Soylnv เด กปฐมว ยท ม ความต องการจำเป นพ เศษ

รายงานการวิจยั ในชัน้ เรียน

ช่ือเรอ่ื ง การมีวนิ ัยในตนเองของเด็กปฐมวัยทีไ่ ด้รบั การจัดกิจกรรมการเล่านทิ าน ผูว้ จิ ัย นางสาวนภสั นันฐ์ เรอื งกระจา่ ง ปีการศกึ ษา 2564

จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ได้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่านการเล่นและกิจกรรมที่เหมาะสมกับวยั โดยถือว่ากิจกรรมการเลา่ นิทานสามารถใช้เปน็ เคร่ืองมือในการพัฒนา การเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก และช่วย พัฒนาเด็กทางด้านลักษณะชีวิต เด็กได้เรียนรู้ถึงลักษณะชีวิตที่ดีผ่านนิทานที่ปรารถนาให้เด็กมีพฤติกรรมที่ดีข้ึน ผลจากการวิเคราะห์พัฒนาการและคุณลักษณะตามวัยของเด็กชั้นอนุบาลปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านหนองหิน ในความ รับผิดชอบ พบว่า เด็กส่วนมากมีคณุ ลักษณะตามวยั ไมส่ อดคล้องกับความต้องการของหลักสูตร โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งคุณลักษณะตามวัยด้านอารมณ์จิตใจเรื่องคุณธรรมและจิตใจที่ดีงาม ซึ่งสังเกตจากการเก็บของเล่น เด็ก ๆจะ เก็บของเล่น ไม่ถูกที่ บางคนเมื่อถึงเวลาเก็บจะเก็บของเลน่ อย่างเชื่องช้า เก็บของเล่นมาปะปนกัน โยนของเลน่ ส่งเสียงดงั ทำให้ของเลน่ ชำรดุ เสยี หาย กล่าวโดยสรุปคือเดก็ ขาดวนิ ัยในตนเอง จากการวิเคราะห์สาเหตุของ ปัญหาพบว่ายังขาดกระบวนการอบรมดูแลและการเลี้ยงดูที่เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก เนื่องจาก สภาพเศรษฐกิจ สังคมของครอบครัว การไม่ตระหนักและเห็นความสำคญั ของผู้ปกครองและผูเ้ ก่ียวข้องตลอดจน การมีภารกิจรับผิดชอบมากเกินไปของครูผู้สอน เช่น เมื่อผู้ใหญ่ไม่มีเวลาอบรมเด็กและขาดการดูแลที่ถูกวิธี เม่ือ เด็กเล่น ของเล่นเสร็จผู้ใหญ่จะคอยเก็บให้ ทำให้เด็กไม่เคยชินกับการเก็บของเล่นด้วยตนเอง เด็กบางคนมี ความคับข้องใจ เพราะถูกบังคับมากเกินไปจึงมีพฤติกรรมเพื่อเรียกร้องความสนใจด้วยการขว้างปาของเล่น หยิบ ของเล่นที่โรงเรียนกลับไปเล่นที่บ้าน เด็กที่ซุกซนผิดปกติบางคนก็เป็นเด็กที่พ่อแม่รักมาก ตามใจและปกป้องมาก เกินไป ส่วนเดก็ ท่ีมีพฤตกิ รรมก้าวร้าวมักจะเปน็ เดก็ ทีพ่ ่อแมไ่ มต่ ้องการเกลียดชงั และทอดทิ้งให้อยู่คนเดียว บางที ก็ถูกลงโทษจากพอ่ แมท่ ่มี ีปญั หาทางอารมณ์ เดก็ ๆจงึ ขาดวินยั ในตนเอง จงึ ตอ้ งพยายามหาทางแกไ้ ข ด้วยวิธีการ ที่เป็นระบบและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจิต เช่น การสร้างข้อตกลงร่วมกัน การให้คำชมเชย ให้รางวัล การให้คะแนนหรือหักคะแนน การให้ในสิ่งที่เด็กต้องการ ให้การยอมรับและเอาใจใส่ในช่วง6ปีแรกของชีวิตเป็น ช่วงทีม่ คี วามสำคญั ที่สดุ เปน็ ระยะท่ีเดก็ สามารถพฒั นาดา้ นต่าง ๆได้อย่างรวดเร็วจึงง่ายตอ่ การเรยี นรู้และสามารถ ส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ดี ประสบการณ์ที่เด็กได้รับในวัยนี้จะเป็นพื้นฐานของการพัฒนาชีวิตที่มี คุณภาพตอ่ ไป

จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าววินัยต้องสร้างตั้งแต่วัยเด็ก เล็กๆ เพราะวัยเด็กเป็นวัยที่รับสิ่งต่าง ๆได้ง่าย หากปลูกฝังสิ่งที่ดี เช่น ความอดทน การรู้จักควบคุมตนเอง ความมีน้ำใจ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้จะแทรกซึมเข้าเป็นบุคลิกภาพที่ฝังแน่นในตัวเด็กจนเป็นผู้ใหญ่ บุคคลที่มีวินัยใน ตนเอง จะเป็นผู้ที่รู้จักกาลเทศะ มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เคารพกติกา และแสดงพฤติกรรมออกมาใน ลกั ษณะทสี่ งั คมยอมรบั ท้ังต่อหนา้ และรับหลัง ความมวี ินัยต้ังอย่บู นพน้ื ฐานของเหตุผลภายใตบ้ รรยากาศของความ รัก ความอบอุ่นความช่ืนชมยนิ ดี และความรู้สึกอสิ ระอันเป็นพน้ื ฐานทสี่ ำคัญของการพฒั นาจริยธรรมตอ่ ไป การฝึกให้เด็กมีวนิ ยั ในตนเองควรยึดหลกั บางประการดงั น้ี

1.ทำใหพ้ ฤตกิ รรมคงทน ไดแ้ ก่ พฤติกรรมทพี่ งึ ประสงค์ท่ีเดก็ แสดงออกเปน็ บางครงั้ ครู จะต้องกระตุ้นให้เด็กแสดงพฤติกรรมเช่นนน้ั อีก เชน่ เกบ็ ของเล่นได้ถูกที่ เก็บของเลน่ ไดท้ ันตามเวลาทก่ี ำหนด

2. สรา้ งพฤตกิ รรมใหเ้ กดิ ข้ึน เปน็ การสร้างพฤติกรรมทเ่ี หมาะสมให้เกิดกบั เด็ก เชน่ ช่วยเพอื่ น เกบ็ ของเลน่ จดั เรยี งของเล่นอย่างเรยี บร้อย

3. ลดพฤติกรรมท่ีเปน็ ปญั หา เปน็ การลดพฤตกิ รรมทไ่ี ม่เหมาะสมใหห้ ายไป เชน่ เด็กทีช่ อบ เก็บของเล่นดว้ ยการขว้างหรือโยนเสียงดัง ปรับเปล่ยี นมาสรา้ งพฤติกรรมตรงกนั ข้ามโดยฝกึ ใหเ้ ก็บของเล่นอย่างถ นุถนอมไมเ่ สยี งดัง

จากหลักการดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้พัฒนาพฤติกรรมหรือปรับพฤติกรรม( Behavior Modification) การปรับพฤติกรรมเป็นเทคนิคที่ได้รับการพัฒนามาจากทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ (Skinner) ในค.ศ. 1930 สกินเนอร์และคณะได้ศึกษาถึงวิธีการวางเงื่อนไขแบบแสดงอาการกระทำ (Operant Conditioning) และได้สรุปเป็นหลักการปรับพฤติกรรมของบุคคลว่า “พฤติกรรมของบุคคลอยู่ภายใต้เงื่อนไข ของผลกรรมที่บุคคลได้รับแต่งตั้งจากอดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน” เงื่อนไขของผลกรรมดังกล่าวได้แก่เงื่อนไขของ การใหแ้ รงเสริม (Contingency of Reinforcement) และเงือ่ นไขการลงโทษ (Contingency of Punishment) (สมพร สุทัศนีย์. 2547 : 138 )

การพัฒนาวนิ ยั ในตนเองสามารถดำเนินการได้หลายลกั ษณะ แต่สำหรบั เดก็ ปฐมวัยแลว้ ควรใช้ การให้แรงเสริมทางบวก ซงึ่ เป็นวธิ ีการท่มี ปี ระสิทธิภาพมากกวา่ ด้วยเหตนุ ผ้ี ู้วิจยั ในฐานะนักศึกษาฝึก ประสบการณว์ ชิ าชีพครูทรี่ ับผิดชอบ จึงไดด้ ำเนินการศึกษาคน้ ควา้ วิธกี ารฝึกวนิ ัยในตนเองด้วยกิจกรรมการเล่า นิทานโดยสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กสร้างข้อตกลงร่วมกนั ใหเ้ ด็กไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิบ่อยๆโดยมีครูคอยเสริมแรงด้วยการใชแ้ รงเสรมิ แลกเปล่ียน (Token) แรงเสรมิ ทางวาจา แรงเสรมิ ท่เี ป็นกิรยิ าทา่ ทาง ทำใหเ้ ดก็ มวี นิ ยั ในตนเอง มีความเตม็ ใจและ เป็นสุขทีเ่ ก็บของเล่นได้อย่างเรยี บร้อยตอ่ ไป จุดม่งุ หมายของการวิจยั

เพ่ือเปรยี บเทียบการมีวินัยในตนเองเองของเดก็ ปฐมวยั ก่อนและหลงั การจัดกจิ กรรมการเลา่ นิทานและศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงการมีวินยั ในตนเองของเด็กปฐมวัยทีไ่ ดร้ บั การจดั กิจกรรมการเล่านิทาน ความสำคัญของการวจิ ัย

การวจิ ยั ครั้งน้ที ำให้ทราบถึงการมีวินัยในตนเองของเดก็ ปฐมวยั ทีไ่ ด้รับการจดั กิจกรรมการเลา่ นิทาน เพือ่ เป็นแนวทางสำหรับครู ผู้ปกครองและผู้ทีเ่ ก่ยี วข้องในการส่งเสรมิ และพฒั นาการมวี ินยั ในตนเองของเด็กปฐมวยั ตลอดจนการจัดกิจกรรมการเล่านทิ านให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขนึ้ ขอบเขตการวิจยั

1.ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ประชากรท่ีใชใ้ นการวิจัยครั้งน้เี ปน็ เดก็ ปฐมวัยเด็กชาย- หญิง อายุ 3-4 ขวบ ท่ีกำลังศึกษาอยชู่ ้นั อนุบาล 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบ้านหนองหิน จำนวน 23 คน

2. ระยะเวลาในการทดลอง การวจิ ยั ครง้ั นไี้ ดท้ ำการทดลองในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยมรี ะยะเวลาในการ

ทดลอง 4 สปั ดาห์ สปั ดาห์ละ 5 วนั ในแตล่ ะวนั ทำการทดลอง 1 คร้งั ในกิจกรรมเสรี ครง้ั ละ 20 นาที 3. ตัวแปรในการวจิ ยั ตัวแปรต้น คือ กจิ กรรมการเลา่ นิทาน ตัวแปรตาม คือ การมวี ินัยในตนเองของเดก็ ปฐมวัย

นิยามคำศพั ท์ 1. เด็กปฐมวัย หมายถึง ชาย – หญิง อายุ 3-4 ขวบ ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนที่ 1

ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านหนองหิน จำนวน 23 คน 2. การวินัยในตนเอง หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติตนให้เป็นไปตามข้อตกลง ได้แก่ เก็บ

ของเล่นอย่างทะนถุ นอม ไม่ส่งเสยี งดังขณะเกบ็ ไม่แย่งกนั เก็บ เกบ็ ของเล่นไดโ้ ดยไม่ต้องเตือน จัดเก็บของเล่น เข้าชุดลงตะกร้าได้อย่างเรียบร้อย จดั วางของเล่นได้อยา่ งเหมาะสม และช่วยเหลือเพอ่ื นในการจัดเก็บของเล่น

3. กิจกรรมการเล่านิทาน หมายถึง กิจกรรมที่ช่วยให้เด็กมีความสุขให้แง่คิดและคติสอนใจ การจัด ประสบการณ์ให้เด็กโดยใช้นิทานเป็นสิ่งจำเป็นเพราะการเล่านิทาน สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา การ เตรยี มความพร้อมให้กบั เดก็ และช่วยพฒั นาเด็กทางด้านลักษณะชีวติ เด็กไดเ้ รยี นรถู้ ึงลกั ษณะชีวิตทีด่ ีผ่านนิทานท่ี ปรารถนาใหเ้ ดก็ มีพฤตกิ รรมทีด่ ีขึ้น วธิ ีการส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มวี นิ ัยในตนเองไดอ้ ยา่ งเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั การมวี นิ ยั ในตนเองของเด็กปฐมวยั จำแนกออกเปน็ 5 ดา้ น ได้แก่ 1.เก็บของเล่นอยา่ งทะนุถนอม

กิจกรรมการเล่านิทาน 2.เก็บของเลน่ ไวต้ ามมุมได้อย่างถกู ต้อง 3.ชว่ ยเหลือเพ่อื นในการเกบ็ ของเล่น

4.เกบ็ ของเลน่ โดยไม่ต้องเตือน

5.เก็บของเล่นลงตะกร้าได้อย่างเรียบรอ้ ย

สมมตุ ิฐานการวิจยั การมวี นิ ยั ในตนเองของเด็กปฐมวยั หลงั จากการจัดกจิ กรรมการเลา่ นทิ านสงู กวา่ ก่อนการจัดกิจกรรม

และการมีวัยในตนเองของเด็กปฐมวัยหลงั การจดั กจิ กรรมการเล่านิทานมีการเปลีย่ นแปลงสงู กวา่ กอ่ นการจัดกิจ กรร

ผลการวจิ ยั

จากการวิจยั เรอ่ื งการมีวนิ ัยในตนเองของเด็กปฐมวยั ทไี่ ดร้ ับการจัดกิจกรรมการเลา่ นทิ าน ผ้วู ิจัยได้ สงั เกตพฤติกรรม และประเมินค่าคะแนนจากพฤติกรรมจำนวน 4 สปั ดาห์ มีรายการประเมนิ 5 รายการ ดงั น้ี

1.เกบ็ ของเลน่ อย่างทะนุถนอม 2.เก็บของเล่นไวต้ ามมมุ ไดอ้ ย่างถูกต้อง 3.ช่วยเหลือเพอ่ื นในการเก็บของเล่น 4.เกบ็ ของเล่นโดยไมต่ ้องเตือน 5.เกบ็ ของเล่นลงตะกร้าได้อยา่ งเรยี บร้อย โดยมคี ะแนนเตม็ รายการละ 2 คะแนน ดงั นั้นเด็กจะมคี ะแนนสำหรับการปฏิบัติ 5 รายการต่อวัน

มคี ะแนนเต็ม 10 คะแนน

เมื่อเด็กปฏิบัติกิจกรรมครบใน 1 สัปดาห์ หรือปฏิบัติกิจกรรมครบ 5 วัน คะแนนรวมจึงเป็น สัปดาห์ละ 50 คะแนน ผู้วิจัยจงึ นำคะแนนในแต่ละสปั ดาห์ของเด็กทกุ คน มาแสดงเป็นคะแนนรวม จำนวน 4 สัปดาห์ ดงั น้ี

ตาราง แสดงคา่ คะแนนจากการปฏิบตั กิ จิ กรรมการจดั เก็บของเล่นใน 4 สัปดาห์

เลขท่ี ชอื่ - นามสกุล คะแนนรวมเต็ม 50 คะแนน สัปดาหท์ ่ี 4 สปั ดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สปั ดาหท์ ่ี 3 38 1 ด.ช.จกั รภัทร จันทร์แสนตอ 26 31 36 40 43 2 ด.ช.ตฤณ นกทอง 27 36 39 36 43 3 ด.ช.ณัฐภูมิ ไขพ่ นิ 22 28 35 46 32 4 ด.ช.ธนกร เสอื ใจ 24 34 35 38

5 ด.ช.พรี พฒั น์ พุททา 28 33 43 38

6 ด.ช.ภาคิน นิลบุตร 31 39 44 47

7 ด.ช.อนาคนิ ยาคุบซกิ 22 25 30 41

8 ด.ช.อภิรักษ์ เอกสุนทร 27 29 32 38

9 ด.ญ.เกวลนิ พาสวัสดิ์ 26 31 36 45

10 ด.ญ.ชตุ ิมนต์ บำรุง 23 30 36 41

11 ด.ญ.ญาณิศา ใจเมือง 31 39 39 50

12 ด.ญ.นารา ยง่ิ อนุรักษ์วงศ์ 33 34 38 39

13 ด.ญ.นารินทร์ ขำเจรญิ 32 36 39 36

14 ด.ญ.พชิ ญาภา พงึ่ ไทย 32 35 39 43

15 ด.ญ.มณวี รรณ วงษ์ดาว 37 42 48

16 ด.ญ.มนสชิ า ตนั เจรญิ 26 31 35

17 ด.ญ.ศริ ดา มารยา 29 32 34

18 ด.ญ.อนุธิดา บญุ มี 23 26 35

เลขที่ ชื่อ - นามสกลุ สัปดาห์ที่ 1 คะแนนรวมเต็ม 50 คะแนน สปั ดาหท์ ี่ 4 30 สัปดาห์ท่ี 2 สปั ดาห์ท่ี 3 43 19 ด.ญ.อมั พาพันธ์ มัง่ ประสิทธ์ิ 31 45 20 ด.ญ.ไอศิกา สุขขำ 30 35 38 41 21 ด.ช.ธรี ภัทร สันทอง 27 35 40 44 22 ด.ญ.ณัชชนดิ า พึง่ ไทย 28 32 39 42 23 ด.ช.ชณิ วุฒิ ฉัตรศรวี งค์ 645 35 39 949 30 38 รวม 53.75 758 867 79.083 คะแนนเฉลีย่ 63.167 72.25

จากตารางแสดงค่าคะแนนการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเล่านทิ านเดก็ ปฐมวยั เดก็ ชาย- หญงิ อายุ 3-4 ขวบ ท่ีกำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา้ นหนองหนิ จำนวน 23 คน มีรายการประเมนิ 5 รายการคือ

1.เกบ็ ของเลน่ อย่างทะนุถนอม 2.เก็บของเล่นไว้ตามมุมได้อย่างถูกต้อง 3.ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นในการเกบ็ ของเลน่ 4.เก็บของเลน่ โดยไม่ต้องเตือน 5.เก็บของเลน่ ลงตะกร้าได้อย่างเรียบร้อย เด็กมีคะแนนจากผลการปฏิบตั ิกิจกรรมการจัดเก็บของเล่นรายสปั ดาห์ ตลอด 4 สปั ดาห์ มคี า่ รอ้ ย ละแสดงความกา้ วหนา้ จาก 53.75 63.167 72.25 และ79.083 ตามลำดับ

สรุปผลการวิจัย

การมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยต้องมีการส่งเสริมหรือพัฒนาตั้งแต่เด็ก ทั้งนี้เพราะวัยเด็กเป็น วัยแห่งการเรียนรู้สามารถเรียนรูไ้ ด้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมรวมทั้งการมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม ในวยั ตอ่ ๆไป

เด็กปฐมวัยชาย- หญิง อายุ 3-4 ขวบ ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านหนองหิน จำนวน 23 คน มีวินัยในตนเองอยู่ในระดับสูงมีการเปลี่ยนแปลงการมีวินัยใน ตนเองที่ดตี ามขอ้ ตกลงเพิ่มขึ้น อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตลอด 4 สปั ดาห์ จากระดบั ค่าร้อยละ 53.75 63.167 72.25 และ79.083 ตามลำดับข้นั

การวิจยั ครัง้ น้ีมจี ดุ มุ่งหมายเพอื่ เปรียบเทยี บกามีวยั นยั ในตนเองของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัด กิจกรรมการเล่านทิ าน ผลการวิจัย พบว่า การมวี ัยในตนเองของเด็กปฐมวยั หลงั การทดลองสูงกวา่ ก่อนการทดลอง จดั กิจกรรมการเลา่ นิทานอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .01 ซง่ึ เป็นไปตามสมมตุ ฐิ านทต่ี ้ังไว้ แสดงให้เหน็ วา่ การจัดกิจกรรมการเล่านิทาน ส่งผลให้เด็กมีวินัยในตนเองเพิม่ ขึ้น ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากมีกระบวนการพัฒนาและ การดำเนินงานอยา่ งเป็นระบบ กลา่ วคอื เรม่ิ ตัง้ แต่การวเิ คราะห์พฒั นาการและคุณลักษณะตามวัย การวเิ คราะห์ สาเหตุของปัญหา การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทางในการวิจัย กำหนดขอบเขตการ ดำเนินงาน การเตรียมงานโดยการพัฒนาเครื่องมืออย่างเป็นระบบ นำไปทดลองใช้เพื่อหาประสิทธิภาพและมี การวางแผนและเตรยี มงาน เพ่ือการนำไปใช้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

ในด้านการจัดกิจกรรมผู้วิจัยได้จัดกิจกรรมการเล่านิทาน แสดงบทบาทสมมติ การเล่นตาม มุม เพ่ือปลกู จิตสำนกึ และสร้างแรงจงู ใจ โดยไดน้ ำเนื้อหาจากนิทานมาเป็นแนวทางในการสร้างข้อตกลงร่วมกัน ซึ่งทำให้เด็กแสดงพฤติกรรมที่มีพัฒนาการดีขึ้นเป็นลำดับแรก เมื่อเด็กได้แสดงพฤติกรรมที่ดีแล้ว ผู้วิจัยได้ใช้ เทคนคิ การให้แรงเสริมแลกเปลีย่ นเพ่ือเป็นกำลังใจใหเ้ ด็กไดแ้ สดงพฤติกรรมในเชงิ สร้างสรรค์ เพมิ่ มากยงิ่ ข้ึน มผี ล ทำใหค้ ะแนนแสดงพฤตกิ รรมของเด็กพฒั นาข้นึ

บรรณานกุ รม

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธกิ าร. หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2546. กรงุ เทพฯ:

โรงพิมพ์ครุ ุสภา. 2546. กลุ ยา ตนั ตผิ ลาชีวะ. คู่มือการเลีย้ งลูกวัยอนุบาลให้เกง่ ฉลาดเปน็ คนดมี ีคณุ ภาพ. กรุงเทพฯ :

อา่ นสนุก. 2547. เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศ์ศกั ด์ิ. ย่งิ วา่ อีคิว คูม่ อื พฒั นาชีวติ ใหล้ กู นอ้ ย. กรงุ เทพฯ:

ซัคเซสมีเดยี . 2544. จินดา นา้ เจริญ. การศึกษาความมีวินัยในตนเองดา้ นสงิ่ แวดล้อมของเด็กปฐมวัย

ทไ่ี ด้รบั การจดั กจิ กรรมเสรมิ ลักษณะนสิ ยั แบบวางแผนปฏบิ ตั ิ ทบทวน. ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. (การศกึ ษาปฐมวัย).บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ วโิ รฒ. 2540. (เอกสารอัดสำเนา) นติ ยา คชภกั ดี. ขั้นตอนการพัฒนาของเด็กปฐมวยั ตัง้ แตป่ ฏิสนธิถึง5ป.ี กรุงเทพฯ : ครุ ุสภาลาดพร้าว. 2543. นริ ชั รา จันทิหลา้ . การเปรยี บเทยี บผลการใช้เทคนิคอรรถกรกับเทคนิคตวั แบบตอ่ พฤตกิ รรม การรกั ษาความสะอาดของชนั้ เรียนและความเปน็ ระเบยี บของอุปกรณ์เคร่ืองใช้ ส่วนตวั นักเรียน.ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ม. (จติ วิทยาการศึกษา). มหาสารคาม : บณั ฑิตวทิ ยาลัยมหาวิทยาลยั มหาสารคาม. 2514. (เอกสารอัดสำเนา) พรทพิ ย์ วินโกมนิ ทร.์ นิทานละครและหุ่นสำหรบั เดก็ . กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร์. 2542. ภรณี คุรรุ ัตนะ. “เด็กปฐมวัยในท่ามกลางกระแสการเปลย่ี นแปลง,” วารสารการศึกษาปฐมวยั . (มกราคม 2540) : 13-45. ราศี ทองสวัสดิ์. “การพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรมแกเ่ ด็ก3-6 ขวบ”. วารสารการศกึ ษาปฐมวัย. (2542) วาโร เพ็งสวัสดิ์. การวิจัยทางการศึกษาปฐมวยั . กรงุ เทพฯ : สุวีริยาสาสน.์ 2544. วลิ าสลักษณ์ ชวั ลัลล.ี ผลของรางวลั ภายนอกและการรับรู้ความสามารถของตนท่มี ตี ่อแรงจงู ใจ ภายในของนักเรียน.มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ วโิ รฒประสานมติ ร. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์. 2542. สารถี โชตริ ัตน์. ผลการใช้เกมตวั แบบและสถานการณ์จำลองต่อพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมของ นักเรียนอนุบาล.ปรญิ ญานิพนธก์ ศ.ม. (การศึกษาศาสตร์เพอื่ การพัฒนาชมุ ชน). สงขลา :

บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ 2542. (เอกสารอดั สำเนา) สณิ หพัฒน์ อรุณธารี. การพฒั นารปู แบบการจดั กจิ กรรมและสื่อในกิจกรรมเสรีสำหรบั

เดก็ ปฐมวัยเพื่อสรา้ งระเบียบวนิ ัย. สำนักงานการประถมศกึ ษาแห่งชาต.ิ ภเู กต็ . 2543. สุชาดา ศรีทิพยวรรณและคณะ. เลย้ี งลกู อยา่ งไรให้ “เก่ง ดี มสี ุข”. กรงุ เทพฯ :

บริษทั ธนาเพรส จำกดั .สำนกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาต.ิ (2540). การสรา้ งเสรมิ วนิ ัยคู่มอื แนะแนวทางการปฏิบัต.ิ กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว.

  1. สำนกั พฒั นาสขุ ภาพจติ . คู่มอื ความร้เู พื่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในเดก็ อายุ 3-11 ปี สำหรับพอ่ แม่/ผปู้ กครอง. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมชนสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. 2549. สมพร สทุ ศั นีย์, ม.ร.ว. จิตวทิ ยาการปกครองชน้ั เรียน. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 6. กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสทุ รา การพมิ พ์ จำกัด. 2547. สมโภชน์ เอี่ยมสภุ าษิต. การปรบั พฤตกิ รรม. พิมพค์ รั้งท่ี 9. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพโ์ อเดยี นสโตร.์
  2. อารี พันธม์ ณี. สอนลกู ถูกวิธใี หเ้ ป็นคนดใี นอนาคต. กรงุ เทพฯ : ใยไหม. 2548. อมุ าพร ตรังคสมบตั .ิ สร้างวนิ ยั ใหล้ กู คุณ. กรงุ เทพฯ : ศนู ย์วิจัยและพัฒนาครอบครัว. 2542.

ภาคผนวก

เอกสารภาคผนวก

1. นทิ านสร้างแรงจงู ใจ เรื่องเก็บเอง เกง่ จงั 2. นิทานสร้างแรงจงู ใจ เร่ืองเก็บไดใ้ ห้คนื 3. นทิ านสร้างแรงจงู ใจ เร่ืองระเกะระกะ 4. แบบสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัยเรื่อง ความมีวินัยในตนเอง ขณะเกบ็ ของเล่น 5. ภาพประกอบกจิ กรรมการจัดเกบ็ ของเล่น

1.นิทานสร้างแรงจงู ใจ เร่อื งเกบ็ เอง เก่งจงั

2.นิทานสร้างแรงจงู ใจ เร่อื งเก็บได้ ใหค้ นื

3.นทิ านสรา้ งแรงจูงใจ เร่อื งระเกะระกะ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมเด็กปฐมวยั เรือ่ ง ความมีวนิ ยั ในตนเองขณะจดั เก็บของเล่น สัปดาห์ท.ี่ .............วันที่............เดือน...................................................พ.ศ.......................................... คำชแี้ จง สังเกตพฤติกรรมของเดก็ ขณะจดั เกบ็ ของเลน่ ตามพฤตกิ รรมที่กำหนดแล้วขีดเครอื่ งหมาย  ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์ท่ีกำหนด

เลขท่ี ชอื่ -สกุล 1.เก็บของ รายการสงั เกต 5.เกบ็ ของเลน่ เล่นอยา่ ง ลงตะกรา้ ได้ 1 ด.ช.จกั รภทั ร จนั ทรแ์ สนตอ ทะนถุ นอม 2.เกบ็ ของเลน่ ไว้ 3.ชว่ ยเหลอื 4.เกบ็ ของ อย่างเรยี บร้อย 2 ด.ช.ตฤณ นกทอง ตามมุมได้อย่าง เพื่อนในการ เลน่ โดยไม่ 3 ด.ช.ณัฐภูมิ ไข่พนิ ถกู ตอ้ ง เก็บของเล่น ต้องเตือน 4 ด.ช.ธนกร เสอื ใจ 5 ด.ช.พีรพฒั น์ พุททา 6 ด.ช.ภาคนิ นลิ บตุ ร 7 ด.ช.อนาคนิ ยาคบุ ซกิ 8 ด.ช.อภิรักษ์ เอกสนุ ทร 9 ด.ญ.เกวลิน พาสวสั ด์ิ 10 ด.ญ.ชุตมิ นต์ บำรงุ 11 ด.ญ.ญาณศิ า ใจเมือง 12 ด.ญ.นารา ยงิ่ อนุรกั ษ์วงศ์ 13 ด.ญ.นารินทร์ ขำเจริญ 14 ด.ญ.พิชญาภา พึง่ ไทย 15 ด.ญ.มณวี รรณ วงษ์ดาว 16 ด.ญ.มนสชิ า ตันเจรญิ 17 ด.ญ.ศิรดา มารยา 18 ด.ญ.อนธุ ิดา บญุ มี 19 ด.ญ.อัมพาพนั ธ์ มง่ั ประสิทธิ์ 20 ด.ญ.ไอศิกา สขุ ขำ 21 ด.ช.ธรี ภทั ร สันทอง

เลขที่ ชื่อ-สกลุ 1.เกบ็ ของ รายการสงั เกต 5.เก็บของเล่น เลน่ อยา่ ง ลงตะกร้าได้ 22 ด.ญ.ณชั ชนิดา พ่ึงไทย ทะนถุ นอม 2.เกบ็ ของเล่นไว้ 3.ช่วยเหลอื 4.เก็บของ อยา่ งเรยี บรอ้ ย 23 ด.ช.ชณิ วฒุ ิ ฉตั รศรีวงค์ ตามมมุ ได้อยา่ ง เพ่ือนในการ เล่นโดยไม่ ถกู ต้อง เก็บของเลน่ ตอ้ งเตอื น

** หมายเหตุ ** เกณฑก์ ารประเมิน 2 แสดงพฤติกรรมดว้ ยตนเอง 1 แสดงพฤตกิ รรมเมอ่ื มีผู้แนะนำ 0 ไมแ่ สดงพฤติกรรม

ภาพประกอบกจิ กรรมการเล่านทิ านและจดั เกบ็ ของเลน่

ภาพประกอบกจิ กรรมการเล่านทิ านและจดั เกบ็ ของเลน่

แผนการจดั ประสบการณ์

แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ สปั ดาห์ที่ 1-4 วนั ที่ 1 กจิ กรรมเสรี จุดประสงค์ 1. เด็กร่าเริงแจม่ ใสอารมณ์ได้ 2. เลน่ เลยี นแบบบทบาทสมมุตติ ามมุมได้ 3. ช่วยเหลอื และแบง่ ปนั ส่งิ ของได้ 4. เกบ็ ของเล่นของใช้ได้ สาระการเรยี นรู้ สาระท่คี วรรู้ - การช่วยเหลอื แบง่ ปัน - การเกบ็ ของเล่นของใช้ ประสบการณ์สำคัญ พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย - การเคล่ือนไหวอยกู่ บั ทแี่ ละการเคลื่อนไหวเคลือ่ นที่ พฒั นาการด้านอารมณแ์ ละจิตใจ - การชืน่ ชมและการสรา้ งสรรค์ส่ิงสวยงาม พัฒนาการดา้ นสงั คม - การทำงานรว่ มกับผู้อื่น - การแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และเคารพความคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน - แก้ปญั หาในการเล่น พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา - การแสดดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผ่านสอื่ วัสดุ - การแสดงความรู้สกึ ด้วยคำพดู กิจกรรม 1. ครเู ล่านทิ านให้เด็กๆ ฟงั เรื่อง เก็บเองเก่งจัง 2. เดก็ แสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกบั ในนิทานเรื่อง เก็บเองเก่งจงั 3. ครคู อยดแู ลและสังเกตพฤตกิ รรมการเลน่ เก่ียวกบั การแสดงบทบาทสมมตุ ใิ นมุม และการ แสดงความเออ้ื เฟื้อเผือ่ แผ่ช่วยเหลือแบ่งปนั

4. เตือนก่อนหมดเวลาครคู อยสังเกตพฤติกรรม ทยอยเก็บของเลน่ 5. เกบ็ วสั ดุ อุปกรณ์ ๆ เข้าทใ่ี ห้เรียบร้อย สอื่ การเรียนการสอน - ของเล่นในหอ้ ง - มมุ ต่าง ๆ ในห้องเรียน - นิทานเก็บเองเก่งจัง ประเมินผล - การทำกิจกรรมของเดก็ - ความมรี ะเบียบวนิ ยั ของเดก็ - ความมีน้ำใจรจู้ ักแบ่งปัน

แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ สัปดาห์ที่ 1-4 วันท่ี 2 กิจกรรมเสรี จดุ ประสงค์ 1. เดก็ รา่ เรงิ แจ่มใสอารมณไ์ ด้ 2. เล่นเลยี นแบบบทบาทสมมตุ ิตามมมุ ได้ 3. ช่วยเหลอื และแบ่งปันสงิ่ ของได้ 4. เก็บของเล่นของใช้ได้ สาระการเรยี นรู้ สาระท่ีควรรู้ - การช่วยเหลอื แบ่งปนั - การเกบ็ ของเล่นของใช้ ประสบการณ์สำคัญ พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย - การเคลอ่ื นไหวอยูก่ ับท่ีและการเคลื่อนไหวเคลอ่ื นที่ พัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ - การช่นื ชมและการสรา้ งสรรคส์ ิ่งสวยงาม พฒั นาการดา้ นสงั คม - การทำงานรว่ มกับผู้อ่ืน - การแลกเปล่ียนความคิดเห็นและเคารพความคิดเหน็ ของผู้อ่นื - แกป้ ญั หาในการเลน่ พัฒนาการดา้ นสติปัญญา - การแสดดงความคิดสร้างสรรคผ์ ่านสอื่ วัสดุ - การแสดงความรู้สกึ ด้วยคำพดู กิจกรรม 1. ครแู ละเดก็ ทบทวนเกี่ยวกบั เนือ้ หาในนิทานเรื่อง ระเกะระกะ 2. ให้เดก็ เลน่ อิสระทมี่ ุมต่าง ๆ ภายในหอ้ งเรยี นเชน่ มุมบา้ น มมุ ร้านคา้ มุมหมอ มุมนทิ าน ฯลฯ และ

เล่นของเล่น 3. ครูคอยดแู ลและสงั เกตพฤติกรรมการเลน่ เก่ียวกับการแสดงบทบาทสมมตุ ิในมุม และการ

แสดงความเอ้อื เฟ้อื เผอื่ แผ่ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน 4. เตอื นก่อนหมดเวลาครูคอยสงั เกตพฤตกิ รรม ทยอยเกบ็ ของเลน่ 5. เก็บวสั ดุ อปุ กรณ์ ๆ เขา้ ท่ีให้เรียบรอ้ ย

สือ่ การเรยี นการสอน - ของเลน่ ในห้อง - มมุ ต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน - นทิ านเรือ่ ง ของขวัญจากนางฟา้

ประเมินผล - การทำกิจกรรมของเดก็ - ความมรี ะเบียบวินัยของเด็ก - ความมนี ำ้ ใจร้จู ักแบ่งปัน

แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ สปั ดาหท์ ่ี 1-4 วันท่ี 3 กิจกรรมเสรี จดุ ประสงค์ 1. เดก็ ร่าเรงิ แจม่ ใสอารมณไ์ ด้ 2. เล่นเลียนแบบบทบาทสมมุตติ ามมุมได้ 3. ช่วยเหลอื และแบ่งปนั สง่ิ ของได้ 4. เกบ็ ของเล่นของใช้ได้ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรรู้ - การช่วยเหลอื แบ่งปัน - การเก็บของเล่นของใช้ ประสบการณ์สำคญั พัฒนาการด้านร่างกาย - การเคลื่อนไหวอยกู่ บั ท่ีและการเคล่ือนไหวเคลอ่ื นท่ี พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ - การชื่นชมและการสรา้ งสรรค์สิ่งสวยงาม พฒั นาการด้านสังคม - การทำงานรว่ มกับผู้อืน่ - การแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และเคารพความคดิ เหน็ ของผู้อื่น - แก้ปัญหาในการเลน่ พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา - การแสดดงความคดิ สร้างสรรคผ์ ่านสอ่ื วสั ดุ - การแสดงความรสู้ กึ ดว้ ยคำพดู กจิ กรรม 1. ทบทวนมมุ ประสบการณต์ ่างๆ และมารยาทในการเลน่ รว่ มกัน 2. ใหเ้ ด็กเลน่ อิสระทม่ี มุ ต่าง ๆ ภายในหอ้ งเรียนเชน่ มุมบ้าน มมุ ร้านค้า มมุ หมอ มมุ นทิ าน ฯลฯ และ เล่นของเลน่ 3. ครูคอยดแู ลและสงั เกตพฤติกรรมการเล่น เกี่ยวกับการแสดงบทบาทสมมุตใิ นมมุ และการ

แสดงความเอ้อื เฟือ้ เผื่อแผ่ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั 4. เตอื นก่อนหมดเวลาครูคอยสังเกตพฤตกิ รรม ทยอยเก็บของเลน่ 5. เก็บวัสดุ อุปกรณ์ ๆ เข้าทใี่ ห้เรียบร้อย

สื่อการเรียนการสอน - ของเล่นในหอ้ ง - มุมต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน

ประเมนิ ผล - การทำกิจกรรมของเดก็ - ความมีระเบียบวินัยของเด็ก - ความมีน้ำใจร้จู กั แบ่งปัน

แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ สปั ดาหท์ ่ี 1-4 วันท่ี 4 กิจกรรมเสรี จดุ ประสงค์ 1. เดก็ ร่าเรงิ แจม่ ใสอารมณไ์ ด้ 2. เล่นเลียนแบบบทบาทสมมุตติ ามมุมได้ 3. ช่วยเหลอื และแบ่งปนั สง่ิ ของได้ 4. เกบ็ ของเล่นของใช้ได้ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรรู้ - การช่วยเหลอื แบ่งปัน - การเก็บของเล่นของใช้ ประสบการณ์สำคญั พัฒนาการด้านร่างกาย - การเคลื่อนไหวอยกู่ บั ท่ีและการเคล่ือนไหวเคลอ่ื นท่ี พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ - การชื่นชมและการสรา้ งสรรค์สิ่งสวยงาม พฒั นาการด้านสงั คม - การทำงานรว่ มกับผู้อืน่ - การแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และเคารพความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ - แก้ปัญหาในการเลน่ พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา - การแสดดงความคดิ สร้างสรรคผ์ ่านสอ่ื วสั ดุ - การแสดงความรสู้ กึ ดว้ ยคำพดู กจิ กรรม 1. ทบทวนมมุ ประสบการณต์ ่างๆ และมารยาทในการเลน่ รว่ มกัน 2. ใหเ้ ด็กเลน่ อิสระทม่ี มุ ต่าง ๆ ภายในหอ้ งเรียนเชน่ มุมบ้าน มมุ ร้านค้า มมุ หมอ มมุ นทิ าน ฯลฯ และ เล่นของเลน่ 3. ครูคอยดแู ลและสงั เกตพฤติกรรมการเล่น เกี่ยวกับการแสดงบทบาทสมมุตใิ นมมุ และการ

แสดงความเอ้อื เฟือ้ เผื่อแผ่ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั 4. เตอื นก่อนหมดเวลาครูคอยสังเกตพฤตกิ รรม ทยอยเก็บของเลน่ 5. เก็บวัสดุ อุปกรณ์ ๆ เข้าทใี่ ห้เรียบร้อย

สื่อการเรียนการสอน - ของเล่นในหอ้ ง - มุมต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน

ประเมนิ ผล - การทำกิจกรรมของเดก็ - ความมีระเบียบวินัยของเด็ก - ความมีน้ำใจร้จู กั แบ่งปัน

แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ สปั ดาหท์ ่ี 1-4 วันท่ี 5 กจิ กรรมเสรี จดุ ประสงค์ 1. เดก็ รา่ เริงแจม่ ใสอารมณไ์ ด้ 2. เล่นเลียนแบบบทบาทสมมุตติ ามมุมได้ 3. ช่วยเหลอื และแบ่งปนั สง่ิ ของได้ 4. เกบ็ ของเล่นของใช้ได้ สาระการเรยี นรู้ สาระทคี่ วรรู้ - การชว่ ยเหลอื แบ่งปัน - การเกบ็ ของเล่นของใช้ ประสบการณส์ ำคญั พฒั นาการด้านร่างกาย - การเคลื่อนไหวอยกู่ บั ท่ีและการเคลื่อนไหวเคลือ่ นท่ี พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ - การชื่นชมและการสรา้ งสรรค์สิ่งสวยงาม พัฒนาการด้านสังคม - การทำงานรว่ มกับผู้อืน่ - การแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น - แกป้ ญั หาในการเลน่ พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา - การแสดดงความคดิ สร้างสรรคผ์ ่านสือ่ วัสดุ - การแสดงความรสู้ กึ ดว้ ยคำพดู กจิ กรรม 1. ทบทวนมมุ ประสบการณต์ ่างๆ และมารยาทในการเลน่ รว่ มกัน 2. ใหเ้ ด็กเลน่ อิสระทม่ี มุ ต่าง ๆ ภายในหอ้ งเรยี นเชน่ มมุ บา้ น มมุ ร้านค้า มมุ หมอ มุมนทิ าน ฯลฯ และเลน่ ของเล่น 3. ครคู อยดูแลและสงั เกตพฤติกรรมการเลน่ เกี่ยวกับการแสดงบทบาทสมมุตใิ นมมุ และการ

แสดง ความเอ้ือเฟ้อื เผื่อแผ่ช่วยเหลือแบง่ ปนั 4. เตือนก่อนหมดเวลาครูคอยสงั เกตพฤติกรรม ทยอยเก็บของเลน่ 5. เก็บวัสดุ อปุ กรณ์ ๆ เขา้ ที่ให้เรียบร้อย

สอื่ การเรียนการสอน - ของเลน่ ในห้อง - มมุ ต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน

ประเมนิ ผล - การทำกิจกรรมของเด็ก - ความมรี ะเบียบวนิ ยั ของเด็ก - ความมีน้ำใจรู้จกั แบ่งปนั

รปู ภาพกจิ กรรมงานวจิ ยั

เดก็ ๆ เล่นกบั เพื่อนอยา่ งสนกุ สนาน

พอถงึ เวลาเขา้ แถวเคารพธงชาตเิ ด็กๆ กช็ ว่ ยกนั เกบ็ ของเลน่ อยา่ งเรยี บร้อย เด็กๆ ช่วยกนั เกบ็ ไมบ้ ลอ็ กอย่างเรียบรอ้ ย และเปน็ ระเบียบทกุ วนั

ประวตั ยิ ่อผ้วู จิ ัย

ชือ่ – นามสกุล ประวัตผิ ู้ทำวิจยั วนั / เดอื น / ปเี กดิ สถานที่อยูป่ ัจจบุ ัน นางสาว นภสั นันฐ์ เรอื งกระจ่าง 21 พฤศจิกายน 2537 ประวัติการศึกษา 44/4 หมู่ 3 ตำบลยางม่วง อำเภอทา่ มะกา จังหวัดกาญจนบุรี 71120 พ.ศ. 2549 ประถมศึกษาปที ่ี6 พ.ศ. 2552 โรงเรยี นอนุบาลวัดลูกแกประชาชนูทศิ

พ.ศ. 2555 มัธยมศกึ ษาตอนต้นช้นั ปีท่ี 1 - 3 โรงเรียนอนุบาลวัดลกู แกประชาชนทู ศิ พ.ศ. 2561 มัธยมศึกษาตอนปลายชั้นปีท่ี 4 – 6 โรงเรยี นอนบุ าลวัดลูกแกประชาชนทู ศิ

ครุศาสตร์บันฑิต ( ค.บ.) สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม

พัฒนาการทั้ง 4 ด้านมีอะไรบ้าง

พัฒนาการด้านร่างกาย.

พัฒนาการด้านสติปัญญา.

พัฒนาการด้านอารมณ์.

พัฒนาการด้านสังคม.

พัฒนาการเด็ก 5 ด้านมีอะไรบ้าง

โปรแกรมตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก 5 ด้าน.

ด้านการเคลื่อนไหว (Gross Motor).

ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (Fine Motor).

ด้านการเข้าใจภาษา (Receptive Language).

ด้านการใช้ภาษา (Expressive Language).

ด้านการช่วยเหลือตนเอง และสังคม (Personal and Social).

เด็กปฐมวัยควรพัฒนาด้านใด

การศึกษาปฐมวัย เป็นการศึกษาเด็กอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง6 ปีและเรียนรู้เกี่ยวกับพัฒนาการ เด็กความต้องการของเด็ก สอนให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ฝึกพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เช่น พัฒนาการทาง ร่างกาย พัฒนาการทางด้านสังคม พัฒนาการทางด้านอารมณ์ และพัฒนาการทางด้านจิตใจ เด็กจะ เจริญเติบโตตั้งแต่อยู่ในครรภ์กระทั่งหลังคลอด ร่างกายและ ...

เด็กปฐมวัยสามารถพัฒนาได้อย่างไร

เด็กวัยอนุบาล จะมีพัฒนาการที่สำคัญ 4 ด้านคือ พัฒนาการด้านร่างกาย ส่วนแขนและขายาวออกไป ศีรษะได้ขนาดกับลำตัว โครงกระดูกแข็งแรงขึ้น ฟันแท้จะเริ่มขึ้น 1-2 ปี เริ่มมีทักษะการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น แต่งตัวได้ ใส่รองเท้าและอาบน้ำได้