Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Background: The concept of Social Capital (SC), originally described by Durkheim (1893), is composed of dimensions related to cohesion and trust between members of a social group, and considered by the Word Health Organization (WHO) as part of the social determinants of public health for the decrease of inequities and inequalities in health provision.

Objective: To contribute to the dissemination of the concept of SC related to the social determinants of Public Health, in order to offer the reader in-depth content to observe the potential applications and practices in this field.

Methodology: Literature search (Google Academics™, PubMed, Science direct™, Ebsco Host™).

Results: A total of 294 full-text publications were obtained, and those selected were the most influential sources on the evolution and application of the concept of Social Capital, socioeconomic development and health in the last decade.

Conclusion: Although the current evidence shows that Social Capital is a determinant related to health, standards are still needed for its measurement. This could allow the concept to be measured, and facilitate its integration into the form of actions that exert positive influence and contribute to the implementation of institutional interventions planned for development and public health.

Keywords: Capital social; Determinantes sociales de la salud; Medical sociology; Public health; Salud pública; Social capital; Social determinants of health; Sociología médica.

Copyright © 2017 SECA. Publicado por Elsevier España, S.L.U. All rights reserved.

PubMed Disclaimer

Similar articles

  • [Monitoring social determinants of health]. Espelt A, Continente X, Domingo-Salvany A, Domínguez-Berjón MF, Fernández-Villa T, Monge S, Ruiz-Cantero MT, Perez G, Borrell C; Grupo de Determinantes Sociales de la Salud de la Sociedad Española de Epidemiologia. Espelt A, et al. Gac Sanit. 2016 Nov;30 Suppl 1:38-44. doi: 10.1016/j.gaceta.2016.05.011. Gac Sanit. 2016. PMID: 27837795 Spanish.
  • [Contextual indicators to assess social determinants of health and the Spanish economic recession]. Cabrera-León A, Daponte Codina A, Mateo I, Arroyo-Borrell E, Bartoll X, Bravo MJ, Domínguez-Berjón MF, Renart G, Álvarez-Dardet C, Marí-Dell'Olmo M, Bolívar Muñoz J, Saez M, Escribà-Agüir V, Palència L, López MJ, Saurina C, Puig V, Martín U, Gotsens M, Borrell C, Serra Saurina L, Sordo L, Bacigalupe A, Rodríguez-Sanz M, Pérez G, Espelt A, Ruiz M, Bernal M. Cabrera-León A, et al. Gac Sanit. 2017 May-Jun;31(3):194-203. doi: 10.1016/j.gaceta.2016.06.014. Epub 2016 Aug 21. Gac Sanit. 2017. PMID: 27554291 Spanish.
  • Twenty years of social capital and health research: a glossary. Moore S, Kawachi I. Moore S, et al. J Epidemiol Community Health. 2017 May;71(5):513-517. doi: 10.1136/jech-2016-208313. Epub 2017 Jan 13. J Epidemiol Community Health. 2017. PMID: 28087811
  • Social capital: Implications for neurology. Reyes S, Giovannoni G, Thomson A. Reyes S, et al. Brain Behav. 2019 Jan;9(1):e01169. doi: 10.1002/brb3.1169. Epub 2018 Dec 8. Brain Behav. 2019. PMID: 30536750 Free PMC article. Review.
  • Social capital, disorganized communities, and the third way: understanding the retreat from structural inequalities in epidemiology and public health. Muntaner C, Lynch J, Smith GD. Muntaner C, et al. Int J Health Serv. 2001;31(2):213-37. doi: 10.2190/NVW3-4HH0-74PX-AC38. Int J Health Serv. 2001. PMID: 11407169 Review.

Cited by

Quality of life of transgender people under the lens of social determinants of health: a scoping review protocol.

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

More from Chuchai Sornchumni

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด
Social capital ม อ ทธ พลต อ determinants ประเภทใด

More from Chuchai Sornchumni(20)

Social Determinant of Health

  • 1.
  • 2. Organization 2008 All rights reserved. Publications of the World Health Organization can be obtained from WHO Press, World Health Organization, 20 Avenue Appia, 1211 Geneva 27, Switzerland (tel: +41 22 791 3264; fax: +41 22 791 4857; e-mail: [email protected]). Requests for permission to reproduce or translate WHO publications – whether for sale or for noncommercial distribution – should be addressed to WHO Press at the above address (fax: +41 22 791 4806; e-mail: [email protected]). Disclaimer This publication contains the collective views of the Commission on Social Determinants of Health and does not necessarily represent the decisions or the stated policy of the World Health Organization. The designations employed and the presentation of the material in this publication do not imply the expression of any opinion whatsoever on the part of the World Health Organization concerning the legal status of any country, territory, city, or area or of its authorities, or concerning the delimitation of its frontiers or boundaries. Dotted lines on maps represent approximate border lines for which there may not yet be full agreement. The mention of specific companies or of certain manufacturers’ products does not imply that they are endorsed or recommended by the World Health Organization in preference to others of a similar nature that are not mentioned. Errors and omissions excepted, the names of proprietary products are distinguished by initial capital letters. All reasonable precautions have been taken by the World Health Organization to verify the information contained in this publication. However, the published material is being distributed without warranty of any kind, either expressed or implied. The responsibility for the interpretation and use of the material lies with the reader. In no event shall the World Health Organization be liable for damages arising from its use. WHO/IER/CSDH/08.1 Photos WHO/Marko Kokic; Rotary Images/Alyce Henson; WHO/Christopher Black; WHO/Chris De Bode; WHO/Jonathan Perugia; WHO/EURO Specific photo-credits can be obtained from WHO. ºÃÃÅؤÇÒÁ໚¹¸ÃÃÁ·Ò§ÊØ¢ÀÒ¾´ŒÇ»˜¨¨ÑÂÊѧ¤Á·Õè¡Ó˹´ÊØ¢ÀÒ¾ พิมพโดยองคการอนามัยโลก คศ. ๒๐๐๘ ภายใตชื่อ Closing the gap in a generation Health equity through action on the social determinants of health Executive Summary of Final Report of the Commission on Social Determinants of Health ผูอำนวยการองคการอนามัยโลกไดมอบลิขสิทธิ์ในการแปลเปนภาษาไทยใหแก สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ ซึ่งเปนผูรับผิดชอบในการจัดทำเอกสารแปลภาษาไทย แปลและเรียบเรียงโดย สุพจน เดนดวง คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล บรรณาธิการ ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ISBN 978-616-11-0185-5 พิมพครั้งที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๒ พิมพที่ บริษัท คุณาไทย จำกัด (วนิดาการพิมพ) โทร. ๐๘๑ ๗๘๓๘๕๖๙
  • 4. ที่มีผลกระทบตอสุขภาวะของบุคคล ครอบครัว ชุมชน ถมชองวาง หมายถึง การทำใหชองวางลดลง ดวยกลไก กระบวนการตางๆ ชองวางทางสุขภาพ หมายถึง ความแตกตางของระดับสุขภาวะที่พบระหวางกลุมบุคคลตางๆ ชวงชีวิตเรา หมายถึง ชวงเวลาที่เปลี่ยนรุนประชากร เปนคนรุนใหมอีกรุนหนึ่ง ใชเวลาประมาณ ๒๐-๓๐ ป ¤Ó͸ԺÒ¨ҡºÃóҸԡÒÃ
  • 5. เปนเรื่องความเปน ความตายของมนุษย ความเปนธรรมทางสังคมมีผลตอวิถีการดำรง ชีวิต ตอโอกาสการเจ็บปวยและโอกาสเสียชีวิตทั้งๆ ที่ยังไมสมควร เสียชีวิต นาประหลาดใจที่พบวา ประชากรในบางประเทศหรือบาง สังคมมีสุขภาพดีและอายุยืนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในขณะที่ประชากร อีกกลุมประเทศหรือกลุมสังคมมีสถานะสุขภาพและความยืนยาว ของชีวิตเพิ่มขึ้นนอยมากจนนาตกใจหรือไมเพิ่มเลย เรายอมรับได หรือไมวา ทารกหญิงคนหนึ่งที่เกิดวันนี้ในประเทศหนึ่งหรือสังคม หนึ่งจะมีอายุยืนยาวถึง ๘๐ ป หากเธอเกิดในอีกประเทศหรือ อีกสังคมหนึ่ง เธอจะมีอายุนอยกวา ๔๕ ป ความยืนยาวของชีวิต และสถานะสุขภาพที่แตกตางกันนี้เกี่ยวของกับความดอยโอกาส ทางสังคมซึ่งมีอยูในทุกสังคม ดังนั้นความแตกตางทางสุขภาพและ ความยืนยาวของชีวิตจึงเกิดขึ้นทั้งระหวางประเทศและภายในประเทศ ความแตกตางทั้งสองนี้ไมควรเกิดขึ้นเลยไมวาจะเปนที่ได ความแตกตางในระดับของสุขภาพและความยืนยาวของชีวิตดังกลาวนี้ เปนประเด็นของความไมเปนธรรมทางสุขภาพ (Health inequity) ซึ่งไมควรเกิดขึ้น และสามารถหลีกเลี่ยงไมใหเกิดขึ้นหรือดำรงอยูได ความไมเปนธรรมทางสุขภาพเหลานี้เกิดขึ้นและแทรกตัวอยูทั่วไป ในสิ่งแวดลอมที่เราเกิด เติบโต อยูอาศัยและใชชีวิตตั้งแตเกิด จนแกเฒา รวมทั้งอยูในระบบสุขภาพที่สรางขึ้นมาเพื่อดูแลรับผิดชอบ ความเจ็บปวยที่เกิดขึ้น สิ่งแวดลอมและระบบที่ไมเปนธรรมนี้ มีระบบการเมือง สังคมและเศรษฐกิจที่ไมเปนธรรมกำหนดอีก ชั้นหนึ่ง ระบบการเมือง สังคม และเศรษฐกิจเปนปจจัยกำหนดใหเด็กคนหนึ่ง จะสามารถเติบโต พัฒนาศักยภาพไดเต็มที่ และมีชีวิตที่สมบูรณ หรือไม หรือกำหนดวา ชีวิตนั้นจะมืดมน สิ้นหวัง ประเทศร่ำรวย และประเทศยากจนมีลักษณะหนึ่งที่เหมือนกันมากขึ้นเรื่อยๆ คือ มีความไมเปนธรรมทางสุขภาพภายในประเทศที่มากขึ้น การดูวา สังคมพัฒนาหรือไม ดูไดจากคุณภาพของสุขภาวะของประชากร ดูวาสุขภาวะดังกลาวกระจายตัวอยางเปนธรรมตามกลุมสังคม หรือไม และดูที่ระดับของการปกปองคุมครองสุขภาพที่สังคมจัดให กับกลุมคนที่เสียเปรียบ ที่เจ็บปวยวาเปนธรรมหรือไม ดวยการยึดหลักของความเปนธรรมทางสังคม องคการอนามัยโลก ไดแตงตั้งคณะกรรมาธิการปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพขึ้นในป พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อดำเนินการศึกษา หาหลักฐานและแนวทางวา ทำอยางไรจึงจะสามารถสงเสริมความเปนธรรมทางสุขภาพและ ขับเคลื่อนขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมระดับโลกเพื่อบรรลุเปาหมาย ความเปนธรรมทางสุขภาพ ระหวางการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการปจจัยสังคมที่กำหนด สุขภาพ มีหลายประเทศและหลายองคกรไดเขามาเปนหุนสวน มีสวนรวมในการวางกรอบนโยบาย ไดนำเสนอหลักฐานตัวอยาง ความสำเร็จของการพัฒนาความเปนธรรมทางสุขภาพ ประเทศ และองคกรเหลานี้ลวนเปนประเทศและองคกรที่มีบทบาทเปนผูนำ การเคลื่อนไหวสุขภาพระดับโลก คณะกรรมาธิการปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพเรียกรองใหองคการ อนามัยโลกและรัฐบาลทุกประเทศเปนผูนำในการเคลื่อนไหว ดำเนินการที่เกี่ยวกับปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพในระดับโลก เพื่อบรรลุเปาหมายความเปนธรรมทางสุขภาพ รัฐบาล ประชาสังคม องคการอนามัยโลก และองคการระดับโลกจะตองรวมมือกันอยาง เรงดวนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกคนบนโลกนี้ การบรรลุเปาหมาย ความเปนธรรมทางสุขภาพในชวงชีวิตเราเปนสิ่ง ที่เปนไปได และเปนสิ่งที่ตองทำและตองทำทันที
  • 6. · Ê ÃØ » ¼ÙŒ º ÃÔ Ë Ò Ã ¤ÇÒÁ໚¹¸ÃÃÁ·Ò§ÊØ¢ÀÒ¾: ÇÒÃÐãËÁ‹ÃдѺâÅ¡ เด็กทั่วโลกมีโอกาสชีวิตที่แตกตางกันสูงมาก ขึ้นกับวาเกิดที่ไหน ถาเกิดในญี่ปุนหรือสวีเดน ทารกแรกเกิดมีโอกาสที่จะมีชีวิตยืนยาวมากกวา ๘๐ ป ถาเกิดในบราซิลหรืออินเดีย จะมีอายุ ยืนยาวประมาณ ๗๒ ปและ ๖๓ ปตามลำดับ และถาเปลี่ยนเปนเกิดในอัฟริกาหลายๆ ประเทศ ทารกคนนั้นจะมีอายุยืนยาวนอยกวา ๕๐ ป ในทำนองเดียวกัน ภายในแตละประเทศก็มีความ แตกตางดานนี้สูง เด็กที่เกิดในครอบครัวที่ยากจนที่สุดจะมีระดับของความเจ็บปวยสูง และมี การเสียชีวิตที่ยังไมควรเสียชีวิตสูง แตภาวะสุขภาพที่ต่ำหรือไมดีนั้นไมไดจำกัดอยูเฉพาะใน กลุมประเทศที่ยากจนหรือแยที่สุดเทานั้น ทุกประเทศไมวารวยหรือจน สุขภาวะและความ เจ็บปวยผันแปรไปตามลำดับชั้นทางสังคม ผูที่อยูในสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมชั้นลาง จะมีแนวโนมที่จะมีสุขภาพที่ต่ำหรือไมดีดวย สถานะสุขภาพไมควรขึ้นอยูกับสถานภาพทางสังคม เพราะเปนเรื่องไมเปนธรรมหรือไมถูกตอง อยางยิ่งที่ปลอยใหสุขภาพผันแปรไปตามสถานภาพทางสังคม กลาวอยางงายๆ ก็คือ หากปลอย ใหความแตกตางทางสุขภาพเกิดขึ้นอยางเปนระบบและเห็นชัดขึ้น ทั้งๆ ที่ความแตกตางนี้เปน สิ่งที่หลีกเลี่ยง หรือจัดการปองกันไมใหเกิดขึ้นได ภาวะนี้เรียกวา ความไมเปนธรรมทางสุขภาพ (Health inequity) การแกไขความไมเปนธรรมทางสุขภาพนี้ เปนเรื่องของความเปนธรรมทาง สังคม (Social justice) ในสายตาของคณะกรรมาธิการปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพ การลด หรือขจัดความไมเปนธรรมทางสุขภาพนี้เปนหนาที่และเปนประเด็นจริยธรรมที่ทุกคนจะตอง ชวยกันใสใจแกไขเพราะวา ความไมเปนธรรมทางสังคมนั้นกำลังฆาประชาชนจำนวนมหาศาล
  • 7. คณะกรรมาธิการฯ) ไดรับการแตงตั้งใหดำเนินการศึกษาหาขอมูล เพื่อสรางความเปนธรรมทางสุขภาพและสรางการขับเคลื่อนทาง สังคมระดับโลกเพื่อบรรลุเปาหมายความเปนธรรมทางสุขภาพ การทำงานของคณะกรรมาธิการฯ เปนความรวมมือในระดับโลก ของผูกำหนดนโยบาย นักวิจัยและประชาสังคม เปนการผสมผสาน ของนักการเมือง นักวิชาการและผูที่มีประสบการณในการขับเคลื่อน สังคมและเปนการรวมเอาประสบการณของประเทศในทุกระดับ รายไดและการพัฒนาไมวาประเทศพัฒนาหรือกำลังพัฒนา ความไม เปนธรรมทางสังคมนี้เปนประเด็นของทุกประเทศและเปนเรื่อง ที่มีผลมาจากระบบเศรษฐกิจและการเมืองโลก คณะกรรมาธิการฯ มีมุมมองที่เปนองครวมในเรื่องปจจัยสังคม ที่กำหนดสุขภาพ สุขภาวะที่แยของคนที่ยากจน ความไมเปนธรรม ทางสุขภาพระหวางลำดับชั้นทางสังคมภายในประเทศ และความ ไมเปนธรรมทางสุขภาพที่สูงระหวางประเทศลวนมีสาเหตุมาจาก การกระจายอำนาจ รายได สินคาและบริการที่ไมเปนธรรมทั้งระหวาง ประเทศและในประเทศ ผลกระทบของการกระจายปจจัยสังคมที่ กำหนดสุขภาพที่ไมเปนธรรมที่มีตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน ที่สามารถเห็นไดทันทีก็คือ การเขาไมถึงบริการสุขภาพ โรงเรียน การศึกษา งานอาชีพ นันทนาการ บาน ชุมชน เมือง ตลอดจนโอกาส ที่จะมีชีวิตที่สุขสมบูรณ ความไมเปนธรรมทางสุขภาพที่ทำลาย สุขภาพนี้ไมใชเรื่องธรรมชาติหรือปกติธรรมดา แตเปนผลรวมของ นโยบายทางสังคมและโครงการตางๆ การจัดการทางเศรษฐกิจที่ไม ยุติธรรม และการเมืองที่ไมโปรงใส รวมถึงความไมรับผิดชอบตอ ประชาชน เงื่อนไขเชิงโครงสรางและเงื่อนไขของการดำรงชีวิตประจำวัน ผนวกรวมกันเปนปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพและทำใหเกิดความ ไมเปนธรรมทางสุขภาพทั้งระหวางประเทศและภายในประเทศ ปญหาความไมเปนธรรมเหลานี้ สามารถแกไขไดดวยการรีบลงมือ กระทำอยางเรงดวนและตอเนื่องไมหยุดยั้งในทุกระดับ ทั้งระดับโลก ระดับประเทศและระดับทองถิ่น การกระจายตัวของอำนาจและระบบ เศรษฐกิจในระดับโลกที่ไมเปนธรรมที่สูงและกินลึกมากเปนหัวใจ สำคัญของความไมเปนธรรมทางสุขภาพ การแกไขปญหาจึงตอง กระทำทุกระดับเทาที่รัฐบาลและการปกครองในระดับที่รองลงมา สามารถทำได คณะกรรมาธิการฯ ประทับใจในพลังของกลุม ประชาสังคมและองคกรทองถิ่นที่ใหการชวยเหลือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้นเฉพาะหนาและพยายามผลักดันรัฐบาลทั้งหลายใหมีการ เปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง การเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศหรือภาวะโลกรอนมีนัยที่สำคัญ สำหรับระบบโลกอยางมาก การนำเรื่องความไมเปนธรรมทางสุขภาพ และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกเขามาพิจารณาดวย ทำใหตัดสินใจ ไดวา การแกไขความไมเปนธรรมทางสุขภาพ เปนสวนหนึ่งของปญหา ของชุมชนโลก โดยตองสรางสมดุลระหวางความตองการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ความเปนธรรมทางสุขภาพและความเรงดวน ในการจัดการกับปญหาของการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ แนวทางใหมในการพัฒนา แนวทางใหมในการพัฒนาของคณะกรรมาธิการฯ ก็คือ สุขภาวะ และความเปนธรรมทางสุขภาพอาจไมใชเปนเปาหมายหลักของ นโยบายทางสังคมทั้งหลาย แตจะตองเปนหนึ่งในผลพวงของนโยบาย สังคมหรือการพัฒนาทั้งหลาย นโยบายหลักอาจใหความสำคัญกับ การเติบโตทางเศรษฐกิจ เนื่องจากการเติบโตทางเศรษฐกิจนั้น สำคัญมากโดยเฉพาะประเทศที่ยากจน เพราะวา การเติบโตทาง เศรษฐกิจทำใหประเทศมีทรัพยากรไปพัฒนาชีวิตของประชาชน ใหดียิ่งขึ้น แตการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางเดียวโดยไมมีนโยบาย ทำใหผลประโยชนกระจายตัวอยางเปนธรรมนั้น มีผลกระทบทางลบ ตอสุขภาวะและความเปนธรรมทางสุขภาพ เทาที่ผานมา สังคมมอบหมายใหสถาบันสุขภาพรับผิดชอบเรื่อง สุขภาพและการเจ็บปวยของประชาชน แนนอนวา การกระจายตัว ที่ไมเปนธรรมของบริการสุขภาพหรือการที่ไมใหบริการรักษาพยาบาล กับผูที่ตองการบริการนั้นก็จัดวาเปนปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพดวย การเจ็บปวยหรือภาระของโรคที่สูงที่มีผลตอการตายในวัยที่ไม สมควรนั้น สวนใหญแลวเปนผลมาจากเงื่อนไขทางสังคมและ สิ่งแวดลอมที่ประชาชนเกิด เติบโต อาศัย ดำรงชีพ ทำงาน แกเฒา และตายนั้นนั่นเอง เงื่อนไขทางสังคมและสิ่งแวดลอมที่เลวราย ที่ทำใหเกิดการปวยและตายเร็วนั้นเปนผลพวงของนโยบายและ โครงการทางสังคม การจัดการทางเศรษฐกิจที่ไมเปนธรรมและการเมือง ที่สกปรก ดังนั้นการแกไขปญหาจึงตองนำทุกสถาบันหรือภาคสวน ของสังคมเขามาชวยกันแกไข ไมใชเฉพาะสถาบันสุขภาพเทานั้น กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวของเปนองคกรสำคัญ ของการเปลี่ยนแปลงในระดับโลก และสามารถทำใหปจจัยสังคมที่ กำหนดสุขภาพเปนตัวหลักหรือสูระดับที่สูงสุดของนโยบายสังคม กระทรวงสาธารณสุขสามารถสนับสนุนกระทรวงอื่นๆ ในการสราง นโยบายทางสังคมที่สงเสริมความเปนธรรมทางสุขภาพ องคการ อนามัยโลกในฐานะที่เปนองคการสุขภาพในระดับโลกก็ตองทำ เชนเดียวกันในระดับโลก การถมชองวางทางสุขภาพในชวงชีวิตเรา คณะกรรมาธิการฯ เรียกรองใหชวยกันถมชองวางหรือสรางความ เปนธรรมทางสุขภาพนี้ใหไดภายในชวงชีวิตเรา เปาหมายนี้เปนสิ่งที่ ทุกคนปรารถนา เปนสิ่งที่เปนไปได ไมใชความเห็นที่เลื่อนลอย คณะกรรมาธิการฯ ไมไดมองโลกเกินความเปนจริง เพราะการพัฒนา สุขภาพเกิดขึ้นมากมายในชวงสามสิบปที่ผานมาในทุกระดับทั้งใน ระดับโลกและในประเทศ เรามีองคความรูที่จะพัฒนาสุขภาพใหดี ขึ้นได เรามีความรูที่จะลดความไมเปนธรรมทางสุขภาพได เพียงแต เรายังไมไดลงมือทำ ดังนั้นเราจึงตองลงมือกระทำเดี๋ยวนี้ คำตอบวา จะกระทำอะไรและอยางไร ตลอดจนเครื่องมือหรือองคความรู ที่จะใชในการแกไขปญหาความไมเปนธรรมทางสุขภาพระหวางและ ภายในประเทศไดเตรียมใหไวในรายงานของคณะกรรมาธิการฯ ฉบับนี้แลว
  • 8. · Ê ÃØ » ¼ÙŒ º ÃÔ Ë Ò Ã ¢ŒÍàʹÍá¹Ðâ´ÂÃÇÁ ¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁÒ¸Ô¡ÒÃÏ ñ. »ÃѺ»ÃاÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ㹪ÕÇÔμ»ÃШÓÇѹ ปรับปรุงชีวิตความเปนอยูของเด็กผูหญิงและผูหญิงและสิ่งแวดลอมที่เด็กเกิดและเติบโตใหดีขึ้น การปรับปรุงตองเนนหนักที่การ พัฒนาเด็กในปฐมวัยและการศึกษาของทั้งเด็กหญิงและเด็กชาย การปรับปรุงสภาพแวดลอมของการอยูอาศัยและสภาพแวดลอม ของการทำงาน การสรางนโยบายการคุมครองปองกันทางสังคมใหกับคนทุกกลุม และการสรางสภาพแวดลอมใหผูสูงอายุมีชีวิต อยางมีความสุข นโยบายในการพัฒนาเงื่อนไขของการดำรงชีวิตที่สมบูรณนี้ตองมีประชาสังคม รัฐบาลและสถาบันระดับโลกเขามารวมคิดและ ดำเนินการดวย ò. ᡌ䢡ÒáÃШÒÂÍÓ¹Ò¨ à§Ô¹áÅзÃѾÂҡ÷ÕèäÁ‹à»š¹¸ÃÃÁ ในการพัฒนาสุขภาพและความไมเปนธรรมของเงื่อนไขของการดำเนินชีวิตที่กลาวไวในขอหนึ่งนั้นจำเปนที่จะตองแกไขความไม เปนธรรมทางสังคมเชิงโครงสรางที่สังคมสรางขึ้นมาดวย โครงสรางนี้มีสวนกำหนดการกระจายอำนาจ เงินและทรัพยากรที่ไมเปน ธรรม เชน ความไมเปนธรรมเชิงโครงสรางระหวางหญิงและชาย การแกไขปญหาความไมเปนธรรมเชิงโครงสรางนี้ตองการภาครัฐที่เขมแข็งกลาวคือ มีความรับผิดชอบสูง มีศักยภาพในการทำงาน และมีงบประมาณในการดำเนินการอยางเพียงพอ นอกจากรัฐที่เขมแข็งแลว ยังตองการการปกครองหรือการบริหารบานเมืองที่ดี คือ สรางความชอบธรรม สรางพื้นที่ใหกับเรื่องนี้ ใหการสนับสนุนประชาสังคม ใหการสนับสนุนภาคเอกชนที่มีรับผิดชอบและ ใหการสนับสนุนประชาชนทุกภาคสวน ทั้งนี้เพื่อทำใหเกิดความเห็นพองในประโยชนสวนรวมรวมกันและเกิดการลงทุนใหมหรือ ความพยายามใหมขึ้นอีกครั้งในการทำงานรวมกัน สวนในระดับโลกเราก็ตองการความรวมมือเชนกัน เราตองการการกำกับดูแล ที่ดีและทุมเทใหกับความเปนธรรมจากระดับชุมชนถึงระดับสถาบันโลก ó. ÇÑ´ ࢌÒ㨻˜ÞËÒ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡Ãзº¢Í§ÀÒáԨ การยอมรับวามีปญหาสุขภาวะและการตองมีตัวชี้วัดความไมเปนธรรมทางสุขภาวะ (ทั้งระหวางประเทศและภายในประเทศ) เปนพื้นฐานสำคัญของการแกไขปญหา รัฐบาลและองคกรระหวางประเทศโดยการสนับสนุนขององคการอนามัยโลกควรที่จะจัดตั้งระบบการเฝาระวังความไมเปนธรรมทาง สุขภาพเพื่อใชเปนเครื่องติดตามความไมเปนธรรมทางสุขภาพและปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพและผลกระทบของนโยบายที่เกี่ยวกับ การกำจัดความไมเปนธรรมทางสุขภาพทั้งหลาย สรางพื้นที่ในการทำงานและศักยภาพเชิงองคกรเพื่อที่จะใชในดำเนินงานกับ ปญหาความไมเปนธรรมทางสุขภาพ ในการนี้ตองลงทุนอบรมผูนำ ผูกำหนดนโยบาย บุคลากรทางดานสาธารณสุข ตลอดจน สาธารณชนในเรื่องปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพ และรวมทั้งการวิจัยที่เนนหนักในเรื่องปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพ เรื่องปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพและสรางการตระหนักรูของ สาธารณะเกี่ยวกับปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพ หลักในการดำเนินงานสามประการเปนไปตามขอเสนอแนะของ คณะกรรมาธิการฯ ซึ่งบทสรุปผูบริหารและรายงานฉบับสมบูรณ ของคณะกรรมาธิการฯ ขยายความรายละเอียดของหลักการ ทั้งสามนี้ ËÅѡ㹡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ ó »ÃСÒä×Í ๑ ปรับปรุงสภาพแวดลอมในชีวิตประจำวัน ที่คนเกิด เติบโต อาศัย ทำงานและใชชีวิตตั้งแตเกิดจนถึงสูงอายุใหดีขึ้น ๒ จัดการกับปญหาความไมเปนธรรมในการกระจายอำนาจ เงิน และทรัพยากรซึ่งเปนตัวขับเคลื่อนเงื่อนไขของการดำรงชีวิต ทั้งในระดับโลก ระดับประเทศและระดับทองถิ่น ๓ วัด เขาใจปญหา และประเมินผลกระทบของภารกิจแกไขปญหา ขยายฐานความรู พัฒนากำลังคนที่ไดรับการอบรม
  • 9. การทำงานและสภาพแวดลอมของการทำงาน รวมถึง สภาพสิ่งแวดลอมทางกายภาพทั่วไปรอบๆ ตัวที่เราอาศัยอยู สุขภาพขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม เหลานี้ สภาพแวดลอมที่แตกตางกันทำใหคนหรือกลุมคนที่อาศัยอยูในสภาพแวดลอมนั้น มีวัตถุปจจัยที่ใชในการดำรงชีวิต การสนับสนุนทางดานจิตใจ และทางเลือกในการประพฤติ ปฏิบัติที่แตกตางกันไป ทั้งหมดนี้สงผลทำใหคนหรือกลุมคนบางคนบางกลุมมีสุขภาพที่ย่ำแย กวาคนอื่นหรือกลุมอื่น การจัดระเบียบทางสังคมหรือการแบงชวงชั้นทางสังคมนี้เปนตัวกำหนด การเขาถึงบริการและการใชบริการสุขภาพซึ่งมีผลตอไปถึงการดูแลสงเสริมสุขภาพใหดี การปองกันโรค การเจ็บปวย การหายจากการเจ็บปวยและการมีชีวิตที่ยืนยาวหรือไม
  • 10. · Ê ÃØ » ¼ÙŒ º ÃÔ Ë Ò Ã ÀÒáԨ·ÕèμŒÍ§·Ó การมีแนวคิดและมาตรการที่รอบดานหรือครบถวนสำหรับผูที่ เยาววัย ในรูปของชุดนโยบายสำหรับการพัฒนาเด็กในวัย เริ่มตนทั้งโครงการดานการศึกษาและบริการสำหรับเด็กทุกคน ในโลกนี้ นโยบายของเราตองเปนนโยบายที่รัดกุมเปนหนึ่งเดียว มีความมุงมั่นรับผิดชอบ และการเปนผูนำทั้งในระดับนานาชาติ และระดับชาติ การมุงมั่นรับผิดชอบและปฏิบัติอยางครบถวนสมบูรณ สำหรับเด็กในวัยเริ่มตน โดยเริ่มตนจากการสรางพื้นฐาน โครงการสำหรับเด็กทารก และขยายหรือเพิ่มเติมโครงการ ที่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กในเรื่องอารมณ สังคม ภาษา และปญญาเขาไปดวย • การดำเนินการพัฒนาเด็กอยางสมบูรณจะตองทำในทุก หนวยงานที่เกี่ยวของกับเด็กและมีกลไกกลางที่ประสานงาน และโครงการของทุกหนวยงานเพื่อใหการดำเนินงานประสาน สอดคลองกัน • จะตองมีการบริการครอบคลุมทุกคน และไมยอมใหเด็ก แม และผูที่รับผิดชอบดูแลเด็กคนใดหลุดหายไปจากการไดรับ บริการที่สมบูรณครบถวนและมีคุณภาพนี้ และพวกเขา ไมตองรับผิดชอบคาใชจายใดๆ ในการรับบริการ การขยายขอบเขตของการจัดบริการการศึกษาและขยาย เนื้อหาของการศึกษาใหอยูบนหลักการของการพัฒนาเด็ก ในวัยเริ่มตน (ครอบคลุมถึงเรื่องการพัฒนาทางรางกาย สังคม อารมณ ภาษา และการรับรูหรือสติปญญา) • การสรางระบบประถมศึกษาและมัธยมศึกษาภาคบังคับที่มี คุณภาพสำหรับเด็กทั้งชายและหญิง ไมวาเขาจะมีเงินจาย หรือไมก็ตาม สอบสวนหาปญหาอุปสรรคที่ทำใหเด็กทั้งชาย และหญิงไมสามารถเขาเรียนและเรียนอยางตอเนื่องได ขจัด คาใชจายตางๆ ของการเรียนในระดับประถมศึกษาออกไป การพัฒนาเด็กในชวงปฐมวัยเปนการพัฒนาเด็กที่รวมเอาเรื่องการ พัฒนาทางรางกาย สังคม อารมณ ภาษาและปญญาเขาไปดวย การพัฒนาเด็กปฐมวัยเชนนี้สงผลดีอยางมากตอสุขภาพและ การสรางโอกาสของชีวิตดีๆ ของเขาเมื่อเขาเติบโตตอไป เพราะวา การพัฒนาเด็กปฐมวัยจะชวยใหเขามีการพัฒนาทักษะตางๆ ที่ดี มีความรูที่ดีและมีโอกาสสูงในการทำงานที่ดี กลไกทั้งหลาย เหลานี้มีบทบาทในการกำหนดปจจัยเสี่ยงของโรคอวน การขาดสาร อาหาร ปญหาสุขภาพจิต โรคหัวใจและการประกอบอาชญากรรม เด็กอยางนอย 200 ลานคนในโลกนี้ไมไดรับการพัฒนาศักยภาพ ของเขาอยางเต็มที่ ทำใหมีผลเสียตอสุขภาพของเขาและของสังคม โดยรวมอยางมาก หลักฐานสนับสนุนขอเสนอแนะ การลงทุนพัฒนาเด็กในชวงปฐมวัยเปนรูปแบบหนึ่งที่ดีในหลาย รูปแบบของการลดความไมเปนธรรมทางสุขภาพ การลงทุนพัฒนา เด็กในปฐมวัยนี้สามารถลดความไมเปนธรรมไดในชวงเวลาอันสั้น คือ ภายในระยะเวลาแคหนึ่งชวงชีวิตของคน ประสบการณในชวงวัย เด็กตั้งแตชวงของการเปนทารกในครรภจนถึงอายุแปดป และการ ศึกษาทั้งปฐมวัยและการศึกษาที่สูงขึ้นเปนพื้นฐานสำคัญของชีวิต ที่ตามมาทั้งหมด การศึกษาวิจัยเรื่องการลงทุนกับเด็กในชวงปฐมวัยแสดงใหเห็นวา การพัฒนาของสมองนั้นขึ้นอยูกับการกระตุนจากสิ่งแวดลอมภายนอก อยางมาก ภาวะโภชนาการที่ดีเปนเงื่อนไขสำคัญของเรื่องนี้ และ จะตองเริ่มตนดูแลตั้งแตการตั้งครรภที่มารดาตองไดรับอาหารที่ พอเพียง แมและเด็กทารกในครรภตองการการดูแลอยางตอเนื่อง ตลอดจนเติบใหญ เด็กตองการสิ่งแวดลอมของการอยูอาศัยหรือ เติบโตที่ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ ไดรับการสนับสนุน เลี้ยงดู ดูแล เอาใจใสและตอบสนองกับความตองการของเด็ก โรงเรียนและการ ศึกษาสำหรับเด็กเล็กในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของสิ่งแวดลอมที่มีผล ตอพัฒนาการของเด็กมีบทบาทอยางมากในการสรางความสามารถ หรือศักยภาพใหกับเด็ก เราตองการแนวทางในการดูแลเด็กปฐมวัย ที่สรางจากโครงการแมและเด็กและขยายมาตรการออกไป ใหครอบคลุมถึงพัฒนาการทางดานอารมณ สังคม ภาษาและการรับรู àÃÔèÁμŒ¹à·‹Òà·ÕÂÁ¡Ñ¹
  • 11. Mental Development Scales ที่ปรับใชกับจาไมกา ตีพิมพโดยไดรับการอนุญาตจากผูพิมพและจาก Grantham-McGregor et al. (1991) ผลของการกระตุนเด็กที่มีความสูงนอยกวามาตรฐานดวยอาหารเสริมและการสนับสนุนทางสังคมและอารมณ ในระยะเวลาสองปในประเทศจาไมกาa จุดเริ่มตน 6 เดือน 12 เดือน 16 เดือน 24 เดือน เด็กปกติ ไดรับอาหารเสริม และการกระตุน ไดรับการกระตุน ไดรับอาหารเสริม กลุมควบคุม
  • 12. · Ê ÃØ » ¼ÙŒ º ÃÔ Ë Ò Ã ÀÒáԨ·ÕèμŒÍ§·Ó การทำใหชุมชนและเพื่อนบานที่อยูในชุมชนสามารถเขาถึง บริการสุขภาพพื้นฐาน มีความผูกผันกันทางสังคม สงเสริมใหมี ความเปนอยูทางรางกายและจิตใจที่สมบูรณ และสามารถ ปองกันตัวเองจากอันตรายจากสภาพแวดลอมไดถือวาเปน หัวใจของความเปนธรรมทางสุขภาพ จงทำใหเรื่องของสุขภาพและความเปนธรรมทางสุขภาพ เปนหัวใจของการบริหารจัดการและการวางแผนของชุมชน • การบริหารจัดการพัฒนาชุมชนเมืองเพื่อใหมีบานที่ราคา ไมแพง ปรับปรุงชุมชนแออัดใหมีน้ำสะอาด สุขาภิบาล ไฟฟาและทางเทาสำหรับทุกบานเปนอันดับแรกโดยไมตอง คำนึงวาชาวบานจะจายเงินไดหรือไม • การวางแผนชุมชนเมืองเพื่อใหมีการสงเสริมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพและความปลอดภัยอยางเทาเทียมกันโดย การลงทุนในการขนสงสาธารณะ การวางแผนจัดการกับ อาหารที่ไมถูกสุขลักษณะ การจัดการและการควบคุม สิ่งแวดลอมใหดีรวมทั้งการควบคุมการเขาถึงสุราดวย การสงเสริมความเปนธรรมทางสุขภาพระหวางเมืองและ ชนบทโดยการลงทุนพัฒนาชนบทจนชาวบานสามารถชวย ตัวเองได การคำนึงถึงนโยบายและกระบวนการที่ปองกัน ไมใหเกิดปญหาการกีดกันทางสังคมที่จะนำไปสูความยากจน ในชนบท การไรที่ดินทำกินและการกลายเปนคนไรที่อยูอาศัย • การตอสูกับผลกระทบของความไมเปนธรรมจากการเติบโต ของเมืองผานภารกิจตางๆ เชน การหยิบยกเอาปญหาของ สิทธิในที่ดินทำกินมานำเสนอ การสงเสริมการดำเนินชีวิต ในชนบทซึ่งมีวิถีชีวิตที่มีคุณภาพ การลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน ของชนบท และการมีนโยบายที่สนับสนุนชวยเหลืออำนวย ความสะดวกใหกับผูที่ยายถิ่นจากชนบทสูเมือง การทำใหนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมตอบสนองตอการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและการทำลายสิ่งแวดลอม นั้นมีประเด็นของความเปนธรรมทางสุขภาพดวย ที่อยูอาศัยที่คนอาศัยอยูนั้นมีผลอยางมากตอสุขภาพและโอกาส ของการมีชีวิตที่ประสบความสำเร็จ ในป พ.ศ. ๒๕๕๐ เปนปแรก หรือครั้งแรกที่ประชากรมากกวาครึ่งหนึ่งของประชากรโลกอาศัยอยู ในเมือง และในจำนวนนั้นมีประชากรประมาณหนึ่งพันลานคน อาศัยอยูในเขตชุมชนแออัด หลักฐานสนับสนุนขอเสนอแนะ โรคติดเชื้อและปญหาการขาดสารอาหารจะยังคงเปนปญหาตอเนื่อง ในบางพื้นที่และคนบางกลุมในโลกนี้ อยางไรก็ดีความเปนเมือง ก็กำลังมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงปญหาสุขภาพของประชากร อยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งสำหรับคนจนในเมืองจะมีปญหาโรค ไมติดเชื้อ อุบัติเหตุและการบาดเจ็บจากความรุนแรง และผลกระทบ และความตายจากภัยธรรมชาติมากขึ้น สภาพแวดลอมของชีวิตประจำวันที่เราอาศัยอยูมีผลตอความ เปนธรรมทางสุขภาพมาก การเขาถึงบานและที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพ น้ำสะอาดและสุขาภิบาลเปนสิทธิมนุษยชนและเปนความจำเปน พื้นฐานของการมีชีวิตที่มีคุณภาพ การพึ่งพารถยนตมากขึ้น สภาพ พื้นที่ถูกปรับเปลี่ยนเพื่ออำนวยความสะดวกในการใชรถยนต มากขึ้น และรูปแบบของการเดินทางแบบอื่นที่ไมใชรถยนตถูกลด บทบาทลง เงื่อนไขเหลานี้ลวนแลวแตมีผลตอคุณภาพอากาศ การปลอยกาซเรือนกระจก และการไมออกกำลังกาย การวางแผน และการออกแบบสิ่งแวดลอมของเมืองจึงมีผลกระทบอยางมาก ตอความเปนธรรมทางสุขภาพ เนื่องจากมีอิทธิพลตอความปลอดภัย และพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ ของคนเชน การดื่มเหลาและความรุนแรง เปนตน ความสมดุลระหวางการอยูอาศัยในชนบทและเมืองผันแปรไปตาม พื้นที่ตางๆ อยางมากเชน ประเทศที่มีประชากรอาศัยอยูในเมือง นอยกวารอยละ ๑๐ เชน ประเทศบุรันดีและประเทศยูกานดา ไปจนถึงประเทศที่มีประชากรอาศัยอยูในเมืองทั้งหมด เชน ในประเทศเบลเยี่ยม เขตปกครองพิเศษฮองกง คูเวตและสิงคโปร รูปแบบของนโยบายและการลงทุนสะทอนใหเห็นถึงกระบวนทัศน การสนับสนุนการเติบโตของเมืองซึ่งพบเห็นไดทั่วโลก กระบวนทัศน เนนเมืองนี้ทำใหคนชนบทโดยเฉพาะคนพื้นเมืองไดรับความทุกขยาก จากการถูกละเลยไมไดรับการใสใจในการพัฒนาทำใหเกิดปญหา ความยากจนแผขยายอยางรวดเร็ว สภาพแวดลอมที่อยูอาศัยย่ำแย กระตุนใหเกิดการยายถิ่นจากชนบทเขาสูเมืองที่เขาไมคุนเคย ·ÕèÍÂÙ‹ÍÒÈѶ١ÊØ¢ÅѡɳÐáÅмٌÍÂÙ‹ÍÒÈÑ ÁÕÊØ¢ÀÒ¾´Õ
  • 13. emissions) นั้นมีผลมาจากรูปแบบของการบริโภค ของเมืองใหญทั้งหลายในโลกที่พัฒนาแลว การคมนาคมขนสงและ การกอสรางมีผลถึงรอยละ ๒๑ ของการปลอยแกสคารบอนไดออกไซด กิจกรรมทางดานการเกษตรกรรมมีผลถึงหนึ่งในหา ในทางกลับกัน ผลผลิตทางการเกษตรก็ขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศ การตอสูเพื่อ ลดการทำลายสภาพแวดลอมทางภูมิอากาศและการลดความ ไมเปนธรรมทางสุขภาพนั้นตองทำไปดวยกัน
  • 14. · Ê ÃØ » ¼ÙŒ º ÃÔ Ë Ò Ã ÀÒáԨ·ÕèμŒÍ§·Ó การที่รัฐบาล นายจางและผูใชแรงงานสามารถชวยกันทำให เกิดการจางงานที่เปนธรรมและสภาพการทำงานที่ดีที่ปลอดภัย นั้นสามารถกำจัดความยากจน ลดความไมเปนธรรมทางสังคม ลดการสัมผัสกับสิ่งแวดลอมที่เปนอันตรายตอรางกายและจิตใจ และเสริมสรางโอกาสของการมีสุขภาวะที่ดี และแนนอนวา สถานประกอบการที่มีสุขภาวะยอมนำไปสูผลิตผลของการ ทำงานที่สูงดวย การทำใหทุกคนมีงานทำเต็มเวลา มีการจางงานที่เปนธรรม และงานที่ดีปลอดภัยเปนเปาหมายหลักของนโยบายทาง เศรษฐกิจและสังคม • การจางงานเต็มเวลา ไมมีการวางงานและงานที่ทำเปนงาน ที่ดีและงานปลอดภัยควรเปนเปาหมายรวมกันของสถาบัน และองคกรระหวางประเทศ และเปนเปาหมายหลักของ นโยบายของประเทศ ตลอดจนยุทธศาสตรของการพัฒนา โดยการสนับสนุนใหผูใชแรงงานเขาไปมีสวนรวมในการสราง นโยบาย ออกกฎหมายและโครงการที่เกี่ยวกับการจางงาน และการทำงาน การบรรลุถึงความเปนธรรมทางสุขภาพ คือการมีงาน ที่ปลอดภัย มั่นคง คาจางที่เปนธรรม โอกาสของการทำงาน ทั้งปและงานที่มีความสมดุลระหวางชีวิตและงานสำหรับ ผูใชแรงงานทุกคน • การจัดหางานที่มีคุณภาพและคาจางที่ไดรับสามารถดำรงชีวิต ที่ดีไดโดยคำนึงถึงตนทุนที่แทจริงและตนทุนปจจุบันของผูใช แรงงานชายและหญิงที่สามารถดำเนินชีวิตอยางมีสุขภาวะได • ใหการคุมครองแรงงานทุกคน องคกรระหวางประเทศควร ที่จะสนับสนุนประเทศตางๆ ใหดำเนินการคุมครองแรงงาน ตามมาตรฐานหลักใหกับทั้งแรงงานในระบบและแรงงาน นอกระบบ สนับสนุนนโยบายที่ทำใหเกิดความสมดุลระหวาง งานและชีวิตครอบครัว และพยายามขจัดผลเสียของความ ไมมั่นคงของการทำงานจากการจางงานแบบไมแนนอน และงานที่ไรความหมาย ปรับปรุงสภาพแวดลอมการทำงานทุกดานใหกับผูใชแรงงาน ทุกคนเพื่อการลดการสัมผัสกับสิ่งแวดลอมที่เปนอันตราย และเปนพิษ ความเครียดจากการทำงานและพฤติกรรม สุขภาพแบบเสี่ยง การจางงานและสภาพแวดลอมของการทำงานมีผลกระทบอยางมาก ตอความเปนธรรมทางสุขภาพ เมื่อการจางงานและสภาพแวดลอม การทำงานดี ผูใชแรงงานก็จะมีความมั่นคงทางดานการเงิน มีสถานภาพ ทางสังคม มีพัฒนาการสวนบุคคลในดานตางๆ มีความสัมพันธทาง สังคมที่ดี มีความภาคภูมิใจในตัวเองและความสามารถที่จะปองกัน ตัวเองจากอันตรายดานกายภาพและจิตใจที่เกิดจากการทำงาน ปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงการจางงานและการทำงานตองเปนปฏิบัติการ ทุกระดับทั้งระดับโลก ระดับประเทศและระดับทองถิ่น หลักฐานสนับสนุนขอเสนอแนะ งานเปนพื้นที่ซึ่งปจจัยที่สงผลตอสุขภาพสามารถแสดงผลกระทบได เนื่องดวยเงื่อนไขของการจางงานและลักษณะของงานเอง การจางงาน แบบยืดหยุนนั้นไดรับการยอมรับวาดีตอการแขงขันทางดานเศรษฐกิจ แตกลับกลายเปนผลรายตอสุขภาพของผูใชแรงงาน มีหลักฐาน งานวิจัยบงชี้ใหเห็นวา อัตราการตายของแรงงานที่ทำงานชั่วคราวนั้น สูงกวาแรงงานที่ไดรับการจางงานแบบถาวร ปญหาสุขภาพจิตมีสูง ในกลุมของแรงงานที่มีการจางงานแบบไมแนนอนเชน งานที่ไมระบุ เวลาจางชัดเจน หรืองานที่ไมมีสัญญาจางหรืองานบางเวลา ผูใชแรงงานที่รับรูถึงความไมมั่นคงของการทำงานจะมีแนวโนม ในการมีปญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต สภาพแวดลอมการทำงานมีผลตอสุขภาพและความเปนธรรมทาง สุขภาพดวยเชนกัน สภาพแวดลอมของการทำงานที่ไมปลอดภัย มักทำใหแรงงานมีปญหาสุขภาพกาย และปญหาเหลานี้มักเกิดกับ แรงงานที่มีสถานภาพทางอาชีพต่ำ การพัฒนาสภาพแวดลอม การทำงานที่เกิดขึ้นในประเทศที่มีรายไดสูงที่ไดมาอยางยากลำบากนั้น มักไมคอยเกิดขึ้นในประเทศที่มีรายไดปานกลางและประเทศที่มี รายไดต่ำ ความเครียดจากการทำงานมีความสัมพันธกับปจจัยเสี่ยง ของโรคหัวใจสูง และมีตัวอยางที่แสดงใหเห็นวา งานที่เรียกรองสูง หรือบังคับใหแรงงานทำงานใหมากเกินและงานที่มีการควบคุมสูง ไมใหอิสระกับแรงงานในการทำงานและการไดรับรายไดที่ไมไดสัดสวน กับความพยายามทุมเทในการทำงานนั้นเปนงานที่เปนปจจัยเสี่ยง ของปญหาสุขภาพจิตและปญหาสุขภาพกาย ¡ÒèŒÒ§§Ò¹·Õè໚¹¸ÃÃÁáÅЧҹ·Õè´Õ
  • 15. Artazcoz et al., 2005 ตัวเลขป ค.ศ. 2007 เปนตัวเลขประมาณการ ตีพิมพโดยไดรับการอนุญาตจากผูเขียนและจาก ILO (2008) ปญหาสุขภาพจิตของหญิงและชายที่ใชกำลังแรงงานในสเปนจำแนกตามประเภทสัญญาจาง รอยละของคนที่มีรายไดสองเหรียญสหรัฐตอวันหรือนอยกวาจำแนกตามภูมิภาค งานถาวร โลก ยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เฉียงใต เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใตและ แปซิฟก เอเชียใต ลาตินอเมริกาและแคริเบียน ตะวันออกกลาง อัฟริกาเหนือ อัฟริกาแถบซาฮารา รอยละรอยละ งานชั่วคราวแต มีระยะเวลาจาง แนนอน งานชั่วคราวและ มีระยะเวลาจาง ไมแนนอน ไมมีสัญญาจาง ชาย หญิง
  • 16. · Ê ÃØ » ¼ÙŒ º ÃÔ Ë Ò Ã ÀÒáԨ·ÕèμŒÍ§·Ó การลดชองวางความไมเปนธรรมทางสุขภาพใหไดในชั่วอายุ คนนั้น ตองการใหรัฐบาลสรางระบบที่จะทำใหประชาชนมี มาตรฐานการดำรงชีวิตที่ดี โดยเฉพาะประชาชนที่ตกอยูใน สภาพแวดลอมที่ชวยตัวเองไมไดที่สืบเนื่องมาจากปญหา โครงสรางหรือการตกเปนเหยื่อของสิ่งที่อยูนอกเหนือการควบคุม ของเขา โครงการคุมครองทางสังคมอาจเปนเครื่องมืออยางหนึ่ง ในการที่จะทำใหประเทศบรรลุถึงเปาหมายการพัฒนา แทนที่ จะเปนผลพวงของการพัฒนาที่บรรลุเปาหมาย โครงการนี้ ยังเปนเครื่องมือในการลดความยากจนและขณะเดียวกัน เศรษฐกิจทองถิ่นก็ไดประโยชนจากโครงการนี้ สรางและทำใหนโยบายประกันสังคมมีลักษณะครอบคลุม การสนับสนุนระดับรายไดที่จะทำใหมีชีวิตมีคุณภาพได • เพิ่มความครอบคลุมโครงการประกันสังคมที่ทำใหดำรงชีวิต อยูอยางมีคุณภาพอยางรวดเร็ว • ทำใหมั่นใจวาการคุมครองทางสังคมนี้ครอบคลุมประชากร ทุกกลุมโดยเฉพาะกลุมที่ปกติมักจะถูกละเลยเชน กลุมที่ ทำงานชั่วคราว งานที่ไมเปนทางการและงานบานหรืองานดูแล ทั้งหลายเชนดูแลผูปวยและเด็ก ประชาชนทุกคนตองการการคุมครองทางสังคมตลอดชีวิต ไมวาจะ เปนเด็ก แรงงานและคนชรา ทุกคนยังตองการการคุมครองเมื่อเผชิญ กับปญหาหนักเฉพาะหนาเชน ความเจ็บปวยหนักๆ การพิการและ การสูญเสียงานและรายได หลักฐานสนับสนุนขอเสนอแนะ การดำรงชีวิตต่ำกวามาตรฐานเปนเงื่อนไขของความไมเปนธรรม ทางสุขภาพ ทำใหเกิดผลเสียตอเนื่องในระยะยาวโดยเฉพาะอยางยิ่ง เด็กในชวงปฐมวัย ความยากจนที่เกิดกับเด็กและการสงตอความยากจน จากคนรุนหนึ่งไปยังคนอีกรุนหนึ่งเปนอุปสรรคสำคัญของการพัฒนา สุขภาพของประชากรและการสรางความเปนธรรมทางสุขภาพ ประชากร สี่ในหาคนของโลกขาดการคุมครองทางดานความมั่นคงทางสังคม ระบบสวัสดิการทางสังคมที่กระจายความคุมครองทางสังคมผนวกกับ ความสามารถของประชาชนในการทำงานหารายไดมีผลอยางมาก ตอระดับความยากจน สวัสดิการและประกันสังคมที่ครอบคลุมและ ใหการคุมครองสูงทำใหสุขภาพของประชากรดีขึ้น ซึ่งรวมทั้งทำใหมี อัตราการตายที่ต่ำกวาโดยเฉพาะในกลุมผูสูงอายุและกลุมประชาชน ที่เปราะบาง ในประเทศที่มีระบบสวัสดิการที่ดีและประกันสังคมแบบ เบ็ดเสร็จมักไดรับงบประมาณเพื่อใชจายในการดำเนินงานสูงและ มีแนวโนมที่จะเปนงบประมาณที่ยั่งยืน ผลที่ตามมาคือ ความยากจน และความไมเปนธรรมทางสุขภาพของประเทศเหลานี้มีแนวโนมที่จะ นอยกวาประเทศที่ยากจนหรือประเทศที่มีระบบไมครอบคลุม การขยายขอบเขตของการประกันหรือคุมครองทางสังคมใหกับคน ทุกคนในสังคมทั้งในประเทศและระหวางประเทศเปนมาตรการ ที่สำคัญของการบรรลุถึงการลดชองวางของความไมเปนธรรมทาง สุขภาพในชั่วอายุคน โดยตองคุมครองกลุมทำงานชั่วคราวไมแนนอน งานที่ไมเปนทางการและงานบาน การใหคุมครองเชนนี้เปนเรื่องที่ สำคัญมากสำหรับประเทศที่ยากจนซึ่งคนสวนใหญทำงานในภาค ที่ไมเปนทางการ และสำคัญสำหรับผูหญิงที่มีความรับผิดชอบกับ ครอบครัวสูง ดังนั้นจึงมักถูกลืมหรือไมนับรวมเอาไวในกลุมที่จะไดรับ การคุมครอง ขณะที่โครงสรางพื้นฐานที่จำกัดและขีดความสามารถ อันจำกัดทางดานการคลังเปนอุปสรรคในการสรางการคุมครองทาง สังคมในประเทศจนหลายประเทศ แตจากประสบการณในโลก บอกวา เปนไปไดที่จะสรางระบบการคุมครองทางสังคมแมในประเทศ ที่ยากจน ¡Òä،Á¤Ãͧ·Ò§Êѧ¤ÁμÅÍ´ªÕÇÔμ
  • 17. 30 40 50 60 70 80 90 100 110 0 5 10 15 20 25 รอยละของผลประโยชนที่ไดจากสวัสดิการรัฐตอคาจางแรงงานสุทธิเฉลี่ยของแรงงาน เสนความยากจนอยูที่รอยละ 50 ของรายไดที่พออยูได AUS=ออสเตรเลีย AUT=ออสเตรีย BEL=เบลเยี่ยม CAN=แคนาดา FIN=ฟนแลนด FRA=ฝรั่งเศส GER=เยอรมนี IRE=ไอรแลนด ITA=อิตาลี NET=เนเธอรแลนด NOR=นอรเวย SWE=สวีเดน SWI=สวิสเซอรแลนด UK=สหราชอาณาจักร USA=สหรัฐอเมริกา ตีพิมพโดยไดรับอนุญาตจากผูพิมพและ Lundberg et al. (2007). รายไดรวมที่ครอบครัวไดรับจากสวัสดิการรัฐและความยากจนของเด็กใน 20 ประเทศ ป 2543 สหรัฐอเมริกา ไอรแลนด สหราชอาณาจักร อิตาลี เยอรมนี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ฟนแลนด สวีเดน นอรเวย รอยละของรายได ครัวเรือนที่ไดจาก สวัสดิการรัฐ แคนาดาออสเตรเลีย สวิสเซอรแลนด เนเธอรแลนด ออสเตรีย รอยละของความยากจน
  • 18. · Ê ÃØ » ¼ÙŒ º ÃÔ Ë Ò Ã ÀÒáԨ·ÕèμŒÍ§·Ó สรางระบบดูแลสุขภาพที่อยูบนพื้นฐานของความเปนธรรม การปองกันโรคและการสงเสริมสุขภาพ • สรางระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพดวยการใหหลักประกัน ถวนหนาและเนนหนักการสาธารณสุขมูลฐาน • สรางสภาวะผูนำที่เขมแข็งใหกับภาครัฐในการสรางระบบ การคลังสุขภาพที่เปนธรรม ที่ทำใหทุกคนสามารถเขาถึง บริการสุขภาพโดยที่ไมตองจาย สรางบุคลากรสาธารณสุขที่เขมแข็งและขยายความสามารถ ของเขาใหสามารถดำเนินการในแนวทางปจจัยสังคมที่กำหนด สุขภาพได • ลงทุนในการสรางกำลังคนดานสุขภาพของประเทศ สรางความ สมดุลระหวางบุคลากรสุขภาพระหวางเมืองและชนบท • ลงมือแกไขปญหาสมองไหล เนนหนักการลงทุนเพื่อเพิ่ม ทรัพยากรมนุษยทางดานสุขภาพและอบรม และการสราง ขอตกลงรวมกันระหวางตนทางและปลายทางเพื่อการบริหาร จัดการกับการไดมาและสูญเสียบุคลากร การเขาถึงบริการและการใชบริการเปนเงื่อนไขสำคัญของการมีสุขภาพ ที่ดีและความเปนธรรมทางสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ ถือเปน ปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพ ระบบนี้ไดรับอิทธิพลจากปจจัยสังคม ตัวอื่น ขณะเดียวกันก็มีอิทธิพลตอปจจัยทางสังคมอื่นเชนกัน ความสัมพันธหญิงชาย การศึกษา อาชีพ รายได ชาติพันธุและที่อยู อาศัยลวนแลวแตมีความเชื่อมโยงกับการเขาถึงบริการ ประสบการณ ในการรับบริการและการไดรับประโยชนจากบริการ ผูนำทางสุขภาพ มีบทบาทสำคัญในการชี้นำสถาบันทางสังคมอื่นๆ เพื่อใหแนใจวา นโยบายและการทำงานของภาคสวนอื่นๆ นั้นจะเปนไปเพื่อพัฒนา ความเปนธรรมทางสุขภาพ หลักฐานสนับสนุนขอเสนอแนะ การที่ไมมีระบบบริการสุขภาพทำใหโอกาสในการพัฒนาสุขภาพ ก็ไมมี ถามีระบบบริการเพียงบางสวนหรือระบบบริการที่ไมเปน ธรรม โอกาสในการที่จะมีบริการสุขภาพถวนหนาอยางเปนธรรม ทางสังคมก็หายไป นี่เปนหัวใจของทุกประเทศ การเนนไปที่ประเทศ ที่มีรายไดนอยและทำใหประชาชนเขาถึงระบบบริการสุขภาพเปนการ ชวยใหบรรลุถึงเปาหมายของสหัสวรรษ ถาประชาชนไมสามารถ เขาถึงระบบบริการได เปาหมายดังกลาวก็แทบเปนไปไมได แตระบบ บริการสุขภาพของหลายประเทศยังออนแอ มีความไมเทาเทียมกัน ในการจัดบริการ การเขาถึงและการใชบริการระหวางคนจนและ คนรวยอยางมาก คณะกรรมาธิการฯ มีความเห็นวา ระบบบริการสุขภาพเปนทรัพยสิน สวนรวม เปนบริการสาธารณะเพื่อประโยชนสุขของคนในสังคม บริการสุขภาพไมใชสินคาที่จะคาขายทำกำไรในตลาด โดยแทจริง แลวประเทศที่มีรายไดสูงมีแนวโนมที่จะจัดบริการตามหลักของ ความครอบคลุมอยางถวนหนา (โดยการจัดการทางดานการคลัง เพื่อสุขภาพและการจัดบริการเขาดวยกัน) ซึ่งผูรับบริการทุกคนจะ ไดรับบริการที่มีคุณภาพไมตางกันเพื่อตอบสนองความจำเปนและ ทางเลือกของผูรับบริการโดยไมคำนึงวา ผูรับบริการจะมีรายไดมาก นอยแคไหน มีสถานภาพทางสังคมอยางไร หรือมีบานเรือนที่พัก อยางไร ผูรับบริการทุกคนจะไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมารับ บริการ บริการสุขภาพที่ใหประโยชนกับผูรับบริการสูงนี้มีขอบเขต ครอบคลุมประชากรทุกกลุม ไมกีดกันกลุมใดกลุมหนึ่งออกไป ไมมี เหตุผลหรือหลักฐานที่จะบอกวา ประเทศตางๆ รวมทั้งประเทศ ยากจนที่สุดไมอยากมีระบบบริการสุขภาพที่ครอบคลุมเชนนี้ คณะกรรมาธิการฯ สนับสนุนใหใชเงินรายไดจากระบบภาษีในการ ใชจายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพที่ครอบคลุมเชนนี้และสนับสนุน ใหใชระบบการประกันสุขภาพถวนหนาแบบบังคับ ไมใชแบบสมัครใจ การใชจายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพตองมีแนวโนมที่จะมีลักษณะ ของการกระจายตัวออกไปในทุกดาน ไมกระจุกตัวอยูในเมืองหรือ ในบางบริการ การศึกษายังพบตอไปอีกวา ประเทศสวนใหญนิยม ที่จะใชระบบการสนับสนุนคาใชจายทางดานสุขภาพจากภาครัฐ เพราะวามันเปนเงื่อนไขสำคัญที่จะทำใหประชาชนหรือผูรับบริการ ไมตองจายเงินคารักษาพยาบาลเอง นโยบายของประเทศที่มี รายไดปานกลางและรายไดนอยที่คิดคาบริการรักษาพยาบาลจาก ผูรับบริการนั้นมีผลทำใหอัตราการมารับบริการของประชาชนลดลง และนำไปสูระดับสุขภาพที่ลดลง ประชากรมากกวา 100 ลานคน ที่อยูในระบบบริการที่ตองจายเงินเองเชนนี้ประสบกับปญหา ความยากจนอันเนื่องจากการเจ็บปวยที่รุนแรงและเรื้อรังและตอง แบกรับคารักษาพยาบาลที่สูงและทำใหยากจนลง ปรากฏการณ เชนนี้เปนสิ่งที่รับไมไดหรือไมควรปลอยใหเกิดขึ้น ระบบบริการสุขภาพจะมีผลทำใหสุขภาพของคนดีขึ้น เมื่อวางระบบ นี้ไวบนหลักของสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งเปนระบบที่การบริการหรือ การดำเนินงานที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมหรือทองถิ่น ในการ จัดการกับปจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพและการสรางความสมดุล »ÃСѹÊØ¢ÀÒ¾¶ŒÇ¹Ë¹ŒÒ