Sperm เจร ญได ด ในอ ณหภ ม ของร างกายเท าไร

ระบบรางกายมนษุ ย โครงสรางการทํางานของรางกายมนษุ ย ในการศึกษาทางจิตวทิ ยา จําเปนอยางยิ่งทจี่ ะทําความเขาใจเกีย่ วกับพฤติกรรมตาง ๆ ของมนุษย ซึง่ การที่ มนุษยจะแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมานน้ั เปน เพราะระบบการทาํ งานของรา งกาย ไมว านักปรัชญาและ นกั วิทยาศาสตร ซงึ่ ไดทาํ การศกึ ษาคน ควา มาเปนระยะเวลายาวนานตางมคี วามคิดเห็นตรงกนั วารา งกายมนษุ ย สตั ว หรอื พืชทง้ั หลายจะมีโครงสรา งทปี่ ระกอบข้นึ จากหนว ยที่เลก็ ท่ีสดุ ท่ีไมส ามารถมองเหน็ ไดด ว ยตาเปลา จนกระท่งั ถงึ สวนประกอบทใี่ หญทีส่ ดุ แตล ะสว นจะมีการทํางานท่สี ัมพนั ธก ัน โดยไมมีสว นใดที่สามารถทาํ งาน อยา งอสิ ระยกเวนเมด็ เลอื ด โดยประมาณไดวา 75 ถึง 80 เปอรเ ซ็นตของรางกายผูใหญประกอบดวยนาํ้ สว นท่ี เหลอื เปน สารประกอบทางเคมี สารประกอบเหลา นร้ี วมตัวกนั เปน เซลล หลายรอยชนิด ซ่งึ เปนหนว ยพ้ืนฐานท่ี เล็กทีส่ ดุ ของรางกาย มนษุ ยเปน ส่ิงมีชีวิต ที่มโี ครงสรา งสลับซับซอ นทสี่ ดุ ในบรรดาส่งิ มีชีวิตทงั้ หลายบนพนื้ โลก โดยเฉล่ียแลว รา งกายมนุษยป ระกอบดว ยเซลล 80 – 100 ลา นลานเซลลแตล ะชดุ จะถูกกาํ หนดใหม ีการ เจริญเตบิ โตและทําหนา ทเี่ ฉพาะ โดยเซลลชนิดเดียวกันจะรวมตัวเปนเนื้อเย่อื (tissues) เนือ้ เยอื่ หลาย ๆ ประเภทเมื่อมาทํางานรวมกัน เรยี กวาอวัยวะ (organ) แตล ะอวยั วะเมอ่ื ทํางานรว มกนั เรยี กวาระ(system) อาจแสดงโดยแผนผังตอไปนี้ ดงั นัน้ เมือ่ เซลลมารวมกลุม เปนเนื้อเยื่อพเิ ศษ เชน กลา มเน้ือ เสนประสาท กระดูก ฯลฯ เนอ้ื เยื่อเหลา นจ้ี ะ ทํางานรว มกันเปน อวัยวะและในทสี่ ดุ อวัยวะเหลาน้ีจะถกู จัดสรรเปน ระบบตาง ๆ ของรางกาย เชน ระบบ กลามเน้ือ ระบบตอ มตาง ๆ และระบบประสาท เปน ตน ระบบตาง ๆ ในรา งกายระบบตาง ๆ ในรา งกายมีการ ทาํ งานทสี่ มั พันธก นั เพือ่ ใหมนุษยส ามารถดาํ รงชีวติ ไดอยา งปกติ การทํางานของระบบภายในรา งกาย อาจ จาํ แนกออกไดเ ปน 10 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบผวิ หนงั (Intergumentary System) ทําหนา ที่หอ หุม ปกคลมุ รางกาย ประกอบดวยผวิ หนงั (Skin) และอวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมาจากผิวหนัง เชน ขน ผม เล็บ ตอ มเหงือ่ ตอ มนํา้ มัน 2. ระบบกลามเนื้อ (Muscular System) ทําหนาทีช่ ว ยทาํ ใหร า งกายเกิดการเคลื่อนไหว 3. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ทําหนา ทท่ี ํางานรว มกบั ระบบกลา มเน้ือ เพื่อชวยใหร างกายสามารถ เคลือ่ นไหวได นอกจากน้ยี งั ทําหนาทเี่ ปนโครงรา งของรา งกายอกี ดว ย 4. ระบบหมุนเวยี นโลหติ (Circulatory System) ทําหนา ทน่ี ําอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงเซลลต า ง ๆ ทวั่ รางกาย และนําคารบ อนไดออกไซดก บั ของเสียจากเซลลม าขบั ทง้ิ นอกจากนี้ ยังนาํ ฮอรโมนทีผ่ ลติ ไดจ ากตอม ไรท อ เพื่อสงไปยงั อวัยวะตา ง ๆ ของรางกาย 5. ระบบหายใจ (Respiratory System) ทําหนา ทร่ี ับออกซิเจนจากภายนอกเขา สรู า งกายและนํา คารบ อนไดออกไซดจากภายในออกมาขับทง้ิ สภู ายนอกรา งกาย โดยอาศยั ระบบไหลเวียนโลหิตเปนตวั กลางใน การลาํ เลยี งแกส 6. ระบบประสาท (Nervous System) เปนระบบท่ที าํ หนาทคี่ วบคุมการทาํ งานของทุกระบบในรา งกาย ให สัมพันธก นั โดยทาํ งานรวมกับระบบตอมไรทอ นอกจากนี้ยงั ทําหนาทร่ี ับและตอบสนองตอส่งิ เรา ภายนอก 7. ระบบตอมตา ง ๆ (glands System) ทําหนาท่ีสรางฮอรโ มน (hormone) ซ่ึงเปน สารเคมีและของเหลวโดย ทาํ งานรวมกบั ระบบประสาทในการควบคุมปฏิกิริยาการเผาผลาญตา ง ๆ ในรางกาย 8. ระบบยอยอาหาร (Digestive System) ทาํ หนา ท่ียอยสลายอาหารที่รับประทานเขาไปใหเปนสารอาหาร และดูดซมึ เขา สกู ระแสเลือดเพื่อไปเลีย้ งสว นตาง ๆ ของรางกาย

9. ระบบขับถาย (Excretory System) ทําหนา ท่ีขบั ถา ยของเสียทรี่ า งกายไมตองการใหอ อกจากรางกาย 10. ระบบสบื พันธุ (Reproductive System) ทําหนา ที่สบื ทอด ดํารงและขยายเผา พนั ธุ ใหมจี าํ นวนมากขึน้ เพ่อื ไมใหส ง่ิ มชี ีวิตสูญพันธุ

ระบบผวิ หนงั

ทาํ หนา ท่ีหอ หุมปกคลมุ รางกาย ประกอบดว ยผิวหนัง (Skin) และอวยั วะทีเ่ ปลีย่ นแปลงมาจากผวิ หนัง เชน ขน ผม เลบ็ ตอมเหง่ือ ตอมน้ํามัน

ระบบกลามเนือ้

ทาํ หนาทช่ี ว ยทาํ ใหรา งกายเกิดการเคล่ือนไหว ระบบโครงกระดูก

ทําหนาที่ทาํ งานรว มกบั ระบบกลา มเนื้อ เพอื่ ชวยใหรางกายสามารถเคลอื่ นไหว ได นอกจากน้ียงั ทาํ หนา ที่เปนโครงรางของรา งกายอีกดว ย

ระบบไหลเวียนโลหิต

ทําหนาที่นาํ อาหารและออกซเิ จนไปเล้ียงเซลลตา ง ๆ ท่วั รางกาย และนาํ คารบอนไดออกไซดกบั ของเสียจาก เซลลม าขบั ทิง้ นอกจากนี้ ยงั นาํ ฮอรโ มนท่ผี ลิตไดจากตอ มไรท อ เพือ่ สงไปยังอวยั วะตา ง ๆ ของรางกาย ระบบหายใจ

ระบบหายใจ คอื ระบบท่รี างกายแลกเปล่ียนแกส โดยรา งกายจะรบั แกสออกซเิ จนท่ีอยูภายนอกเขาสูรางกาย และขับแกส คารบ อนไดออกไซดอ อกจากรางกาย อวัยวะที่สําคัญในระบบน้ไี ดแ ก จมกู หลอดลม ปอด กลา มเนอ้ื กระบังลมและกระดูกซ่โี ครง

ระบบประสาท

• ระบบประสาท ระบบประสาท แบง ออกเปน 2 สวนคือ ระบบประสาทสวนกลาง (central nervous system หรือ CNS) ประกอบดวยสมองและไขสันหลังและระบบประสาทสวนปลาย หรอื ระบบประสาทรอบ นอก ( peripheral nervous system หรือ PNS) ประกอบดว ยเสนประสาทสมอง (cranial nerve) และ เสน ประสาทไขสนั หลงั (spinal nerve) และระบบประสาทอตั โนมตั ิ (autonomic nervous system หรอื ANS) ระบบประสาทรอบนอกหรอื ระบบประสาทสวนปลาย ระบบประสาทรอบนอกประกอบดวยหนว ยรบั ความรูส ึกท้งั หมด เสน ประสาทท่ตี ิดตอระหวา งหนวย รบั ความรูส กึ กบั ระบบประสาทสวนกลาง และ เสนประสาทท่ีเชือ่ มโยงระหวางระบบประสาทสว นกลางกับหนวยปฏบิ ัติงาน

ระบบตอ มตางๆ

ทาํ หนา ทสี่ รางฮอรโ มน (hormone) ซง่ึ เปน สารเคมีและของเหลวโดยทํางานรว มกับระบบประสาทในการ ควบคมุ ปฏกิ ิรยิ าการเผาผลาญตาง ๆ ในรางกาย

ระบบยอยอาหาร

ทาํ หนาทยี่ อ ยสลายอาหารทร่ี ับประทานเขา ไปใหเ ปนสารอาหาร และดูดซึมเขา สกู ระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยงสว น ตา ง ๆ ของรางกาย ระบบขบั ถา ย

การขบั ถายเปนระบบกาํ จัดของเสียจากรางกาย และชวยควบคุมปริมาณของนาํ้ ในรางกายใหสมบูรณป ระกอย ดวย ไต ตับ และลาํ ไส เปนตน ระบบสบื พนั ธุ ระบบสบื พนั ธเุ พศชาย

อวัยวะทส่ี าํ คัญในระบบสบื พันธุเ พศชาย ประกอบดว ย

1. อัณฑะ (Testis) เปนตอมรูปไข มี 2 อนั ทําหนาที่สรา งตวั อสจุ ิ (Sperm) ซึ่งเปน เซลลสืบพนั ธเุ พศชาย และ สรางฮอรโ มนเพศชายเพื่อควบคมุ ลักษณะตา งๆของเพศชาย เชน การมหี นวดเครา เสยี งหาว เปน ตน ภายใน อณั ฑะจะประกอบดวย หลอดสรา งตวั อสุจิ (Seminiferous Tubule) มีลกั ษณะเปนหลอดเล็กๆ ขดไปขดมา อยูภายใน ทําหนาที่สรางตวั อสจุ ิ หลอดสรา งตวั อสจุ มิ ขี างละประมาณ 800 หลอด แตละหลอดมีขนาดเทา

เสนดา ยขนาดหยาบ และยาวทง้ั หมดประมาณ 800 เมตร 2. ถุงหุมอัณฑะ (Scrotum) ทําหนาทีห่ อ หุมลกู อณั ฑะ ควบคมุ อุณหภูมใิ หพอเหมาะในการสรา งตัวอสุจิ ซง่ึ ตัว

อสจุ ิจะเจริญไดด ใี นอุณหภมู ติ า่ํ กวาอุณหภูมิปกติของรา งกายประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส 3. หลอดเกบ็ ตัวอสุจิ (Epididymis) อยูด านบนของอัณฑะ มลี กั ษณะเปน ทอเล็กๆ ยาวประมาณ 6 เมตร ขด

ทบไปมา ทาํ หนาทีเ่ ก็บตวั อสุจจิ นตัวอสจุ เิ ติบโตและแข็งแรงพรอ มทจี่ ะปฏิสนธิ 4. หลอดนาํ ตวั อสจุ ิ (Vas Deferens) อยตู อจากหลอดเกบ็ ตัวอสุจิ ทาํ หนาท่ลี าํ เลยี งตวั อสุจิไปเก็บไวทตี่ อม

สรา งนํา้ เลี้ยงอสจุ ิ 5. ตอมสรางน้าํ เลี้ยงอสุจิ (Seminal Vesicle) ทาํ หนาทส่ี รางอาหารเพอื่ ใชเ ล้ยี งตัวอสุจิ เชน นาํ้ ตาลฟรักโทส วติ ามินซี โปรตีนโกลบลู ิน เปนตน และสรางของเหลวมาผสมกบั ตัวอสุจิเพื่อใหเ กดิ สภาพทเ่ี หมาะสมสาํ หรบั ตวั

อสจุ ิ 6. ตอมลูกหมาก (Prostate Gland) อยูต อนตน ของทอ ปส สาวะ ทําหนา ท่ีหลง่ั สารท่ีมฤี ทธ์ิเปน เบสออนๆ เขา

ไปในทอ ปสสาวะเพอ่ื ทาํ ลายฤทธ์กิ รดในทอ ปส สาวะ ทาํ ใหเกิดสภาพที่เหมาะสมกับตัวอสจุ ิ 7. ตอ มคาวเปอร (Cowper Gland) อยูใ ตต อมลูกหมากลงไปเปนกระเปาะเลก็ ๆ ทาํ หนาท่ีหลงั่ สารไปหลอ ล่ืน

ทอปส สาวะในขณะที่เกิดการกระตุน ทางเพศ ระบบสบื พันธุเ พศหญิง

ระบบสบื พนั ธุเพศหญิง 1. รงั ไข ( Ovary ) มรี ปู รา งคลายเมด็ มะมวงหิมพานต ยาวประมาณ 2- 36 เซนตเิ มตร หนา 1 เซนติเมตร มี นาํ้ หนกั ประมาณ 2- 3 กรมั และมี 2 อันอยูบรเิ วณปกมดลูกแตละขางทาํ หนาท่ี ดังนี้ 1.1. ) ผลิตไข (Ovum) ซึ่งเปนเซลลสบื พนั ธุเพศหญงิ โดยปกติไขจ ะสุกเดือนละ 1 ใบ จากรังไข แตล ะขาง สลับกนั ทกุ เดือน และออกจากรงั ไขทุกรอบเดือนเรยี กวา การตกไข ตลอดชวงชีวิตของ เพศหญิงปกตจิ ะมีการ ผลิตไขป ระมาณ 400 ใบ คือ เมตง้ั แตอ ายุ 12 ป ถงึ 50 ป จึงหยดุ ผลติ เซลลไ ขจ ะมีอายอุ ยไู ดน านประมาร 24 ช่วั โมง 1.2 ) สรางฮอรโมนเพศหญิง ซงึ่ มอี ยหู ลายชนิด ท่สี ําคัญ ไดแก • อสี โทรเจน (Estrogen) เปนฮอรโมนท่ีทําหนา ท่ีควบคมุ เก่ียวกบั มดลกู ชอ งคลอด ตอ มน้าํ นม และควบคุม การเกดิ ลกั ษณะตา งๆ ของเพศหญงิ เชน เสียงแหลมเล็ก ตะโพกผาย หนา อก และ อวัยวะเพศขยายใหญข ้ึน เปน ตน• โพรเจสเทอโรน (Progesterone) เปน ฮอรโ มนทท่ี ํางานรวมกับอีสโทรเจนในการควบคุมเก่ยี วกบั การ เจริญของมดลูก การเปล่ียนแปลงเยื่อบมุ ดลูกเพ่ือเตรยี มรับไขท ีผ่ สมแลว

2. ทอนําไข หรอื ปกมดลูก ทาํ หนาทเ่ี ปนทางผา นของไขออกจากรงั ไขเขา สมู ดลูก โดยมปี ลาย ขา งหนึง่ เปด อยู ใกลก บั รังไขเ รียกวา ปากแตร ซงึ่ ทาํ หนาที่โบกพดั ใหไข ที่ตกมาจากรงั ไขเ ขา ไปใน ทอ นาํ ไข ทอนําไขเปนบริเวณ ทอ่ี สจุ ิจะเขาปฏิสนธิกบั ไข 3. มดลกู ทาํ หนาทีเ่ ปนทฝ่ี ง ตวั ของไขท่ีไดร ับการผสมแลว และเปน ทีเ่ จริญเตบิ โต ของทารกในครรภ4 . ชองคลอด ทาํ หนา ทเี่ ปน ทางผา นออกของตวั อสุจเิ ขาสูมดลูก เปน ทางผา นออกของทารก

เม่อื ครบกาํ หนดคลอด และเปน ทางท่ปี ระจําเดือนออกมาดวย