถประกอบได้หลังสำเรจ็ การศกึ ษา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน

1. นักวชิ าการสาธารณสขุ ประจำหน่วยงานภาครัฐ หรอื หน่วยงานเอกชน 2. นักวิชาการสาธารณสขุ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในทกุ ระดบั เชน่ อบต., เทศบาล และอบจ. 3. นกั วิจัยและนกั วิชาการสาธารณสขุ ด้านการวางแผนพฒั นาอนามัยชมุ ชนของหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน

พฒั นาขอ้ มูลชมุ ชน และการใชท้ รัพยากรด้านอนามยั ชุมชน 4. ประกอบอาชีพอิสระด้านสุขภาพขององค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร และหน่วยงานอิสระต่างๆ ทั้งใน

ประเทศและตา่ งประเทศ

18

ข้อปฏิบตั ิในการเขา้ ชน้ั เรยี นของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี เวลาเรียน เชา้ 08.00 น. – 12.00 น. ขีดเส้นแดง มาสายเวลา 09.30 น. (เท่ากับสาย 1 ครั้ง)

แต่สามารถเซ็นชอื่ ทบั เส้นแดงได้ถึงเวลา 10.00 น. บ่าย 13.00 น. – 17.00 น. ขีดเสน้ แดง มาสายเวลา 13.30 น. (เท่ากบั สาย 1 คร้งั )

แต่สามารถเซ็นชอ่ื ทับเสน้ แดงไดถ้ งึ เวลา 14.00 น. (มาสาย 3 คร้งั ถือเป็นการขาดเรยี น 1 คาบ) การส่งใบลาเรยี น ใช้ในกรณีลาเรียน ลาป่วย ลากิจ ให้ส่งก่อนที่จะลาอย่างช้า 1 – 2 สัปดาห์ โดยเรียนอาจารย์ ผูบ้ รรยายประจำวิชานั้นๆ เพอื่ ใหอ้ าจารย์เซน็ อนญุ าต **ทั้งนี้ให้นักศึกษาแนบหลักฐานการลาเพื่อประกอบการพิจารณา เช่น ใบนัดตรวจ หนังสือไป ราชการหรอื หลกั ฐานอ่นื ๆ การสง่ ใบคำร้อง ใชใ้ นกรณี - พกั การศกึ ษา - ลาออก - ขอสอบภายหลงั - ชื่อ – นามสกุลผดิ - รหสั ประจำตัวนักศกึ ษาผิด - ขอใบรบั รองต่าง หรือเหตอุ น่ื ๆ ให้ส่งก่อน 1 – 2 สัปดาห์ **ทง้ั นีใ้ หน้ กั ศึกษาแนบสำเนาบตั รประจำตัวนักศึกษา หรอื สำเนาบตั รประชาชน เพอ่ื เปน็ หลักฐานตอ่ ไป**

19

คู่มือตรวจสอบการลงทะเบยี น คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาสาธารณสุขชมุ ชน

1.หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 33 หนว่ ยกติ CR. GR. Sem/Year

1.1 กลุ่มวชิ าสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกติ

RAM 1000 ความรูค้ ู่คุณธรรม 3

POL 1101 การเมืองการปกครองไทย 3

PSY 1001 จิตวิทยาทวั่ ไป 3

1.2 กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต

GAS 1001 กีฬาและการออกกำลังกายสำหรบั สขุ ภาพ 2

LIS 1001 สารสนเทศและเทคโนโลยเี พ่อื การคน้ คว้า 2

MSA 1003 ดนตรวี จิ กั ษณ์ 2

PHC 1101 มนุษยก์ ับสุขภาพ 3

1.3 กล่มุ วชิ าภาษา 9 หนว่ ยกิต

ENG 1001 ประโยคภาษาองั กฤษพื้นฐานและศพั ท์จำเปน็ ในชีวติ ประจำวัน 3

ENG 1002 ประโยคภาษาอังกฤษและศัพทท์ ว่ั ไป 3

THA 1003 การเตรียมเพื่อพดู และเขียน 3

1.4 กลุ่มวิชาคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 9 หนว่ ยกติ

INT 1001 พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3

MTH 1003 คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน 3

SCI 1003 วทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน 3

PHC 1102 วิทยาศาสตรแ์ ละคุณภาพชวี ิต 3

2.หมวดวิชาเฉพาะ 104 หนว่ ยกิต CR. GR. Sem/Year 2.1 กลมุ่ วชิ าชีพพื้นฐานสาธารณสุข 51 หนว่ ยกิต PHC 1203 การสาธารณสุขท่ัวไป 3 PHC 2204 ภาษาอังกฤษสำหรับงานสาธารณสุข 3 PHC 1205 ฟิสิกส์พน้ื ฐานสำหรบั งานสาธารณสขุ 3 PHC 2206 กายวภิ าคศาสตร์และสรรี วิทยาของมนษุ ย์ 3 PHC 3209 ชวี สถติ ิ 3 PHC 2210 วิทยาการระบาด 3 PHC 2212 สขุ ศกึ ษาและพฤติกรรมศาสตร์ 3 PHC 2213 กฎหมายสาธารณสุขและจริยธรรม 3

20

CR. GR. Sem/Year 3 PHC 2214 อาชีวอนามยั และความปลอดภัย 3 PHC 3215 การบริหารงานสาธารณสขุ 3 PHC 3216 ระเบยี บวิธีวิจัยทางสาธารณสุข 3 PHC 2217 ประชากรศาสตรใ์ นงานสาธารณสขุ 3 PHC 1218 ชีววทิ ยาพนื้ ฐานสำหรับงานสาธารณสขุ 3 PHC 1219 เคมีพนื้ ฐานสำหรบั งานสาธารณสุข 3 PHC 2220 ชีวเคมีสำหรับงานสาธารณสุข 3 PHC 2221 จลุ ชีววทิ ยาและปรสิตวิทยาสำหรับงานสาธารณสุข 3 PHC 2222 สขุ ภาพส่งิ แวดล้อม 2.2 กลมุ่ วิชาชีพเฉพาะดา้ น 53 หน่วยกติ 3 COH 3301 เศรษฐศาสตร์สาธารณสขุ 3 COH 3302 เภสชั สาธารณสุข 3 COH 3303 โภชนศาสตร์ชุมชน 3 COH 3304 การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ 3 COH 3305 การปอ้ งกันและควบคมุ โรค 3 COH 3306 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ และการดแู ลฉุกเฉิน 3 COH 2307 การคุม้ ครองผ้บู รโิ ภคด้านสุขภาพ 3 COH 3308 สุขภาพจติ ชุมชน 3 COH 4310 สาธารณสุขชมุ ชน 3 COH 4311 ภาวะผู้นำในการพฒั นาสขุ ภาพชุมชน 3 COH 4312 การวางแผนและการประเมนิ ผลโครงการสขุ ภาพ 3 COH 3313 การตรวจประเมินและบำบัดโรคเบอื้ งต้น 3 COH 4901 การศกึ ษาอสิ ระทางสาธารณสุข 3 COH 3314 สขุ ภาพครอบครัว 2 COH 3902 สมั มนาสาธารณสขุ 3 COH 3903 การฝกึ ปฏบิ ตั ติ รวจประเมนิ และบำบัดโรคเบอื้ งตน้ 6 COH 4909 การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพสาธารณสขุ ชมุ ชน CR. GR. Sem/Year 3.หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต 3 COHxxxx 3 COHxxxx

21

หมายเหตุ หมวดวิชาเลอื กเสรี ให้เลือกกระบวนวิชาในสาขาวิชาอ่ืนของคณะสาธารณสุขศาสตร์ หรอื รายวิชา ดงั นี้

COH 3401 คอมพวิ เตอรใ์ นงานสาธารณสุข 3 หนว่ ยกิต COH 3402 การให้คำปรกึ ษาดา้ นสขุ ภาพ 3 หนว่ ยกิต COH 3403 สขุ ภาพผู้สูงอายุ 3 หน่วยกิต COH 3404 ระบบสารสนเทศดา้ นสุขภาพ 3 หน่วยกิต COH 3405 การประเมินผลกระทบด้านสขุ ภาพ 3 หนว่ ยกิต COH 3406 การจดั การสาธารณภัย 3 หน่วยกิต COH 3407 การสื่อสารในงานสาธารณสุข 3 หนว่ ยกิต COH 3408 การนเิ ทศงานสาธารณสุข 3 หน่วยกิต COH 3409 ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ไทยกบั สุขภาพทางเลอื ก 3 หนว่ ยกิต COH 3410 มานษุ ยวิทยาและสงั คมวทิ ยาสขุ ภาพ 3 หนว่ ยกิต OCS 3401 สุขศาสตร์อตุ สาหกรรมพืน้ ฐาน 3 หน่วยกิต

22

สาขาวิชาที่เปดิ สอนในระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวิชาบรหิ ารสาธารณสขุ

ชือ่ หลกั สูตร หลกั สูตร สาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบริหารสาธารณสุข Master of Public Health Program in Public Health Administration

ชอื่ ปรญิ ญา ช่ือเต็ม สาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑิต (บรหิ ารสาธารณสุข) Master of Public Health (Public Health Administration)

ชอื่ ย่อ ส.ม.(บริหารสาธารณสุข) M.P.H. (Public Health Administration) คณุ สมบัติของผู้มีสิทธสิ มคั ร ผูส้ ำเรจ็ การศึกษาในระดับปริญญาตรีทกุ สาขา ทงั้ ภายในและ ตา่ งประเทศ และเปน็ สถาบันที่ ก.พ. รบั รอง

อาชีพท่สี ามารถประกอบได้หลงั สำเรจ็ การศึกษา 1. นักบรหิ ารสาธารณสุขท่เี ปน็ ผู้นำการเปล่ยี นแปลงในการพฒั นาองคก์ รสาธารณสขุ 2. นกั วชิ าการสาธารณสขุ 3. นักวจิ ยั และพัฒนาทางด้านท่เี กย่ี วข้องกบั งานสาธารณสขุ 4. นกั บริหารหนว่ ยงานด้านสาธารณสุขทงั้ ภาครัฐและเอกชน 5. นกั บรหิ ารงานในองคก์ รในลกั ษณะอน่ื ๆ ท่ีเกย่ี วข้องเช่นองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน 6. ครอู าจารยใ์ นสาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ และสาขาวิชาทเ่ี ก่ียวข้อง 7. นักวิเคราะห์นโยบายและแผนดา้ นระบบสุขภาพ

การติดตอ่ กับคณะฯ - อาคารสโุ ขทยั ชน้ั 13 ห้อง 1301 มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก กรงุ เทพฯ 10240 - เบอร์โทรศพั ท์ : 02-3108928, 092-5802920 อีเมล์ : [email protected]

ข้อปฏิบตั ิในการเขา้ ชน้ั เรียนของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาโท วัน - เวลาเรียน

วนั เสาร์ เวลา 08.00 - 17.00 น. และ วนั อาทิตย์ เวลา 08.00 - 12.00 น. การลงชอ่ื เข้าเรียน เชา้ 08.00 น. – 12.00 น. ขดี เส้นแดง มาสายเวลา 09.30 น. (เท่ากับสาย 1 คร้งั ) แตส่ ามารถเซ็นช่อื ทบั เสน้ แดงไดถ้ ึงเวลา 10.00 น. บ่าย 13.00 น. – 17.00 น. ขีดเส้นแดง มาสายเวลา 13.30 น. (เท่ากบั สาย 1 คร้งั ) แต่สามารถเซ็นชอื่ ทบั เสน้ แดงไดถ้ งึ เวลา 14.00 น. (มาสาย 3 คร้ัง ถือเปน็ การขาดเรียน 1 คาบ)

23

ระบบการเรยี นการสอนแบบ Block Course Syste (เรยี นครง้ั ละ 1 วิชา จบแล้วสอบ แลว้ จึงเรียนวชิ าถัดไป)

การสง่ ใบลาเรยี น ใช้ในกรณีลาเรียน ลาปว่ ย ลากิจ ใหส้ ่งก่อนทีจ่ ะลาอย่างช้า 1 – 2 สัปดาห์

โดยเรียนอาจารยผ์ ู้บรรยายประจำวิชานัน้ ๆ เพอื่ ใหอ้ าจารย์เซน็ อนญุ าต ทัง้ นี้ใหน้ ักศึกษาแนบหลกั ฐานการลาเพื่อประกอบการพิจารณา เชน่ ใบนดั ตรวจ หนังสือไปราชการหรอื

หลักฐานอื่นๆ การสง่ ใบคำร้อง -การขอใบรับรองต่าง หรอื เหตุอื่นๆ ให้ส่งกอ่ น 1 – 2 สัปดาห์

ใชใ้ นกรณี - พักการศกึ ษา - ลาออก - ขอสอบภายหลงั - ชอ่ื – นามสกุลผิด - รหัสประจำตวั นักศึกษาผิด

** ท้ังนี้ใหน้ ักศึกษาแนบสำเนาบัตรประจำตัวนักศกึ ษา หรือสำเนาบตั รประชาชน เพื่อเปน็ หลักฐานตอ่ ไป **

คมู่ ือตรวจสอบการลงทะเบยี น หลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารสาธารณสขุ

(1) หมวดวชิ าบังคับบัณฑิตศึกษา 1(1-1-0) RAM6001 ความรู้คคู่ ุณธรรมสำหรบั บัณฑิตศกึ ษา

(2) หมวดวชิ าปรับพนื้ ฐาน (ไมน่ ับหนว่ ยกติ ) นักศึกษาต้องลงทะเบยี นและสอบใหไ้ ดเ้ กรดอักษร S (Satisfactory)

จำนวน 2 กระบวนวชิ า

PHA 5000 ภาษาอังกฤษทางสาธารณสขุ (ไม่นบั หน่วยกติ ) (3)(3-0-9)

PHA 5001 การสาธารณสุขและสาธารณสุขเปรยี บเทยี บ(ไม่นบั หน่วยกิต) (3)(3-0-9)

วิชา PHA 5000 ให้นักศึกษาที่สอบ RU Test ได้ระดับ U ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนตามมติ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รสาขาวิชาบริหารสาธารณสขุ

วิชา PHA 6202 เป็นกระบวนวชิ าปรบั พื้นฐานความรู้สำหรบั นักศึกษาที่ไม่ได้จบปริญญาตรีสาธารณสุข หรือไม่มีพื้นฐานทางสาธารณสุข ให้นักศึกษาลงทะเบียนตามมติคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวชิ าบริหาร สาธารณสขุ

24

(3) หมวดวชิ าแกน(15 หน่วยกติ ) 3(3-0-9) PHA 6001 ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6002 สถติ ิและคอมพวิ เตอรท์ างสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6003 วิทยาการระบาด 3(3-0-9) PHA 6101 พฤติกรรมสขุ ภาพทางสาธารณสุข 3(3-0-9) PHA 6102 การบริหารงานสาธารณสุขและการจัดการองคก์ ารสขุ ภาพ 3(3-0-9) (4) หมวดวิชาบังคบั (15 หน่วยกติ ) กำหนดใหน้ กั ศึกษาตอ้ งเรยี นกระบวนวิชาดงั ตอ่ ไปน้ี 3(3-0-9) PHA 6104 การจดั การทรัพยากรทางสาธารณสุข 3(3-0-9) PHA 6105 เศรษฐศาสตร์สาธารณสขุ ประยุกต์สำหรับผูบ้ รหิ าร 3(3-0-9) PHA 6106 การจดั การระบบสารสนเทศสาธารณสุข 3(3-3-9) PHA 6107 การวางแผนและการจดั การเชิงกลยุทธ์ทางสุขภาพ PHA 6108 สัมมนาการบรหิ ารสาธารณสขุ 3(3-0-9) 3(3-0-9) (5) หมวดวชิ าเลือกแผน เลือก 2 วิชา (6 หน่วยกิต) 3(3-0-9) 3(3-0-9) PHA 6103 นโยบาย และการจดั การระบบสุขภาพ 3(3-0-9) PHA 6104 การจดั การทรัพยากรทางสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6105 เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขประยกุ ต์สำหรับผูบ้ ริหาร 3(3-0-9) PHA 6201 นโยบายและแผนงานอนามยั สง่ิ แวดล้อมและอาชีวอนามัย 3(3-0-9) PHA 6202 การบริหารโครงการและการประเมนิ ผลทางสาธารณสุข 3(3-0-9) PHA 6203 เคร่ืองมอื วดั ทางสขุ ภาพ PHA 6204 จริยธรรม กฏหมาย และวิชาชีพสาธารณสุข 3(0-0-12) PHA 6205 การประกันคณุ ภาพมาตรฐานงานสาธารณสุข PHA 6206 การบรหิ ารการประชาสัมพนั ธ์และชุมชนสมั พันธ์ 0(0-0-0)

(6) หมวดวชิ าศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง PHA 6889 การศึกษาอิสระทางด้านบริหารสาธารณสขุ (แผน ข)

(7) สอบประมวลความรู้เฉพาะหลกั สูตร แผน ข PHA 6899 การสอบประมวลความรู้

25

ความหมายของเลขประจำกระบวนวิชา เลข 5000 หมายถงึ กระบวนวิชาปรบั พื้นฐานในหลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑิต เลข 6000 หมายถึงกระบวนวิชาในหลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาบรหิ ารสาธารณสุข

แสดงแผนการศกึ ษา (แผน ข)

ปีท่ี 1

ปที ี่ ภาคเรียนที่ 1 (3)(3-0-9) RAM 6001 ภาคเรียนที่ 2 1(1-1-0) 1 PHA 5000 ภาษาองั กฤษทางสาธารณสขุ ความรู้คคู่ ุณธรรมสำหรบั บณั ฑิตศึกษา (ไม่นบั หนว่ ยกติ ) PHA 5001 การสาธารณสุขและสาธารณสขุ (3)(3-0-9) PHA 6003 วิทยาการระบาด 3(3-0-9) เปรียบเทยี บ (ไม่นับหนว่ ยกติ ) PHA 6104 การจดั การทรพั ยากรทางสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6001 ระเบียบวธิ วี ิจัยทางสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6106 การจดั การระบบสารสนเทศสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6101 พฤติกรรมสขุ ภาพทางสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6107 การวางแผนและการจดั การเชิงกลยุทธ์ 3(3-0-9) PHA 6102 การบริหารงานสาธารณสขุ และ 3(3-0-9) ทางสุขภาพ การจดั การองค์การสุขภาพ รวม รวม 13 หน่วยกิต 9 หนว่ ยกติ

ปที ี่ 2

ปีท่ี ภาคเรียนที่ 1 3(3-0-9) PHA … ภาคเรียนที่ 2 3(3-0-9) 2 PHA … วชิ าเอกเลอื ก 1 วิชา 3(3-0-9) PHA 6889 วิชาเอกเลือก 1 วิชา 3(3-0-12) เศรษฐศาสตรส์ าธารณสขุ ประยกุ ต์ PHA 6899 การศึกษาอสิ ระทางดา้ นบรหิ ารสาธารณสขุ 0(0-0-0) PHA 6105 สำหรับผบู้ ริหาร 3(3-0-9) การสอบประมวลความรู้ (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) สัมมนาการบริหารสาธารณสขุ 3(3-0-9) PHA 6108 สถติ แิ ละคอมพวิ เตอร์ทางสาธารณสุข PHA 6002 รวม 6 หนว่ ยกิต 12 หน่วยกติ รวม

คำอธิบายรายวชิ าหลักสูตร

PHA 5000 ภาษาอังกฤษทางสาธารณสุข (ไม่นบั หนว่ ยกิต)

(English in Public Health) (3) (3-0-9)

ศึกษาหลักการอ่านและการเขียนบทความและตำราภาษาอังกฤษทางสาธารณสุข ให้สามารถเข้าใจใน

ภาษาองั กฤษ เพ่อื นำไปใช้ในการค้นคว้าระดบั บณั ฑิตศกึ ษาและในงานสาธารณสขุ

Studies of reading and writingarticles and text booksin English in the field of public health

so as to foster the capacity to pursue advanced studies at the graduate level and to use English

skills in future public health work.

26

PHA 5001 การสาธารณสขุ และสาธารณสุขเปรียบเทยี บ (ไม่นบั หนว่ ยกิต)

(Public Health and Comparison Public Health) (3) (3-0-9)

ศึกษาแนวคิด และหลักการทางสาธารณสุข เปรียบเทียบระบบบริการสุขภาพในประเทศไทยและ

ต่างประเทศ การดำเนินงานและการบริการสุขภาพ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การ

รักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสขุ ภาพ การจดั การระบบบริการสุขภาพปฐมภมู ิ และการสาธารณสขุ มลู ฐาน

Principle and concept of public health, comparison of service health system in Thailand

and abroad, implementation and health service, health promotion, prevention and control of

diseases, medical care, and rehabilitation, district health system management.

PHA 6001 ระเบยี บวิธวี ิจยั ทางสาธารณสขุ 3 (3-0-9)

(Research Methodology in Public Health)

ศึกษาระเบียบวิธี และกระบวนการวิจัย จริยธรรมของการวิจัย ทฤษฎี สมมติฐานการวิจัย รูปแบบการ

วิจยั การวัดและปัญหาในการวดั การสรา้ งแบบสอบถามและเคร่อื งมือวจิ ัย การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การสรา้ งตาราง

จำลอง การวิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอและการแปลผล การเขียนรายงานการวิจัย การวิจารณ์งานวิจัย การ

ประยุกต์สำหรับงานวิจยั ทางสาธารณสขุ

Studies of research methodology and processes, ethics in research, theory, hypotheses,

research design, measurement and attendant problems, research instruments and questionnaire

development, data collection, dummy tables, data analysis including presentation and

interpretation, and writing research reports with applications to public health fields.

PHA 6002 สถติ ิและคอมพิวเตอรท์ างสาธารณสขุ 3 (3-0-9)

(Statistics and the ComputerinPublic Health)

หลกั การชวี สถิติในงานสาธารณสุข การใช้คอมพิวเตอร์เตรียมข้อมูล การใช้โปรแกรมสถติ ิวิเคราะห์ ข้อมูลใน

งานวิจยั ทางสาธารณสุขและการแปลผล ศกึ ษาวธิ สี ถิติตา่ งๆ ได้แก่ สถิติที สถิตวิ ิเคราะหค์ วามแปรปรวนสถิติไคส

แควร์ สหสมั พนั ธ์ สถติ วิ เิ คราะหก์ ารถดถอยและสถิตวิ ิเคราะหต์ วั แปรหลายตัวการปฏิบัติเนน้ หนกั ในด้านการฝึกใช้

สถติ ใิ ห้ถกู ตอ้ งตามขอ้ ตกลงของสถติ ิ และสอดคล้องกบั ปญั หาการวจิ ยั วตั ถปุ ระสงค์สมมตฐิ าน และรูปแบบการวิจยั

Principles of biostatistics in public health work, data processing using computers, using

statistical programs to analyze data used in public health research and interpretation, studies of

statistical methods covering t-test, analysis of variance, chi-square, correlation, regression, and

multivariate methods; emphasized is a correct and practical use of statistics corresponding to

assumptions and research problems, objectives, hypotheses and research design

PHA 6003 วิทยาการระบาด 3 (3-0-9)

(Epidemiology)

ศึกษาความสำคญั และขอบเขตทางระบาดวิทยา ตัวช้วี ัดของการเกิดโรค ธรรมชาติของการเกิดโรค การวดั

ความถี่และความสัมพันธข์ องการเกดิ โรค โรคอุบัตใิ หมแ่ ละโรคอุบตั ซิ ้ำ กระบวนการเกดิ โรคในมนุษย์ การเฝา้ ระวัง

และการสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา วิธกี ารศึกษาทางระบาดวิทยา การนำหลักการและวธิ กี ารทางระบาดวิทยา

ไปประยกุ ต์ใช้ในการบริหารสาธารณสขุ

Significance and scope of epidemiology, determinants of disease, natural history of

diseases, measure of frequency and association of diseases, Emerging and Re-emerging diseases,

27

diseases development process in human, surveillance and investigation, epidemiological study, the application of principle and epidemiological methods for public health administration approach.

PHA 6101 พฤติกรรมสขุ ภาพทางสาธารณสุข 3 (3-0-9)

(Health Behaviors in Public Health)

แนวคิดหลักการทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์และทฤษฎีทางสงั คมศาสตรท์ ี่เกีย่ วกับสุขภาพการให้บรกิ าร

สุขภาพกระบวนการแกป้ ญั หาสุขภาพและการสง่ เสรมิ สขุ ภาพในมิติต่างๆ

Concepts, principles and theories in the behavioral and social sciences related to health

and health services, processes of health problem solving and health promotion in multiple

dimensions.

PHA 6102 การบรหิ ารงานสาธารณสุขและการจดั การองค์การสขุ ภาพ 3 (3-0-9)

(Public Health Administration and Health Organization Management)

การวิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคการบริหารงานสาธารณสุขและการจัดการองค์การสุขภาพ

โครงสร้างองค์การ การเรียนรู้ในองคก์ าร พฤติกรรมองคก์ ารภาวะผู้นำและการจูงใจ สมรรถนะผูน้ ำในการพัฒนา

องคก์ ารการบริหารการเปลีย่ นแปลง การบริหารความขัดแย้ง การสรา้ งระบบความรว่ มมือ การสร้างเครือข่ายและ

การติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในและภายนอกองค์การจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม

รวมทงั้ ศึกษาถงึ การเปลยี่ นแปลงและพฒั นาองค์การ

Analysis of concepts, theory, techniques of public health administration and management

of health organizations, management functions, organizational structure, learning in organizations,

organizational behavior, efficiency of leadership in developing organizations, change

management, conflict management, developing cooperative systems, developing good networks

and communications both inside and outside organizations. Studied are issues involving ethics,

social responsibility and organizational change and development.

PHA 6103 นโยบาย และการจัดการระบบสขุ ภาพ 3 (3-0-9)

(Policy and Health System Management)

แนวคิด วิธีการ ในการวิเคราะห์นโยบายสุขภาพ การกำหนดและการพัฒนานโยบาย การวิเคราะห์

สังเคราะห์ปัญหาและแนวโน้ม ระบบสุขภาพไทยที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยสิ่งแวดล้อม การจัดทำ

นโยบายสุขภาพและการประเมินผล การบริหารจัดการนโยบาย เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพการวิเคราะห์

ระบบสุขภาพ และการกระจายอำนาจด้านสขุ ภาพ

Concepts, methods of health policy analysis, determination and development of policy,

analysis and synthesis of data governing problem trends, the Thai health system in relation to

changes in environmental factors, health policy development and evaluation, policy

management as related to health systems, health system analysis, and decentralization of

authority and responsibility in health systems.

28

PHA 6104 การจัดการทรัพยากรทางสาธารณสขุ 3 (3-0-9)

(Health Resources Management)

แนวคดิ วเิ คราะห์ การบริหารจดั การทรัพยากรสาธารณสุขการวางแผน การสรรหา การจดั สรรและการ

กระจายทรพั ยากรสาธารณสุขและการบรหิ ารเพอ่ื พฒั นาทรัพยากรทางสาธารณสุขเพ่อื ใหไ้ ด้ประโยชนส์ งู สดุ สำหรับ

การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน

Concepts and analysis in health resources management, including planning, staffing,

allocation and distribution of health resources, and management for health resources so as to

bring about maximum benefits to the citzenry’s quality of life.

PHA 6105 เศรษฐศาสตรส์ าธารณสุขประยกุ ต์สำหรบั ผู้บรหิ าร 3 (3-0-9)

(Applied Health Economics forAdministrators)

หลักการทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการประยุกต์ในงานบริการ และการบรหิ ารสาธารณสุข

การวเิ คราะหป์ ัจจัยทางเศรษฐศาสตรท์ ีมีผลต่อระบบและคุณภาพการบริการทางสาธารณสุขการวิเคราะห์ ต้นทุนต่อ

หน่วยบริการสุขภาพตลอดจนการประเมินผลในงานสาธารณสุขด้วยหลักการทางเศรษฐศาสตร์เพื่อนำไปสู่การ

พัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชน

Principles and theory of health economics as applied to services and health

administration, analysis of economic factors affecting the system and quality of health services,

cost analysis of unit per health service in addition to the use of economic principles in public

health evaluation in developing community economies .

PHA 6106 การจัดการระบบสารสนเทศสาธารณสขุ 3 (3-0-9)

(Health Information Systems Management)

การจัดกระทำข้อมูลและระบบการจัดการข้อมูลสุขภาพรูปแบบและวิธีการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ

ทางสาธารณสุข การพัฒนาระบบการจดั การขอ้ มลู เพ่ือบรกิ ารและการดูแลสุขภาพฝึกการใช้เทคโนโลยแี ละระบบ

สารสนเทศสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในการปฏิบตั งิ านและการบรหิ ารงานสาธารณสขุ

Data operations and health data systems management, types and methods of data and

health information management, development of data systems for health services and health

care, practice in using technology and information systems for making decisions in practice and

in health administration.

PHA 6107 การวางแผนและการจดั การเชงิ กลยุทธท์ างสุขภาพ 3 (3-0-9)

(Planning and Health Strategy Management)

วิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ระหว่างแผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตกิ ับแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ การ

จดั การเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์ การสงั เคราะหป์ ัจจยั ทง้ั ภายในและภายนอกทมี่ ีอิทธพิ ลในการวางแผน กระบวนการ

วางแผน และการจัดการเชิงกลยทุ ธใ์ นการทำแผน การประเมนิ ผลการวางแผนและโครงการสาธารณสุข

Analysis of the relationship between the national socio-economic development plan and

the national health development plan, strategic management, analysis and synthesis of factors

affecting planning, planning processes and strategic management of planning operations,

evaluation of plans and health projects.

29

PHA 6108 สมั มนาการบริหารสาธารณสุข 3 (3-3-9)

(Seminar in Public Health Administration)

สัมมนาประเด็นปัญหาเกี่ยวกับการบริหารงานสาธารณสุขในระดับชุมชนภาค และประเทศ เพื่อ แสวงหา

แนวทาง และรูปแบบในการพัฒนาการดำเนินงานทางการบริหารงานสาธารณสุขให้มีประสิทธิ ภาพดียิ่งข้ึน

การศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง และการอภปิ รายกับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาโดยม่งุ ประสงค์ให้นำผลการสัมมนาไปสู่

การวจิ ยั ดา้ นการบรหิ ารสาธารณสขุ ในสภาพการปฏิบัตไิ ด้จริง

Seminar on issues stemming from problems relating to public health administration at the

community, regional, and national levels in order to determine which methods and patterns in

development and operations in health management will be efficient. The seminar involves

independent study and discussions with experts, the results of which are to be applied to

research investigations in practical health administration.

PHA 6201 นโยบายและแผนงานอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มและอาชีวอนามยั 3 (3-0-9)

(Policy and Planning in Environmental and Occupational Health)

ศึกษา นโยบาย วิเคราะห์ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย การจัดองค์การแผนการ

ดำเนินงาน การบริหารจัดการเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคมุ แก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย การ

ประเมินความเสย่ี ง การควบคมุ ความสูญเสยี และการจัดการภาวะฉกุ เฉนิ

Studies in the policy analysis of management systems in environmental and occupational

health, organizational management, operational planning, management of appropriate

technology in controlling environmental and occupational health problems, risk management,

loss of control and emergency management.

PHA 6202 การบริหารโครงการและการประเมนิ ผลทางสาธารณสขุ 3 (3-0-9)

(Health Project Administration and Evaluation)

ศึกษา วเิ คราะห์หลักการ แนวคิด กระบวนการบรหิ ารงานเพ่ือประยุกตใ์ นการจัดเสนอโครงการทฤษฎีท่ใี ช้

ในการประเมนิ งานและโครงการรูปแบบการประเมนิ วิธีการประเมนิ งานและโครงการเชิงระบบ

Studies in the principles, analysis, and concepts of the process of administration as

applied to project presentation, theories of performance and project evaluation, types of

evaluation, methods of evaluation in performance, and project systems.

PHA 6203 เคร่ืองมอื วดั ทางสุขภาพ 3 (3-0-9)

(Health Measurement)

ศึกษาวิธีสร้างเครอื่ งมือวัดดา้ นสขุ ภาพสำหรบั งานวิจยั วิธตี รวจสอบคุณสมบัตดิ ้านมิติมาตรวัด ตรวจสอบ

ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่นของเครื่องมือวัด เทคนิคการใช้สถิติ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การ

วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน การวิเคราะห์กลุ่ม การวิเคราะห์หลายมิติ และวิธีวิเคราะห์คุณลักษณะผสม

หลายวธิ ี สำหรับวิเคราะหโ์ ครงสรา้ งของเครอ่ื งมือวดั ทางสขุ ภาพ

Studies in the development of health measurement instruments used in conjunction with

research methodologies and methods for examining psychometric properties, reliability, validity

of instruments, techniques of applied statistics; exploratory factor analysis, confirmatory factor

30

analysis, cluster analysis, multidimensional scaling, and multitraits-multimethods-matrices used in the analysis of the structure of health measurement instruments.

PHA 6204 จริยธรรม กฎหมายและวิชาชพี สาธารณสขุ 3 (3-0-9)

(Ethics, Public Health Laws and Health Professionals)

ศึกษาวิเคราะห์ ปรัชญา แนวคิด จริยธรรมที่เกี่ยวกับการสาธารณสุข หลักการพื้นฐานของกฎหมาย

กฎหมายสาธารณสขุ และสิง่ แวดล้อม การใช้จริยธรรมในการพัฒนาการปฏิบัติงานและบริหารงานสำหรับวชิ าชีพ

สาธารณสุข

Analytical study of philosophy, concepts and ethics in public health, principles of law,

law in public health and the environment, ethics as applied to work development and health

administration for health professionals.

PHA 6205 การประกันคณุ ภาพมาตรฐานงานสาธารณสุข 3 (3-0-9)

(Standardized Quality Control in Public HealthWork)

ศึกษา วิเคราะห์ แนวคิด หลักการ กระบวนการการประกันคุณภาพมาตรฐานงานสาธารณสุขของ

หน่วยงานในทุกระดบั ทรี่ บั ผิดชอบ การปรบั ปรุงคุณภาพและมาตรฐานในการบริการสาธารณสุข

Analytical study of concepts, principles, and processes of standardized quality control in

healthwork in all responsible units, improving quality and standards in health services.

PHA 6206 การบรหิ ารการประชาสัมพนั ธแ์ ละชุมชนสมั พันธ์ 3 (3-0-9)

(Administration of Public and Community Communications)

ศึกษา วเิ คราะห์ แนวคิด หลักการการบริหารการประชาสัมพันธ์การสร้างพลังชุมชน การสร้างการมีส่วน

รว่ มระหว่างองคก์ รภาครัฐกับภาคประชาชน การส่อื สารทางสาธารณสขุ ในองคก์ รและชมุ ชน

Analytical study of concepts, and principles ofadministration in public communications,

community empowerment, developing communication between government and public sectors,

health communication in organizations and the community.

PHA 6889 การศึกษาอิสระทางด้านบริหารสาธารณสขุ 3 (0-0-12)

(Independent Study in Public Health Administration)

ศกึ ษาค้นควา้ จัดทำโครงการรเิ รมิ่ หรอื วิจยั เกีย่ วกับงานบรหิ ารสาธารณสขุ ภายใต้การแนะนำของอาจารย์

ที่ปรกึ ษา

Study in conjunction with projects or research on a topic relating to public health

administration under the guidance of advisors.

PHA 6899 การสอบประมวลความรู้ 0 (0-0-0)

(Comprehensive Examination) การทดสอบความรู้ ความสามารถที่จะนำหลักวิชาและประสบการณ์การเรียนรู้เฉพาะและสาขาวิชาที่

เกยี่ วขอ้ งไปประยุกต์ในการปฏบิ ตั ิงานหรอื การค้นคว้าวิจัย การสอบประมวลความรอู้ าจเป็นแบบขอ้ เขยี นหรือปาก

เปลา่ หรือท้ังสองแบบตามที่สาขาวิชากำหนด Test of knowledge, ability to use academic principles and experiences from both

specialized areas and related areaswith applications to practice in the operationaltasks or research

investigations. Comprehensive examination may be written, oral, or both as required by the area

academic committee.

31

RAM6001 ความร้คู ู่คณุ ธรรมสำหรบั บัณฑิตศึกษา 1(1-1-0)

(Knowledge and Morality for Graduate studies)

ศึกษาทฤษฎี หลกั การ กระบวนการ และแนวทางในการสร้างความรู้ และศกั ยภาพในการดำรงชีวิตอย่าง

มีศกั ดิศ์ รีของความเป็นมนุษย์ มคี วามซ่อื สัตย์ต่อตนเอง มีจติ สำนกึ สาธารณะ มีสำนกึ นำในการดูแลรับผิดชอบต่อ

ม.รามมีคณะสาธารณสุขไหม

เว็บไซต์ : www.publichealth.ru.ac.th. สำนักงานคณะสาธารณสุขศาสตร์ อาคารสุโขทัย ชั้น 13 ห้อง 1301 โทร. 02-310-8928.

สาธารณสุข ราม เรียนที่ไหน

คณะสาธารณสุขศาสตร์ อาคารสุโขทัย ชั้น 13. มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก เขตบางกะปิ กทม. 10240. ℹ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คณะสาธารณสุขศาสตร์ อาคารสุโขทัย ชั้น 13.

คณะสาธารณสุขศาสตร์ ตกงานไหม

สาธารณสุขศาสตร์(อนามัยชุมชน) ต่อไปนี้90%น่าจะตกงาน (ในตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข) เพราะผลิตเกินความต้องการ ประกอบกับ รพ.สต.

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มีกี่เทอม

(ตรวจสอบจากข้อมูลอัพเดตล่าสุดในแต่ละรอบอีกครั้ง) ระยะเวลาหลักสูตร 4 ปี ค่าเทอม