ใบงาน สุขศึกษา ม.2 หน่วยที่ 2

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

สารบัญ ๒ ๑๑ เฉลยหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๒ ๑๙ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒๖ ๓๔ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ วัยรุ่น วัยวุ่น ๔๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การเจริญเติบโตและพัฒนาการในวัยรุ่น ๔๗ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เจตคติในเรื่องเพศ ๕๔ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ความเท่าเทียมระหว่างเพศ ๖๔ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน ๗๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การบริการทางสุขภาพ ๗๙ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ สุขภาพกับการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำ�วัน ๘๕ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ สมดุลกายจิต ชีวิตมีสุข ๙๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ จิตดี ชีวีเป็นสุข หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ อย่าริ อย่าลอง อย่าเสพ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ ลดความเสี่ยง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ ทักษะชีวิต หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๓ แนวทางในการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย

2 เฉลยคำาถามหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ วัยรุน่ วยั วุ่น ๑ นักเรยี นมีการเปล่ยี นแปลงดา นรา งกาย จติ ใจ อารมณ สังคม และสตปิ ญ ญาอยา งไร และนกั เรยี นรสู ึกอยา งไร กับการเปลี่ยนแปลงเหลา น้ี ตัวอย่างคำาตอบ เช่น การเปล่ียนแปลงด้านร่างกาย มีโครงสร้างและสัดส่วนร่างกายที่เปล่ียนไปอย่างสังเกตได้ชัดเจน รวมถงึ การเปล่ยี นแปลงทางเพศด้วย ทาำ ให้มคี วามรสู้ กึ เป็นกังวลตอ่ การเปล่ยี นแปลงอย่างมาก เนอ่ื งจาก ยงั ไมค่ ุน้ ชนิ กับการเปล่ยี นแปลงของตน การเปลย่ี นแปลงดา้ นจติ ใจและอารมณ์ มอี ารมณอ์ อ่ นไหว วนุ่ วายสบั สน และควบคมุ อารมณไ์ มค่ อ่ ยได้ บางคร้ังก็ทำาให้เกิดความขัดแย้งกับคนรอบข้างเสมอ การเปลี่ยนแปลงน้ีตัวเราอาจไม่ค่อยสังเกต ได้ชดั นกั แต่เมือ่ รูต้ วั แล้วคิดว่าเป็นเรอ่ื งท่คี วรหาทางปรับตวั แกไ้ ข การเปลย่ี นแปลงดา้ นสงั คม เปน็ ชว่ งทค่ี อ่ นขา้ งใหค้ วามสาำ คญั กบั เพอ่ื นอยา่ งมาก มกั ชอบอยเู่ ปน็ กลมุ่ และเรม่ิ ไมค่ อ่ ยตดิ พอ่ แม่ การเปลยี่ นแปลงนเ้ี ปน็ เรอื่ งปกตขิ องมนษุ ยท์ เ่ี ปน็ สตั วส์ งั คม ตอ้ งการการยอมรบั จากเพ่ือนฝงู ตอ้ งการมเี พ่ือน การเปลี่ยนแปลงด้านสติปญญา สามารถเรียนรสู้ งิ่ ต่างๆ และมีความเข้าใจต่อเหตกุ ารณร์ อบตัวได้ มากขึ้น การเปลยี่ นแปลงน้ี ทาำ ใหม้ ีความร้สู ึกว่าตนนน้ั มศี ักยภาพ ขวนขวายหาความรู้ มีความกล้าที่จะ ลองและกลา้ ท่ีจะทาำ มากขึน้ ๒ การเปลยี่ นแปลงตา งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในวยั รนุ นกั เรยี นคดิ วา การเปลย่ี นแปลงใดทาํ ใหเ กดิ ปญ หาตอ ตนเองมากทส่ี ดุ และจะมวี ิธแี กป ญ หาอยางไร ตัวอย่างคาำ ตอบ เชน่ การเปล่ียนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์น่าจะทำาให้เกิดปญหาต่อตนเองมากท่ีสุด เน่ืองมาจาก จติ ใจและอารมณใ์ นชว่ งนจี้ ะคอ่ นขา้ งรนุ แรง ออ่ นไหวงา่ ย เรม่ิ ตอ่ ตา้ นความคดิ ของผใู้ หญ่ คอ่ นขา้ งหงดุ หงดิ งา่ ย ซงึ่ การควบคมุ ไมใ่ หร้ สู้ กึ หรอื คดิ ถงึ ผลทอี่ าจตามมาหลงั จากการแสดงอารมณ์ คาำ พดู หรอื การกระทาำ ทเ่ี กดิ ขนึ้ นนั้ เปน็ เรอื่ งยาก ทาำ ให้อาจเป็นสาเหตุท่ีก่อใหเ้ กดิ ความขัดแย้งกับสมาชิกในครอบครวั หรือคน รอบข้างได้ โดยวิธแี ก้ไขน้นั สามารถเริม่ ทำาได้ทตี่ นเอง หากิจกรรมยามวา่ งทาำ กิจกรรมสันทนาการ หรือ กิจกรรมอนื่ ๆ ทที่ ำาให้ผอ่ นคลาย อาจช่วยใหม้ อี ารมณ์ดขี นึ้ และไม่คดิ ฟงุ ซา่ น ๓ นกั เรียนคดิ วา วัยรุนควรปฏิบัตติ นตอ ตัวเองอยา งไร เพื่อใหเ ปน ผใู หญท ีม่ คี ณุ ภาพ ตวั อย่างคาำ ตอบ เชน่ ตอ้ งเขา้ ใจตอ่ การเปลยี่ นแปลงในดา้ นตา่ งๆ วา่ เปน็ เรอื่ งปกตกิ อ่ น แลว้ จงึ พยายามปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั การเปลย่ี นแปลงใหไ้ ด้ พรอ้ มทงั้ วางตวั ตอ่ บุคคลและสังคมให้ถูกตอ้ งเหมาะสม

3 ๔ นกั เรยี นคดิ วาวยั รุนในชว งใดนาจะมีความกังวลใจตอ การเปล่ียนแปลงของตนมากทส่ี ุด ตวั อยา่ งคำาตอบ เช่น วยั รนุ่ ตอนกลาง อายรุ ะหวา่ ง ๑๖-๑๙ ป เนอื่ งจากโครงสรา้ งรา่ งกาย สดั สว่ น รวมถงึ การเปลยี่ นแปลง ทางเพศเกดิ ข้ึนชัดเจนมากในชว่ งนี้ อาจทาำ ให้มคี วามร้สู กึ กงั วลใจเป็นอยา่ งมาก แตท่ ง้ั นที้ ั้งนัน้ ขน้ึ อยู่กบั สภาพรา่ งกายแต่ละบุคคล ทม่ี ีผลทำาให้การเข้าสู่วยั รุน่ และการเปล่ยี นแปลงน้นั อาจแตกต่างกัน ๕ นักเรียนเห็นดวยหรือไมเกี่ยวกับเร่ืองที่วา “เด็กในเมืองจะเขาสูวัยรุนเร็วกวาเด็กชนบท” พรอ มท้ังอธิบายเหตุผล ตวั อย่างคำาตอบ เชน่ เหน็ ดว้ ย เนื่องจากสภาพแวดลอ้ มของชมุ ชนเมอื งที่มผี ลโดยตรงตอ่ การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ของเดก็ เชน่ อาหารการกิน สังคมเมือง สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว และเทคโนโลยตี า่ งๆ เป็นตน้ สิ่งเรา้ เหล่านี้ ลว้ นมผี ลตอ่ พฤตกิ รรมและการเปลย่ี นแปลงของเดก็ ซง่ึ แตกตา่ งจากชนบททส่ี งิ่ เรา้ เหลา่ นม้ี คี อ่ นขา้ งนอ้ ย กวา่ จึงเจริญเตบิ โตและเปลย่ี นแปลงไปได้ช้ากว่าเดก็ ในเมอื ง ๖ นกั เรยี นคดิ วา จากขอ ความดังกลาวแสดงถงึ การเปลย่ี นแปลงของวเิ ชียรในดานใดบาง เพราะอะไร ตวั อย่างคาำ ตอบ เช่น จากข้อความ วิเชยี รเปน็ เดก็ วยั ร่นุ ตอนตน้ มกี ารเปล่ยี นแปลงด้านสงั คม เนือ่ งจากข้อความส่ือว่า เขาคอ่ นขา้ งติดเพอื่ น ชอบอยเู่ ป็นกล่มุ และคล่งั ไคลศ้ ลิ ปน และมีการเปลี่ยนแปลงดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ เน่ืองมาจากข้อความท่ีส่ือว่าเขาน้ันมักมีอารมณ์โมโห ฉุนเฉียวเวลาถูกพ่อแม่ว่ากล่าว และมีปากเสียง กบั พอ่ แมอ่ ยู่บ่อยครง้ั ๗ นกั เรียนคดิ วา การเปลย่ี นแปลงดา นใด สง ผลกระทบตอการดําเนนิ ชีวิตของวเิ ชียรมากท่สี ุด ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เชน่ การเปล่ียนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์ เพราะการที่วิเชียรมีอารมณ์โมโหรุนแรง และไม่สามารถ ควบคมุ ได้ อาจทาำ ให้เขาไม่ทันนกึ ถึงผลเสยี ตา่ งๆ ท่ีตามมา เชน่ การทำาใหพ้ อ่ และแม่เสียใจ เพื่อนบางคน อาจไมช่ อบเขา เกิดความขัดแย้งและมเี รื่องกับคนรอบข้างได้ ๘ นกั เรยี นคดิ วา วเิ ชยี รควรปฏบิ ตั ติ วั อยา งไรตอ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ เพอ่ื ใหต วั เขาและคนรอบขา งมคี วามสขุ ตวั อย่างคำาตอบ เช่น วเิ ชยี รควรทบทวนตนเองกอ่ นวา่ ตนนนั้ มกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งไรบา้ ง แลว้ สง่ิ ทต่ี นไดก้ ระทาำ นนั้ เกดิ ข้ึนจากผลของการเปลยี่ นแปลงหรือไม่อย่างไร แล้วจงึ พยายามค่อยๆ ปรับตัวให้เขา้ กับการเปลีย่ นแปลง นั้น พยายามเข้าใจและลดพฤติกรรมบางอย่างท่ีไม่ดี ไม่เหมาะสมลง พยายามเรียนรู้ รับฟงและเข้าใจ ผู้อ่นื มากขนึ้ ๙ การเปลี่ยนแปลงดา นใดสรางความกงั วลใจใหน ักเรยี นมากทสี่ ุด ตวั อย่างคาำ ตอบ เชน่ ด้านร่างกาย เน่ืองจากเป็นการเปล่ียนแปลงที่สังเกตได้ชัดเจนมากที่สุด และอาจก่อให้เกิด ความกังวลตา่ งๆ ตามมา เพราะกลัวถกู เพ่ือนลอ้ เลยี น รบั กบั การเปลีย่ นแปลงของตนเองไม่ได้

4 ๑๐ นักเรียนยกตัวอยางเกี่ยวกับปญหาท่ีตนเองประสบเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงเมื่อเขาสูวัยรุน และนักเรยี นมีวธิ ีจดั การกับปญหาน้นั อยา งไร ตัวอย่างคำาตอบ เช่น เป็นปญหาทีเ่ กดิ เนอ่ื งมาจากการเปลีย่ นแปลงด้านสงั คม เป็นวัยท่ีเริ่มตอ้ งการมเี พอ่ื น อยากเปน็ ท่ี ยอมรับ ชอบอยู่กับเพอ่ื นเป็นกลมุ่ ใหญๆ่ แตบ่ างครง้ั ก็อาจทาำ ให้เกิดปญ หามากมาย เชน่ การเช่อื เพื่อน มากเกินไป ทาำ ตามทเ่ี พ่ือนบอกทกุ อย่างเพียงเพือ่ ตอ้ งการเป็นทย่ี อมรบั ของเพอ่ื น จงึ ถกู เพ่อื นเอาเปรียบ และกลน่ั แกลง้ วธิ กี ารจดั การกบั ปญ หาเหลา่ นเ้ี ราตอ้ งทาำ ตวั เองใหด้ เี สยี กอ่ น ทาำ ในสงิ่ ทถี่ กู ตอ้ ง ตงั้ ใจเรยี น ทำาตามหนา้ ที่ของตน สดุ ท้ายเพอ่ื นก็จะเข้ามาหาเราเอง ๑ วารณุ เี ปน เดก็ วยั รนุ ทม่ี สี ขุ ภาพแขง็ แรงสมบรู ณ เนอ่ื งจากเธอชอบเลน บาสเกตบอลเปน ประจาํ ทกุ วนั หลงั เลกิ เรยี น โดยเธอหวังวาการเลนกีฬาจะชวยใหเธอสูงขึ้นตามตองการ แตดูเหมือนเธออาจจะตองผิดหวังเพราะสวนสูง ของเธอเทา เดิมมาเปนเวลาเกอื บหน่ึงปแ ลว นกั เรียนคดิ วาวารุณอี ยูในชว งวยั รนุ ใด ง. เป็นไปได้ท้งั วัยรุ่นตอนกลางและวัยรนุ่ ตอนปลาย เหตผุ ล การท่ีวารุณไี ม่สูงข้ึนเน่ืองจากเปน็ ชว่ งทีค่ วามสงู ของเธอนา่ จะถงึ ขีดสุดแล้ว โดยปกติ ความ สูงของวัยรุ่นหญิงจะใกล้ถึงขีดสุดหลังมีประจำาเดือนคร้ังแรก และอัตราความสูงจะลดลงเรื่อยๆ จึงไม่ สามารถระบุได้แน่นอนถึงอายุของเธอว่าจัดอยู่ในช่วงวัยรุ่นช่วงกลางหรือช่วงปลาย เพราะไม่ทราบว่า ประจาำ เดอื นของเธอมาครง้ั แรกเมอ่ื ไหร่ และทไี่ มจ่ ดั วา่ เธออยใู่ นวยั แรกรนุ่ เนอ่ื งมาจากโดยปกตเิ ดก็ หญงิ ท่วั ๆ ไปชว่ งวยั น้จี ะมอี ตั ราการเจริญเติบโตดา้ นสว่ นสูงทีม่ าก ๒ ณเดชณและญาญาเปน ลกู พ่ลี กู นอ งทอี่ ายเุ ทา กนั คือ ๑๓ ป นานๆ ทัง้ สองคนจะไดพ บกนั เน่อื งจากญาญา ตองไปอยูกับพอชาวนอรเวย และเมื่อทั้งสองไดพบกัน ณเดชณก็ประหลาดใจกับสวนสูงของญาญา ทัง้ ท่ีอายเุ ทา กันแตญ าญา ดูโตกวามาก นักเรยี นคิดวา ปจจยั ใดทาํ ใหท้ังสองคนมกี ารเปลี่ยนแปลงทางรา งกาย ทีต่ า งกนั ก. เพศและอาหารการกิน เหตุผล ศาสนา ความเช่ือ และเครอื่ งรางไม่เป็นปจจยั ทที่ ำาให้มกี ารเปล่ียนแปลงทางด้านรา่ งกายที่ ตา่ งกนั สง่ิ ทที่ าำ ใหว้ ยั รนุ่ มกี ารเปลยี่ นแปลงทตี่ า่ งกนั ไดแ้ ก่ เพศ เชอื้ ชาติ สภาพเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ลักษณะอาหารและการออกกำาลังกาย รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ก็จะส่งผลไปถึงเรื่องการกินและ วฒั นธรรมอกี ด้วย ๓ ขอใดผดิ จ. ข้อ ข. และ ค. ผิด เหตุผล ข้อ ข. วัยรุ่นหญิงและชายมีการเปล่ียนแปลงด้านโครงสร้างและอัตราการเจริญเติบโตทาง รา่ งกายที่แตกตา่ งกัน ข้อ ค. ปกติเด็กวัยรุ่นโดยท่ัวไปเม่ือเข้าสู่วัยรุ่น วัยรุ่นชายจะมีความแข็งแรงกว่าวัยรุ่นหญิง แต่ไม่ สามารถระบุได้ว่าขณะอยู่ในวัยเด็กเด็กผู้หญิงจะมีความแข็งแรงมากกว่าเด็กผู้ชาย ขึ้นกับสภาพร่างกาย ของเด็กแต่ละคน เด็กผู้ชายอาจแข็งแรงกว่าเด็กผู้หญิง หรือเด็กผู้หญิงแข็งแรงกว่าเด็กผู้ชายก็เป็นได้ท้ัง สองกรณี

5 ๔ อรุณีรูสึกไมชินกับการเปลี่ยนแปลงสัดสวนรางกายและการเปลี่ยนแปลงทางเพศของตน มักจะกังวลใจ หงุดหงิดใจเพราะยังไมสามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงของตนได จากบริบทของขอความแสดงการ เปลยี่ นแปลงในดานใดของอรุณีชดั เจนทส่ี ุด ข. การเปลย่ี นแปลงด้านจิตใจและอารมณ์ เหตุผล จากข้อความแสดงว่าอรุณีน้ันมีการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ท่ีชัดเจนท่ีสุด เนื่องมาจาก การที่เธอแสดงความกังวลใจ หงุดหงิด ต่อการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกายท่ีเกิดข้ึน เน่ืองจากยังไม่ สามารถยอมรบั การเปลีย่ นแปลงได้ อารมณข์ องเธอจงึ หวนั่ ไหวไปกบั สิง่ น้ันๆ ๕ โดยปกติเม่ือเด็กโตข้ึน เขาสูวัยรุนชวงปลาย จะมีการแสดงออกทางอารมณที่ดีข้ึน ยอมรับตัวเองมากขึ้น ทําใหสามารถปรับตวั ตอปญหาและแกปญ หาไดอยา งสรางสรรค นกั เรยี นคิดวาปจจยั ขอ ใดท่สี งเสรมิ ใหเ ด็กมี พฒั นาการ พ้ืนฐานทางอารมณที่ดีขึ้น ข. สัมพนั ธภาพระหวา่ งเด็กและผเู้ ลย้ี งดู เหตุผล เด็กจะมีพ้ืนฐานทางอารมณ์ท่ีดีขึ้นได้น้ันผู้ปกครองที่ดูแลเล้ียงดูมีอิทธิพลอย่างมากต่อเด็ก เมอ่ื เดก็ เขา้ สชู่ ว่ งวยั รนุ่ ตอนปลายจะมคี วามยอมรบั นบั ถอื ผทู้ อ่ี าวโุ สกวา่ มากขน้ึ การแสดงออกจะแตกตา่ ง ไปจากเมอ่ื เปน็ เด็ก ๖ มนชยั มณพร และมนสชิ า เปน พน่ี อ งกนั บอ ยครง้ั ทพ่ี วกเขาชอบทะเลาะกนั โดยเฉพาะมนชยั นน้ั ชอบเอาแตใ จ ตัวเองอยูบอยครั้ง และพอกับแมก็มักจะตามใจเขาเปนพิเศษ เมื่อเจอปญหาเขามักจะรองไหกอนท่ีจะเร่ิม แกป ญ หาเสมอ สว นมณพรนนั้ มกั จะมปี ากเสยี งทะเลาะกบั มนสชิ าอยเู ปน ประจาํ แตเ ปน มนสชิ าทมี่ กั ยอมแพ เพราะไมตองการทะเลาะดวย บางคร้ังก็มักจะแสดงอารมณหงุดหงิดตอหนาญาติๆ สวนมนสิชาน้ันเปนคน ชอบเทย่ี วและตดิ เพื่อน แตม ักแสดงเหตุผลที่ดจี งึ ขออนญุ าตพอ และแมไ ปเที่ยวไดส ําเร็จเกือบทกุ ครัง้ จงเรียงลาํ ดับความเปนไปไดข องอายขุ องเด็กสามคนน้ี จากมากไปหานอ ย ง. มนสชิ า มณพร มนชัย เหตุผล เน่ืองจากใช้เกณฑ์เร่ืองการเปล่ียนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์ กับการเปล่ียนแปลงด้าน สติปญญาและการเรียนรู้ในการหาคำาตอบ มนชัยน่าจะเป็นน้องคนเล็กสุดเน่ืองจากยังเป็นเด็กที่ยังไม่มี ความสามารถในการรับมอื กบั ปญ หาไดด้ ี และมีอารมณท์ ่ีเอาแตใ่ จคอ่ นขา้ งสงู เนื่องจากเป็นน้องคนเล็ก มโี อกาสที่พอ่ แมน่ ่าจะคอ่ นข้างเอาใจสูง สว่ นมณพรนัน้ เร่มิ มีความคดิ เป็นของตัวเองสูง เริ่มมีความคิดที่ ขัดแย้งกับคนรอบข้าง มักจะแสดงออกถึงความรู้สึก อารมณ์ ส่วนมนสิชาเริ่มมีความคิดเป็นผู้ใหญ่ข้ึน หลกี เลย่ี งการทะเลาะโดยไมเ่ กดิ ประโยชน์ มคี วามสามารถในการคดิ และหาเหตผุ ลทพ่ี อ่ แมส่ ามารถยอมรบั ได้ จึงน่าจะเปน็ พ่ีคนโต ๗ ขอใดแสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม ข. ภาสติ ามกั จะแตง่ ตวั ตามดารา เหตผุ ล วยั รนุ่ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงทางดา้ นสงั คม ไดแ้ ก่ เรม่ิ ตดิ เพอ่ื น หลงใหลคนเกง่ ในสงั คม ดารา นักรอ้ ง และเร่ิมมกี ารเลียนแบบเพื่อน หรอื ดารา นกั ร้อง เชน่ การแต่งกาย คาำ พดู ทรงผม เปน็ ต้น ๘ บคุ คลในขอใดมกี ารปรบั ตัวตอ การเปลย่ี นแปลงไดดที ส่ี ุด ค. พรเพญ็ ปรกึ ษาจติ แพทยผ์ า่ นเวบ็ ไซตอ์ อนไลน์ หรอื ทร่ี กู้ นั ในนามหมอออนไลนเ์ กย่ี วกบั พฤตกิ รรม และอารมณข์ องตน เหตผุ ล เนอื่ งจากพรเพญ็ เรม่ิ สงั เกตพฤตกิ รรมและอารมณข์ องเธอทเ่ี ปลย่ี นไป เธอจงึ พยายามหาทาง แก้ไข โดยการปรึกษาหมอออนไลน์ เพ่อื ต้องการปรบั ปรุงตัวเอง

6 ๙ องคกรใดมผี ลมากท่ีสุดตอการเตบิ โตของวยั รนุ ไปเปนผใู หญท ่ดี ี ข. ครอบครัว เหตุผล ครอบครัวเป็นองค์กรท่ีใกล้ชิดกับเด็กมากที่สุด เด็กจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ได้ดีหรือไม่นั้น ข๑น้ึ๐อยขกู่ อ บั ใดกกาลราอวบถรกู มตสอ ัง่งสอนของผู้ปกครอง ง. ข้อ ก. และ ข. เหตุผล ข้อ ค. ผดิ เน่ืองจาก โดยมากวัยรนุ่ ตอนปลายเป็นช่วงทส่ี ามารถยอมรบั กับการเปล่ียนแปลง ได้ค่อนขา้ งมากแลว้ และเริม่ มคี วามคิด สามารถตัดสนิ ใจและแกไ้ ขปญหาไดด้ ขี ึน้ ๑. _จ_._ ๖. _ง_._ ๒._ญ__. ๗._ฉ_._ ๓._ก__. ๘. _ข_._ ๔._ค__. ๙. _ช_._ ๕._ฌ__. ๑๐._ซ__. ใบงานท่ี ๑.๑ การเปล่ียนแปลงในวยั รนุ่ คาำ ช้แี จง : ใหน กั เรยี นนาํ ตวั อกั ษรหนา ขอ ความดา นขวามอื มาเตมิ ลงในชอ งวา งดา นซา ยมอื ใหถ ูกตอ ง ..จ...... ๑. ระยะเติบโตอยา งรวดเรว็ ก. สรา งกลา มเน้ือของผูชาย ..ก...... ๒. ฮอรโมนเทสโทสเตอโรน ข. ฮอรโ มนในเดก็ ผหู ญงิ ..ข...... ๓. ฮอรโมนแอนโดรเจน ค. มีประจาํ เดอื นและหล่ังนาํ้ อสุจิ ..ฉ...... ๔. วยั ที่มคี วามขัดแยงสูงควบคุมอารมณไมด ี ง. เลน กฬี า .ญ....... ๕. การเปล่ยี นแปลงดา นสว นสูงและน้ําหนกั จ. Growth Spurt ..ค...... ๖. วัยรนุ ฉ. วัยรนุ ตอนกลาง ..ง...... ๗. กจิ กรรมท่ีเปนประโยชนตอ วยั รุน ช. วุฒภิ าวะ .ฌ....... ๘. ปจ จัยภายนอกท่ีมีผลตอ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ซ. เพ่อื น ..ช...... ๙. พฒั นาการทางสติปญญาอยา งมเี หตุผล ฌ. สิง่ แวดลอม ..ซ...... ๑๐. ผทู ่ีวัยรุนใหความสําคญั ญ. อทิ ธิพลของตอ มไรท อ

7 ใบงานท่ี ๑.๒ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของตนเอง คำาชีแ้ จง : จงอา นขอ ความตอ ไปน้แี ลว ปฏบิ ัตติ ามคาํ ส่ัง ๑ เกณฑม าตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กและเยาวชน อายรุ ะหวาง ๗-๑๙ ป ขึน้ อยู่กบั ดุลยพนิ ิจของครู ๒ ใหนักเรียนช่ังนํ้าหนักและวัดสวนสูงเดือนละ ๑ ครั้ง เพื่อติดตามการเจริญเติบโตของตนเองเปนระยะๆ และบนั ทึกไวในตารางขางลา ง ขึน้ อย่กู ับสภาพจริงของนักเรยี น ตวั อยา่ งคำาตอบ เชน่ อายุ ๑๔ ป เพศ หญิง วัน เดือน ป ๑๖ม.ค.๖๐ ๑๖ก.พ.๖๐ ๑๖ม.ี ค.๖๐ ๑๖เม.ย.๖๐ ๑๖พ.ค.๖๐ ๑๖มิ.ย.๖๐ ๑๖ก.ค.๖๐ ทีบ่ นั ทกึ น้ำาหนกั และส่วนสูง น้าำ หนัก (กก.) ๔๐ ๔๒ ๔๓ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๕ สว่ นสงู (ซม.) ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๒ ๑๕๓ ๑๕๓ ๑๕๔ ๑๕๔ ๓ ใหนักเรียนนําผลของการชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูงของนักเรียนในแตละเดือนไปเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานการเจรญิ เติบโตของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข ข้ึนอยกู่ ับสภาพจรงิ ของนกั เรยี น ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เช่น น้ําหนักและสวนสงู ของนักเรยี นเมือ่ เทียบกบั เกณฑมาตรฐาน สรปุ ไดด งั น้ี น้ำาหนกั ตํ่ากวา เกณฑ สว่ นสูง ตา่ํ กวา เกณฑ ตามเกณฑ ตามเกณฑ สูงกวาเกณฑ สูงกวา เกณฑ ๔ ถาน้ําหนักและสวนสูงไมเปนไปตามเกณฑ นักเรียนจะมีวิธีปฏิบัติอยางไรท่ีจะทําใหน้ําหนักและสวนสูง อยใู นเกณฑ ถ้านำา้ หนกั และส่วนสงู ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ ฉนั จะมวี ธิ ีทจ่ี ะทาำ ใหน้ ้ำาหนักและส่วนสงู อยู่ในเกณฑ์ คอื ๑. รบั ประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ ๒. ออกกำาลงั กายเป็นประจำาอยา่ งน้อยครัง้ ละ ๓๐ นาที สปั ดาหล์ ะ ๓ ครัง้ ๓. พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอ

8 ใบงานท่ี ๑.๓ บันทกึ ของฉนั คาำ ชีแ้ จง : ใหนกั เรียนตอบคําถามลงในแบบบนั ทึก ๑. นักเรียนมีอายุ....................๑..๔......................เพศ............................ห..ญ...ิง................................. ๒. น้ําหนัก........................๖..๐...........................สวนสูง.........................๑..๕..๘................................ ๓. นกั เรยี นพงึ พอใจในรปู รา งของตนเองหรอื ไม. ......พ...อ..ใ.จ.................................................................. ๔. ปญ หาของรา งกายทค่ี ดิ วา ตอ งแกไ ข.......ไ.ม..่ม...ีส..ว่ .น...ท..ี่ต..้อ..ง..แ..ก..้ไ.ข........................................................... ๕. กฬี าทชี่ อบ.......ว..า่ .ย..น...าำ้ ........................................................................................................ ๖. ดาราที่ชื่นชอบ......ป...า.น....ธ..น..พ..ร.............................................................................................. ๗. เพื่อนสนิท......ด....ญ....ร..ุ่ง..ฟ..า ...ฟ..า..ง.า..ม........................................................................................... ๘. ความรสู กึ ตอ เพอื่ นสนทิ ....เ.พ..่อื..น...เ.ป..็น..ค..น..ท..ีม่...ีน..สิ ..ัย..ด..รี ..า่ .เ.ร..ิง.แ..จ..ม่..ใ..ส....................................................... ๙. เพลงโปรด.....เ.พ...ล..ง.ค..ิด..ถ..งึ..................................................................................................... ๑๐. อาชพี ในอนาคตของนกั เรยี น.....ค...ร.ู...........................................................................................

9 ใบงานที่ ๑.๔ ภาพลกั ษณ์ของฉนั คำาชี้แจง : ใหนักเรียนบรรยายภาพลักษณตอรางกายของตนเองแบบแยกสวนและโดยภาพรวมรูปรางหนาตา สีผวิ กลนิ่ ตัว ลักษณะของรา งกาย ...........ผ..ิว..ส..ีแ...ท..น............... .........ไ..ม..ม่...กี ..ล..่ิน...ต..วั............ ...-..ไ.ม...ส่ ..ูง..ม..า..ก...น..ัก............... . . .-. . .ไ. .ม. .อ่ . .้ว. . .น. .จ. .น. . .เ.ก. .ิน. . .ไ. .ป. . . . . . . ..................................... ..................................... .................................... .................................... .................................... บคุ ลกิ ภาพ ภาพลักษณโ ดยรวม .......ด..เู.ป...็น...ผ..ใู้ .ห...ญ...ข่..้ึน.......... . . . . . . . . . . . . .ส. .ม. . .ส. .ว่ . .น. . . . . . . . . . . . . . . ..................................... ..................................... .................................... ....................................

10 ใบงานที่ ๑.๕ สาำ รวจตวั เอง คำาช้ีแจง : ใหนักเรียนเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงทางดานรางกายของวัยรุนชายและวัยรุนหญิงลงในตาราง และตอบคําถาม เพศชาย เพศหญิง ๑. มีขนบริเวณอวยั วะเพศ ๑. มขี นบรเิ วณอวัยวะเพศ ๒. มขี นรักแร้ ๒. มีขนรกั แร้ ๓. อวยั วะเพศโตข้ึน ๓. อวัยวะเพศโตขึน้ ๔. มีการหลง่ั นา้ำ อสจุ ิ ๔. มปี ระจาำ เดือน ๕. หนังหมุ้ ปลายองคชาตเปดออก ๕. เอวคอด ๖. มีขนหนา้ แข้ง ๖. สะโพกผายออก ๗. มสี วิ ขนึ้ บนใบหนา้ ๗. มีสิวขึ้นบนใบหนา้ ๘. เสยี งแหบหา้ ว ๘. เสียงเล็กแหลม ๙. ร่างกายเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็ว ๙. ร่างกายเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็ว ๑๐. นมต้ังพาน ๑๐. มหี นา้ อกโตขึน้ จงอธิบายถึงการเปล่ยี นแปลงของวยั รุนมา ๔ ขอ ๑. .เ.ป...ล...ีย่ ..น...แ...ป..ล...ง..ท...า..ง..ร..า่..ง..ก...า..ย....................................................................................................................... ๒. .เ.ป...ล...่ีย..น...แ...ป..ล...ง..ท...า..ง..จ..ิต...ใ..จ..แ...ล..ะ..อ...า..ร..ม...ณ....์ .................................................................................................... ๓. .เ.ป...ล...่ีย..น...แ..ป...ล...ง..ท...า..ง..ส..ัง..ค...ม........................................................................................................................... ๔. .เ.ป...ล..ยี่...น...แ..ป...ล...ง..ท...า..ง..ส..ต...ปิ...ญ...ญ....า..แ..ล...ะ..ก..า...ร..เ.ร..ยี...น...ร..ู้ ........................................................................................

11 เฉลยคำาถามหน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๒ การเจริญเติบโตและพัฒนาการในวัยรุ่น ๑ นักเรียนเคยสังเกตตนเองหรือไมวา ตนเองและเพ่ือนๆ มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการแตกตางกัน หรอื ไม อยางไร เพราะสาเหตุใด ตวั อย่างคำาตอบ เช่น เพอ่ื นๆ รวมทง้ั ตนเองนน้ั มกี ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทแ่ี ตกตา่ งกนั เพอ่ื นบางคนสามารถสงั เกตได้ ชดั เนอื่ งจากมสี ว่ นสงู ที่โดดเดน่ ออกมา บางคนกส็ งู กวา่ เพื่อนๆ ในวยั เดยี วกัน แต่บางคนกเ็ ต้ียกว่าเด็กใน วยั เดียวกัน หรือบางคนกม็ ีนาำ้ หนักตวั ทีม่ ากเกนิ เกณฑ์ ในด้านสตปิ ญญาของแต่ละคนกแ็ ตกต่างกัน เชน่ บางคนเรยี นเกง่ เขา้ ใจเนอ้ื หาไดเ้ รว็ กวา่ คนอน่ื แตบ่ างคนกเ็ รยี นไดช้ า้ กวา่ เพอ่ื น โดยความแตกตา่ งเหลา่ น้ี เกิดเน่ืองมาจากปจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของแต่ละคนแตกต่างกัน ปจจัยดังกล่าว ได้แก่ พันธกุ รรม สง่ิ แวดล้อม ฐานะทางเศรษฐกจิ สภาพแวดลอ้ มทางสังคม และการอบรมเล้ียงดู ๒ การเรียนรูเก่ียวกับปจจัยท่ีมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุนทําใหนักเรียนได ประโยชนอ ยา งไร ตัวอย่างคาำ ตอบ เช่น ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวเรามากขึ้น และสามารถนำาความรู้ ท่ีไดน้ ้มี าใช้ในการดาำ รงชีวติ เช่น เรือ่ งภาวะโภชนาการ การรบั ประทานอาหารใหค้ รบ ๕ หมู่ ชว่ ยให้มี สุขภาวะท่ดี ี ทาำ ให้ระบบในรา่ งกายทำางานอย่างเป็นปกติ ลดโอกาสท่ีจะเกิดการเจ็บไขไ้ ดป้ วย ดังนนั้ ถ้า หากเราต้องการมสี ุขภาพท่ดี ี เจรญิ เตบิ โตและมีพฒั นาการท่ีดี จึงควรใสใ่ จเรือ่ งการดูแลตนเองใหม้ ากขึน้ ๓ นกั เรียนมีวธิ ปี ฏบิ ัติตนอยา งไร เพื่อใหม กี ารเจริญเติบโตตามวยั ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ดูแลรักษาสุขภาพร่างกาย เช่น รับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เลือกรับประทานอาหารท่ีให้แต่ ประโยชน์ และหลีกเล่ยี งอาหารฟาสตฟ์ ูด ออกกำาลังกายเป็นประจาำ สมา่ำ เสมอ เป็นตน้ ๔ นักเรยี นคิดวา อทิ ธพิ ลทางพนั ธุกรรมใดท่สี ง ผลตอ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของตนเอง ตัวอย่างคำาตอบ เชน่ ความสงู โดยมสี ว่ นสงู ทต่ี า่ำ กวา่ เพอ่ื นในรนุ่ เดยี วกนั เนอ่ื งจากไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากทางฝง แม่ ทม่ี สี ่วนสูง ค่อนข้างตำ่า การดื่มนมหรือรับประทานอาหารท่ีช่วยส่งเสริมเรื่องความสูงอาจช่วยได้บ้างเพียงเล็กน้อย หรอื อาจไมม่ ผี ลเลยกบั คนบางกลมุ่ เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ลของพนั ธกุ รรมมมี าก และไมส่ ามารถเปลยี่ นแปลงได้ ๕ สภาพแวดลอมทางสงั คมมผี ลตอ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของนักเรยี นอยา งไร ตัวอย่างคำาตอบ เช่น สภาพแวดล้อมทางสงั คม ไดแ้ ก่ สภาพครอบครัว สงั คมท่อี ย่อู าศัย เป็นต้น ล้วนมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการท้ังส้ิน เน่ืองจากการเติบโตมาจากครอบครัวที่อบอุ่นจึงมีการเจริญเติบโตและ มีพัฒนาการตามวยั เพราะไดร้ บั ความใส่ใจดูแลจากครอบครวั อย่างดี แตก่ รณีเด็กบางคนท่ีเตบิ โตมาจาก ครอบครัวท่ีแตกแยกอาจทำาให้มีพัฒนาการและการเจริญเติบโตที่ล่าช้ากว่าเพ่ือน เน่ืองจากไม่ได้รับการ เอาใจใสอ่ ย่างเพยี งพอ เชน่ เรอื่ งอาหารการกิน การอบรมเล้ียงดู เป็นต้น

12 ๖ ถานักเรียนเปนสริ ินุชนกั เรยี นจะมีวิธีแกปญหาอยา งไร ตวั อย่างคำาตอบ เช่น ขอคำาปรึกษาจากครูประจำาชั้น เกี่ยวกับปญหาท่ีตนประสบมาและต้องการหาทางแก้ไข ท้ังนี้ การปรกึ ษาผปู้ กครองอาจเปน็ เรอ่ื งทส่ี มควรทาำ อยา่ งหนง่ึ แตเ่ ดก็ ในวยั นม้ี กั จะรสู้ กึ วา่ ผปู้ กครองนน้ั ไมเ่ ขา้ ใจตน มกี ารขดั แยง้ กันทางความคิด การขอคำาปรึกษาจากผู้ปกครองอาจเปน็ เรอื่ งยากหรอื อาจไมไ่ ด้ผล ๗ นกั เรยี นคดิ วา ปจ จยั ใดสง ผลกระทบตอ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของสริ นิ ชุ มากทส่ี ดุ เพราะอะไร ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เช่น ปญหาทางการเงิน จากข้อความ ครอบครัวสิรินชุ น่าจะมฐี านะดมี าก่อนเนื่องจากเคยเรยี นโรงเรยี น เอกชน แต่เนื่องมาจากปญหาทางการเงินท่ีทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อชีวิตของเธออย่างกะทันหัน อาจทำาให้เธอไมส่ ามารถปรับตวั ไดท้ นั ทาำ ใหเ้ ธอรสู้ ึกเศร้าและหดห่จู ึงชอบอยู่คนเดยี วเปน็ ประจำา ถ้าไมห่ า ทางแก้ไขสภาวะทางจิตใจ อาจส่งผลไปยงั สภาพร่างกายและกระทบต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการใน ท่ีสดุ ๘ นกั เรยี นคดิ วา สริ นิ ชุ มปี ญ หาการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการอยา งไร ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เชน่ สิรินุชน่าจะมีปญหาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านการส่ือสาร จากข้อความท่ีกล่าวว่าเธอค่อนข้างมี ปญหาในการเข้ากลุ่มกับเพ่ือน เน่ืองมาจากเธอชอบเก็บตัวและใช้เวลาอยู่กับตัวเองมากเกินไปเพราะ สภาพจติ ใจทย่ี ำา่ แย่ จนขาดทกั ษะการพัฒนาด้านการสือ่ สาร การเข้าสงั คมท่ถี กู ตอ้ งเหมาะสม ๙ นอกจากปจจัยดานพันธุกรรม นักเรียนคิดวาปจจัยใดสงผลกระทบตอพัฒนาการดานความคิดของวัยรุน มากทีส่ ุด เพราะเหตุใด ตวั อย่างคำาตอบ เชน่ การอบรมเลยี้ งดขู องพอ่ แมห่ รอื ผปู้ กครอง โดยเดก็ จะสามารถเตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ดี่ ี สามารถแกป้ ญ หา และวางตวั ใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมไดน้ น้ั กต็ อ้ งมาจากการสง่ั สอน การเอาใจใสข่ องผปู้ กครอง เปน็ สำาคญั ๑๐ นักเรียนยกตัวอยางอุปสรรคท่ีอาจกระทบตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของนักเรียน พรอมอธิบาย แนวทางแกป ญ หา ตัวอย่างคาำ ตอบ เชน่ ปญ หาเกย่ี วกบั สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม เนอ่ื งจากอาศยั อยใู่ นชมุ ชนเมอื ง การนอนดกึ ตน่ื เชา้ จงึ เปน็ เรอ่ื งปกติ แตก่ ารขาดการพกั ผอ่ นทเ่ี พยี งพอนน้ั สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการเปน็ ๑ ครอบครวั หนงึ่ มฐี านะปานกลาง มพี อ เปน โรคกระเพาะอกั เสบเรอื้ รงั มแี มส ขุ ภาพรา งกายแขง็ แรงดี และมลี กู สาว อายุ ๑๔ ป อาการปว ยของพอ เปน ปจ จยั ทางพนั ธกุ รรมทส่ี ง ผลตอ การเจรญิ เตบิ โตของลกู หรอื ไม เพราะอะไร ง. ไม่เป็นปจจัยทางพันธุกรรม เน่ืองจากโรคกระเพาะอักเสบเร้ือรัง ไม่เป็นโรคท่ีถ่ายทอด ทางพนั ธกุ รรม เกิดจากพฤตกิ รรมในการกิน และพกั ผอ่ นทไี่ มถ่ กู ต้อง ดงั นัน้ จงึ ไมส่ ่งผลต่อการเจริญเติบโต เหตผุ ล โรคกระเพาะอกั เสบเร้ือรังไม่เปน็ โรคติดตอ่ และไมใ่ ช่โรคถา่ ยทอดทางพันธุกรรม เกดิ จาก พฤติกรรมการดาำ รงชีวติ สว่ นบุคคล จงึ ไม่เปน็ ปจจยั ทางพันธกุ รรมทส่ี ง่ ผลต่อการเจริญเตบิ โตของเดก็ แต่ อาจสง่ ผลทางออ้ มในดา้ นสภาพแวดลอ้ มทพ่ี อ่ ปว ย อาจเกดิ ภาวะเครยี ดได้ และมผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตได้

13 ๒ ชาลีเปนเด็กวัย ๑๔ ป เขาเปนเด็กท่ีมีพัฒนาการทางการเรียนท่ีชามากเม่ือเทียบกับเด็กในวัยเดียวกัน และดวยเหตุที่พอและแมของเขามีอายุมาก ยางเขาสูวัยเกษียณแลว จึงทําใหตองจางพี่เล้ียงมาชวยดูแลเขา เนอ่ื งจากปญหาสขุ ภาพ จงึ แทบไมคอยไดดแู ลชาลีเทา ทค่ี วร ขอ ใดเปนปจจัยท่สี าํ คญั ในการมพี ฒั นาการทาง การเรยี นทีช่ าของชาลี ง. ความผดิ ปกตทิ างพนั ธุกรรมและการเอาใจใส่อบรมเลีย้ งดู เห ตุ ผ ล เน่ืองจากพ่อและแม่ของเขามีอายุมากเกือบถึงวัยเกษียณขณะท่ีเขาเพ่ิงจะ อายุ ๑๔ ป แสดงวา่ พ่อแมม่ ีลูกตอนทอี่ ายุมากแล้ว โดยปกติผู้ท่มี ีบุตรตอนอายมุ ากจะส่งผลตอ่ พฒั นาการ ทช่ี า้ ของเดก็ ทเ่ี กดิ มา บางรายอาจไดล้ กู ทเี่ ปน็ ดาวนซ์ นิ โดรม และดว้ ยทอี่ ายมุ ากและมปี ญ หาสขุ ภาพจงึ จา้ ง พเ่ี ลย้ี งมาดแู ล แตน่ น่ั กท็ ดแทนการอบรมสง่ั สอนและความเอาใจใสข่ องพอ่ แมไ่ มไ่ ด้ แมว้ า่ เดก็ จะมพี ฒั นาการ ท่ีช้า แตก่ ารเอาใจใส่ การอบรมสัง่ สอนจะช่วยใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทด่ี ีขึ้นได้ ๓ ขอใดผิด จ. ข้อ ข. และ ค. ผดิ เหตผุ ล ขอ้ ข. ควรลดการรบั ประทานอาหารฟาสตฟ์ ดู ทกุ ประเภท และการรบั ประทานอาหารประเภท แปงมากเกนิ ไปจะเส่ียงตอ่ การเกดิ โรคอว้ น ควรรับประทานแต่เพียงพอดี ขอ้ ค. แสงแดดเฉพาะในยามเชา้ เทา่ นน้ั ทจี่ ะสามารถเปลย่ี นเปน็ วติ ามนิ ดี และไมส่ ามารถเปลยี่ นเปน็ แรธ่ าตใุ ห้แกร่ า่ งกายได้ ๔ บุคคลในขอใดนาจะมีการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการทด่ี ีที่สุด ข. เอยชอบรับประทานเคเอฟซีมาก แตเ่ ธอได้รบั อนุญาตให้รบั ประทานในปรมิ าณท่จี าำ กัด เน่ืองจาก พอ่ แม่ของเธอไมส่ นับสนนุ ให้รบั ประทานอาหารขยะ เหตุผล การหลีกเล่ียงหรือลดปริมาณการรับประทานอาหารฟาสต์ฟูด จะช่วยลดโอกาสภาวะอ้วน การไดร้ บั สารอาหารทไ่ี มม่ ปี ระโยชนซ์ งึ่ เปน็ อปุ สรรคในการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ และนอกจากนคี้ รอบครวั ของเอยยังแสดงถึงความดูแลเอาใจใส่ลูกอย่างมาก เธอจึงน่าจะเป็นเด็กที่มีโอกาสเจริญเติบโตตามวัยได้ มากกว่าข้ออนื่ ๆ ๕ การเจบ็ ปว ยของบุคคลในขอใดสงผลตอ การเจรญิ เติบโตมากที่สุด ข. หมเี กดิ ภาวะแทรกซอ้ นหลงั จากผ่าตัดหัวใจ เหตผุ ล เนอ่ื งจากขอ้ อน่ื ๆ เปน็ การเจบ็ ปว ยทไ่ี มร่ า้ ยแรง และระยะเวลาในการเจบ็ ปว ยเกดิ ขน้ึ ในชว่ งสน้ั ๆ สามารถรกั ษาใหห้ ายไดร้ วดเรว็ ไมเ่ ปน็ โรคเรอ้ื รงั แตก่ รณขี องหมนี น้ั ตอ้ งใชร้ ะยะเวลาในการพักฟนท่ีนาน ตอ้ งมกี ารตดิ ตามผลหลงั การผา่ ตดั อยเู่ สมอ การเจบ็ ปว ยทย่ี าวนานสง่ ผลโดยตรงตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของเขา อย่างมาก ทาำ ให้จติ ใจหดหู่ ไมส่ ดช่นื และหงดุ หงิดง่าย ทางแก้ปญ หาที่ดที สี่ ุดคือ การจดั ตารางเวลาให้ เหมาะสมเพอ่ื ใหเ้ หลอื เวลาในการพกั ผอ่ นทีเ่ พยี งพอ

14 ๖ เพ็ญศรีเปนเด็กหญิงวัย ๑๔ ป ท่ีฝนวาอยากมีสวนสูงเทากับเพ่ือนในวัยเดียวกัน เธอจึงด่ืมนมวันละ ๒-๓ แกว และวายนาํ้ สปั ดาหล ะ ๒ ครงั้ ทาํ ตอ เนื่องเชน นเ้ี ปน ระยะเวลา ๑ ป จากขอ ความน้ีสามารถสรุป ไดว า อยา งไรบาง จ. ไมส่ ามารถสรปุ ได้ เหตผุ ล การทเี่ ธอตอ้ งการสงู เทา่ กบั เพอ่ื นในวยั เดยี วกนั แสดงวา่ เธอมสี ว่ นสงู ทต่ี าำ่ กวา่ เดก็ ทว่ั ไปในวยั เดียวกัน แต่นัน่ กไ็ มส่ ามารถสรุปได้วา่ พ่อของเธอเต้ยี เพราะเธออาจจะไดร้ บั พนั ธกุ รรมมาจากทางฝา ยแม่ หรอื รนุ่ ปยู า่ ตายายกเ็ ปน็ ได้ การทเ่ี ธอมสี ว่ นสงู เปน็ ไปตามกรรมพนั ธุ์ ซึง่ แม้เธอจะพยายามที่จะตอ้ งการสงู ก็ อาจไม่เป็นผล แต่เราไม่สามารถจะรู้ได้วา่ เธอจะสูงขนึ้ หรือสงู ข้ึนเทา่ ไหร่ เน่ืองจากยังต้องอาศยั ปจจัยอืน่ ในการวิเคราะห์ เชน่ ประจำาเดือนของเธอมาเม่ือไหร่ สภาพแวดล้อม ฐานะทางการเงิน เปน็ ตน้ ๗ ความผิดปกติของโครโมโซม อาจสงผลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กโดยตรง แตปจจัยอื่นๆ ก็มีความสําคัญไมแพกัน เชน สิ่งแวดลอมที่เด็กเติบโตขึ้นมา การอบรมเลี้ยงดูจากผูปกครอง เปนตน เดก็ บางคนเติบโตมาในครอบครัวที่ยากจนแตก็สามารถเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่ดีเยี่ยม บางคนเกดิ มาในครอบครวั ท่ดี ี พอแมม สี ตปิ ญ ญาสงู แตลกู กลบั มีพฒั นาการทางสมองท่ชี า ดังน้นั ทุกๆ ปัจจัยจึงมีผล ตอ การเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ขน้ึ อยกู บั ปจ จยั ในขอ ใดจะมผี ลกบั พวกเขามากนอ ยแตกตา งกนั ไป ขอ ใดไมส ามารถ สรปุ ไดจ ากขอ ความขา งตน ก. ความผดิ ปกตขิ องโครโมโซมไมเ่ ปน็ ปจ จยั สำาคญั ต่อการเจริญเตบิ โตของเด็ก เหตผุ ล ความผดิ ปกตขิ องโครโมโซมเปน็ ปจ จยั สาำ คญั ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของเดก็ แตไ่ มใ่ ชป่ จ จยั เดยี ว ทีส่ ำาคญั ปจจัยอน่ื ๆ ก็สาำ คัญเช่นกนั ๘ จากขอ ๗ จากขอความ “พอแมมีสติปญญาสูง แตลูกกลับมีพัฒนาการทางสมองที่ชา” มีความ เปนไปไดห รือไม อยางไร ค. เปน็ ไปได้ เนือ่ งจากปจจัยอน่ื ๆ อาจสง่ ผลต่อพฒั นาการของเด็กมากกวา่ พันธกุ รรม เหตผุ ล แม้วา่ พ่อแม่จะมสี ติปญญาท่ีดี แตถ่ ้าสภาพแวดล้อมทเ่ี ด็กอาศัยอยนู่ นั้ ไม่เหมาะสม มีปจจยั ต่างๆ กระทบตอ่ จติ ใจ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของเด็กกม็ ีโอกาสเป็นไปไดส้ งู วา่ เดก็ อาจจะไมไ่ ดม้ ี พัฒนาการท่ดี ีเท่าทีค่ วรนกั ๙ สุนียกําลังวิเคราะหวาปจจัยใดท่ีทําใหตนน้ันมีน้ําหนักตัวท่ีมากเกินเกณฑ และมีสัดสวนโครงสราง ทีใ่ หญกวา เด็กโดยทัว่ ไป ปจจัยน้ันสามารถเปนขอใดไดบา ง จ. ถกู ทกุ ขอ้ เหตผุ ล สามารถเปน็ ไปไดท้ กุ ขอ้ สนุ ยี อ์ าจจะอว้ นเนอ่ื งมาจากพนั ธกุ รรม หรอื อาจจะเปน็ จากประเภท และปรมิ าณอาหารที่รับประทาน หรืออาจจะเปน็ ทงั้ สองอยา่ ง ฐานะการเงินของครอบครัวที่ดกี เ็ ปน็ ปจจัย ในการสง่ เสรมิ เรอื่ งอาหารการกนิ ทด่ี ี สดุ ทา้ ยการขาดการออกกาำ ลงั กายกเ็ ปน็ สาเหตทุ ส่ี าำ คญั ของภาวะอว้ น อีกดว้ ย ๑๐ ขอ ใดกลา วถูกตอง ง. ข้อ ก. และ ข. เหตผุ ล ขอ้ ค. ผดิ เนอื่ งจากปจ จยั แตล่ ะปจ จยั ของแตล่ ะบคุ คลแตกตา่ งกนั ปจ จยั ดา้ นฐานะเศรษฐกจิ อาจส่งผลต่อครอบครัวนน้ี ้อย แตอ่ าจส่งผลอยา่ งมากต่ออีกครอบครวั หนง่ึ

15 ๑. _จ_._ ๖. _ก_._ ๒. _ค_. ๗._ญ__. ๓._ฌ__. ๘. _ซ__. ๔._ฉ__. ๙. _ช_._ ๕._ข_._ ๑๐._ง_._ ใบงานท่ี ๒.๑ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการในแตล่ ะวัย คาำ ชีแ้ จง : ใหนกั เรยี นสัมภาษณบุคคลในบานหรือบคุ คลในชวงวยั ตางๆ และบันทกึ ขอ มลู การเจรญิ เติบโต และพัฒนาการ พรอมทั้งวิเคราะหตามหวั ขอ ท่ีกําหนดให อยู่ในดุลยพนิ จิ ของครู ตัวอยา่ งคำาตอบ เชน่ การเจรญิ เติบโต พฒั นาการ หัวข้อวิเคราะห์ ชว่ งวัย นำา้ หนกั (kg) ส่วนสงู (cm) วัยทารก ๘ kg ๗๐ cm .-..เ.ร..่ิม..ป...ร..ับ..ต...วั ..เ.ข..้า..ก...บั .......... มีพฒั นาการที่ ...ส..ิง่..แ...ว..ด..ล..้อ...ม..ไ..ด..้............. เหมาะสมหรือไม .-..ไ.ม...ส่ ..า..ม..า..ร..ถ...ค..ว..บ...ค..ุม......... ...ก...ล..า้ ..ม..เ.น...้ือ..ไ..ด..้................ เหมาะสม .-..ม..ปี...ฏ..กิ...ริ .ิย...า..ต..อ...บ..ส..น...อ..ง..... ไมเหมาะสม ...ต...อ่ ..ส..่ิง..เ.ร..า้....................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... .................................

16 ช่วงวยั การเจรญิ เติบโต พฒั นาการ หัวข้อวิเคราะห์ นำา้ หนกั (kg) สว่ นสงู (cm) วัยเด็ก ๒๖ kg ๑๒๙ cm .-..ส..า..ม..า..ร..ถ...ค..ว..บ...ค..มุ............. มีพฒั นาการที่ วัยรนุ ๕๔ kg ๑๖๐ cm ...ร..า่..ง..ก..า..ย..แ...ล..ะ..อ..ว..ยั...ว..ะ....... เหมาะสมหรอื ไม ...ต...า่ ..ง.ๆ.....ไ.ด...ด้ ..ี.................. เหมาะสม .-..แ..ส..ด...ง..อ..อ..ก...อ..ย..่า..ง..เ.ป...ด ..เ.ผ...ย. .-..เ.ร..่ิม..ใ..ห..ค้...ว..า..ม..ส...ำา.ค...ัญ.......... ไมเ หมาะสม ...ก...ับ..ก..ล...มุ่ ..เ.พ...่ือ..น................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. .-..ร..่า..ง..ก..า..ย..ม...ีเ.ป..ล...่ีย..น...แ..ป..ล...ง.. มีพฒั นาการที่ . . . .ท. .กุ . .ร. .ะ. .บ. . .บ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เหมาะสมหรือไม .-. .อ. .า. .ร. .ม. . .ณ. . .แ์ . .ป. . .ร. .ป. .ร. .ว. .น. . .ง. .่า.ย. . . . .-..เ.ป...น็ ..ต...วั ..ข..อ..ง..ต...ัว..เ.อ..ง.......... เหมาะสม ...................................... ไมเหมาะสม ...................................... ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ...................................... ................................. ถา แตล ะชว งมพี ฒั นาการทไ่ี มส อดคลอ งกบั การเจรญิ เตบิ โตจะเกดิ ผลเสยี อยา งไร ..............ถ...า้ ..แ..ต..ล่...ะ..ช..ว่ ..ง..ว..ยั ..ม...พี ...ฒั ...น..า..ก...า..ร..ท..ี่.ไ..ม..ส่...อ..ด..ค...ล..อ้...ง.ก...บั ..ก...า..ร..เ.จ..ร..ญิ ...เ.ต...บิ ..โ..ต..จ..ะ..เ.ก...ดิ ..ผ...ล..เ.ส...ยี ...ค..อื....อ..า..จ..ท...าำ ..ใ.ห...ร้ ..า่ ..ง.ก...า..ย.. ม...กี...า.ร..เ..จ..ร..ญิ ...เ.ต...บิ ..โ..ต..เ..ร..็ว..ก..ว..า่..ป...ก..ต...ิห..ร..อื...ช..า้..ก...ว..า่ ..ป..ก...ต..ไิ..ด...้ ........................................................................................ ......................................................................................................................................................................

17 ใบงานท่ี ๒.๒ ความหมายของการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการ คาำ ช้แี จง : ใหน ักเรียนอธบิ ายความหมายของการเจริญเติบโตและพฒั นาการ การเจริญเตบิ โต พัฒนาการ คือ กระบวนการพัฒนา คอื กระบวนการเปล่ียนแปลง ตอ่ เนอ่ื งเป็นแบบแผนตามลำาดบั ข้นั ของมนุษย์ต้ังแต่แรกเกิดจนเสียชีวิต ความกา้ วหน้าของพฒั นาการ ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงท้ังทางร่างกาย จำาเป็นตอ้ งมปี ระสบการณใ์ หม่ จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญญา เข้ามารวมกบั ประสบการณเ์ ก่า และเกิดความสามารถใหม่ขนึ้

18 ใบงานที่ ๒.๓ ปจ จยั ท่มี ีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการ คำาชี้แจง : ใหน กั เรยี นระบปุ จ จยั ทมี่ ผี ลกระทบตอ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทางดา นรา งกาย จติ ใจ อารมณ สงั คม และสติปญญาของวัยรุน รา งกาย อารมณ ........๑......พ..นั...ธ..ุก...ร.ร..ม....................... .............๑......พ...ัน..ธ..ุก...ร..ร..ม................. ........๒......อ..า..ห...า..ร........................... .............๒......ส...งิ่ .แ...ว..ด..ล...้อ..ม............... ........๓......ก..า..ร..อ..อ...ก..ก...ำา.ล...ัง..ก..า..ย.......... ................................................. จิตใจ การเจรญิ เตบิ โต .............๑.....พ...นั...ธ..กุ ..ร..ร..ม.................. และพฒั นาการ .............๒......ส..ง่ิ ..แ..ว..ด...ล..้อ..ม................ สตปิ ญญา ................................................. .............๑......พ...นั ..ธ..กุ...ร..ร..ม................. .............๒......ก...า..ร.เ..ร..ีย..น..ร..ู้............... สงั คม . . .๑. . ... .ส. .งิ่ . .แ. .ว. .ด. . .ล. .้อ. .ม. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ...๒......ข..น...บ..ธ...ร..ร..ม..เ.น...ยี ..ม...ป..ร..ะ..เ.พ...ณ...ี... ................................................. ใบงานที่ ๒.๔ พัฒนาการของฉัน คำาช้แี จง : ใหนักเรียนหาภาพของตนเองในวัยตางๆ ๔ ระยะ คือ ต้ังแตแรกเกิดจนถึงอายุ ๑ ขวบ ตั้งแต อายุ ๒-๔ ขวบ ตง้ั แตอ ายุ ๕-๘ ขวบ และต้ังแตอายุ ๙ ขวบ จนถึงอายุปจจุบันมาติดในใบงานนี้ แลว ตอบคาํ ถาม ข้ึนอย่กู ับสภาพจรงิ ของนักเรียน อย่ใู นดลุ ยพินิจของครู

19 เฉลยคาำ ถามหนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ เจตคติในเรื่องเพศ ๑ นักเรียนมคี วามเช่ือและความเขา ใจในเร่อื งเพศอยา งไรบา ง และรับรูขอ มูลนนั้ จากแหลง ใด ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงทางเพศทเ่ี กดิ ขน้ึ ในแตล่ ะบคุ คลแตกตา่ งกนั อนั เนอ่ื งมา จากฮอรโ์ มนเพศเปน็ ตวั กาำ หนด ซง่ึ การทผ่ี หู้ ญงิ บางคนมขี นหนา้ แขง้ มาก มหี นวดขน้ึ หรอื เปน็ สวิ เหลา่ นน้ั ลว้ นเกดิ มาจากระดบั ปรมิ าณของฮอรโ์ มนเพศชายมผี ลทาำ ใหเ้ กดิ ทง้ั เพศหญงิ และชายจะมฮี อรโ์ มนเพศหญงิ และชายอยทู่ ง้ั สองฮอรโ์ มน ซง่ึ แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะบคุ คล ทาำ ใหแ้ ตล่ ะคนมลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป และ การทม่ี ปี รมิ าณขนตามรา่ งกายทม่ี ากไมไ่ ดแ้ สดงถงึ การมคี วามตอ้ งการทางเพศทส่ี งู แตเ่ ปน็ ผลมาจากฮอรโ์ มน ขอ้ มลู เหลา่ นไ้ี ดร้ บั ผา่ นทางสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ บวกกบั การทไ่ี ดศ้ กึ ษาในหอ้ งเรยี นประกอบกนั ๒ นกั เรยี นคดิ วา ครอบครวั เพอ่ื น สอ่ื และวฒั นธรรม มผี ลตอ เจตคตทิ างเพศของตวั นกั เรยี นอยา งไรบา ง จงยกตวั อยา ง ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ครอบครวั มผี ลต่อเจตคติทางเพศคอื มองว่าเพศเป็นเรือ่ งนา่ อาย ไมค่ วรพูด คยุ แลกเปลี่ยนข้อมูล หรอื ขอคาำ ปรึกษา ควรเรียนรูด้ ้วยตนเอง เพ่ือนและสื่อ มผี ลต่อเจตคตทิ างเพศอย่างมาก เนอ่ื งจากความรูส้ ึกเปน็ อิสระท่ีจะคิด พูด หรือค้นหา สิ่งท่ีสงสัยต้องการข้อมูลเกี่ยวกับเร่ืองเพศ หรือการสนทนาเร่ืองเพศ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเพ่ือน และหาข้อมลู จากสอื่ ไดโ้ ดยไม่มคี วามรู้สกึ วา่ มันเป็นเรือ่ งผิดปกติ ไม่รูส้ ึกเขนิ อาย วฒั นธรรม มผี ลตอ่ เจตคตทิ างเพศคอื เรอ่ื งเกย่ี วกบั การรกั นวลสงวนตวั การไมช่ งิ สกุ กอ่ นหา่ ม วฒั นธรรม ที่ดีสง่ ผลให้มเี จตคตทิ ดี่ ี และนาำ ไปสูพ่ ฤติกรรมการแสดงออกทเ่ี หมาะสม ๓ นกั เรยี นคดิ วา สภาพสงั คมไทยในปจ จบุ นั วยั รนุ สว นใหญม เี จตคตใิ นเรอ่ื งเพศอยา งไร ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ในปจ จบุ นั เปน็ สงั คมพหวุ ฒั นธรรม วยั รนุ่ สามารถเลอื กรบั เจตคตทิ หี่ ลากหลาย โดยไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากสอ่ื ตา่ งๆ ทาำ ใหว้ ยั รนุ่ มเี จตคตทิ เ่ี ปลย่ี นไป สง่ ผลตอ่ การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปลย่ี นแปลงไปเชน่ กนั เพราะฉะนั้นวัยรุ่นควรเลือกรับเจตคติให้เหมาะสมกับวัฒนธรรมของตนเอง เจตคติของวัยรุ่นในปจจุบัน เชน่ การแสดงออกทางเพศทีเ่ ปดเผย ๔ เพื่อนเปนปจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลตอเจตคติในเร่ืองเพศ นักเรียนมีความรูเร่ืองเพศเร่ืองใดท่ีจะบอก เพ่อื นใหป ฏบิ ัติตนไดอยา งถกู ตอ งเหมาะสม ตัวอย่างคำาตอบ เช่น อธิบายเก่ียวกับความหลากหลายทางเพศ เน่ืองจากสังคมในปจจุบันมีความ หลากหลายทางเพศ ทุกคนควรเคารพในสทิ ธิทางเพศของผอู้ ่นื เช่น ควรเคารพในสิทธิเนื้อตัวรา่ งกายของ ตนเองและผอู้ นื่ และไมถ่ ือสทิ ธิเหนือเนอ้ื ตัวรา่ งกายของผอู้ น่ื รจู้ ักคณุ คา่ ของตนเองและผ้อู ่นื แสดงกริ ยิ า วางตัวท่เี หมาะสม ๕ นักเรียนเคยขอคําปรึกษาหรือสอบถามขอมูลผปู กครองเก่ยี วกับเร่อื งเพศหรือไม เร่อื งอะไร และเหตุใดจึงขอ คําปรกึ ษากบั ผูปกครองมากกวาเพอ่ื น หรือหาขอ มูลจากทางเลอื กอืน่ ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ปรึกษาเก่ยี วกับเรอ่ื งประจำาเดือนท่มี าไมป่ กติ การปรึกษาผู้ปกครองน่าจะชว่ ย แกท้ างออกไดร้ วดเร็วพร้อมช่วยหาทางแกท้ มี่ ีประสิทธภิ าพมากท่สี ุด

20 ๖ นักเรยี นมคี วามคิดอยางไรเก่ียวกบั เจตคติในเร่ืองเพศของมาเรียม ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ มาเรยี มมคี วามเชื่อและเข้าใจเกี่ยวกับเรือ่ งเพศทผี่ ิด เน่ืองจากการมหี น้าอกที่ ใหญ่ไม่ไดม้ ีผลกับความตอ้ งการทางเพศ และจากข้อความ เพอ่ื นเป็นปจ จยั ทาำ ใหเ้ ธอเชื่อและเข้าใจผดิ อกี ทง้ั ครอบครวั ยงั เปน็ อกี หนงึ่ อทิ ธพิ ลทสี่ ง่ ผลตอ่ เจตคตขิ องเธอ เนอื่ งจากเธอรสู้ กึ วา่ การปรกึ ษาเรอื่ งเพศกบั ครอบครวั หรือผู้ปกครองเปน็ เรือ่ งทนี่ า่ อาย ๗ ถา นกั เรยี นเปน มาเรยี ม นกั เรยี นจะมวี ธิ แี กป ญ หาอยา งไร ตัวอยา่ งคำาตอบ เชน่ ศกึ ษาข้อมูลผา่ นทางอนิ เทอร์เน็ต เม่อื รู้ขอ้ มลู ทแี่ ทจ้ ริงจะทำาให้เจตคตเิ รื่องเพศ ทเี่ ข้าใจผดิ นัน้ เปลย่ี นไป ทาำ ให้ลดความกงั วลใจและควรปรกึ ษาบุคคลทไี่ ว้วางใจ เช่น ผู้ปกครองหรือครู ๘ ความเชอ่ื และความเขา ใจผดิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งเพศของนกั เรยี นเรอ่ื งใดทส่ี ง ผลกระทบตอ การดาํ รงชวี ติ ของนกั เรยี น ตัวอย่างคำาตอบ เช่น เลือดประจำาเดือนเป็นสิ่งสกปรก ต้องทำาความสะอาดโดยสบู่และน้ำายากำาจัด เชอื้ โรค ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ คอื อวยั วะเพศเกดิ การอกั เสบเนอ่ื งจากบรเิ วณอวยั วะเพศเปน็ จดุ ทบี่ อบบาง การทาำ ความ สะอาดเปน็ สง่ิ ทจ่ี าำ เปน็ แตก่ ารทาำ ความสะอาดโดยใชส้ ารชาำ ระลา้ งทร่ี นุ แรงเกนิ ความจาำ เปน็ จะทาำ ใหเ้ กดิ การ ระคายเคืองได้ ๙ นักเรียนเคยมีความกงั วลเก่ยี วกบั เรอื่ งเพศหรอื ไม อยา งไร และนกั เรียนมวี ิธแี กไขปญ หาอยางไร ตวั อย่างคำาตอบ เชน่ เป็นปกตสิ ำาหรับวยั รนุ่ ท่ตี ้องเกดิ ความกังวลเก่ียวกบั เรือ่ งเพศ ซง่ึ ความกงั วลที่ เคยประสบมา ไดแ้ ก่ การเปลีย่ นแปลงทางเพศ กอ่ ใหเ้ กิดความกังวลและไม่กล้าท่ีจะไปปรึกษาผปู้ กครอง หรอื ปรกึ ษาแพทย์ เนอื่ งจากมองวา่ เปน็ เรอ่ื งนา่ อาย แตเ่ มอ่ื ลองศกึ ษาหาขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง เจตคตเิ กยี่ วกบั เรอื่ งเพศบางเรอื่ งกเ็ ปลยี่ นไป จงึ ลดความเปน็ กงั วลลงได้ แตค่ วรใชว้ จิ ารณญาณเลอื กรบั ขอ้ มลู และปรกึ ษา ผู้ปกครองหรอื ครู ๑๐ นกั เรยี นมคี วามคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ขอ ความ “อยา ชงิ สกุ กอ นหา ม” อยา งไร ตัวอย่างคำาตอบ เช่น ข้อความนี้เป็นการสะท้อนวัฒนธรรมที่เหมาะกับสังคมไทย เนื่องจากวัยรุ่น เปน็ วยั ทค่ี วรใสใ่ จในดา้ นการเรยี นและใชช้ วี ติ อยา่ งคมุ้ คา่ แตก่ ารมคี วามรกั กไ็ มใ่ ชเ่ รอื่ งผดิ แตค่ วรตระหนกั ถึงหนา้ ทีข่ องตนเสมอเพอื่ ไม่ใหเ้ กดิ เปน็ ความผิดพลาด ๑ วลีมีการแสดงออกพฤติกรรมทางเพศที่ไมคอยเหมาะสม เน่ืองจากเธอมักจะแสดงความรักกับแฟนหนมุ ของเธอตอ หนา สาธารณชน ทาํ ใหเ ปน ทว่ี พิ ากษว จิ ารณข องผใู หญท พ่ี บเหน็ เปน จาํ นวนมาก พฤติกรรมของ เธอเปนผลมาจากขอ ใด ง. เจตคติเรื่องเพศของเธอ มองวา่ เป็นเรอื่ งปกตทิ จ่ี ะแสดงความรกั กนั กบั เพศตรงขา้ ม เหตุผล พฤติกรรมทไี่ มเ่ หมาะสมน้นั เปน็ ผลมาจากเจตคตทิ ี่ไมถ่ ูกตอ้ ง ๒ ขอ ใดคือเจตคตทิ างเพศท่ีเหมาะสมกับวฒั นธรรมไทย ค. รกั นวลสงวนตวั เหตุผล ทกุ คนไม่ว่าจะเพศใดควรรกั นวลสงวนตวั วางตัวต่อผูอ้ ่นื อยา่ งเหมาะสม เคารพในสทิ ธเิ นื้อ ตัวรา่ งกายของตนเองและผอู้ น่ื

21 ๓ การเผยแพรข อ มูลขาวสารเร่อื งเพศจากขอ ใดเสี่ยงตอ การมเี จตคติทางเพศทไ่ี มเ หมาะสมของวยั รุน ก. รายการโทรทัศน์เก่ียวกับเรื่องเพศท่ีอยู่ในการจัดเรต ฉ สัญลักษณ์รูปสายฟาสีแดง ตามด้วย ตวั อักษร ฉ. ฉิ่ง เหตผุ ล รายการทางโทรทศั นท์ ถ่ี กู จดั อยใู่ นการจดั เรต ฉ.ฉงิ่ เปน็ รายการทเ่ี หมาะสาำ หรบั ผใู้ หญเ่ ทา่ นนั้ บางรายการอาจมภี าพทไ่ี มเ่ หมาะสม หากเปน็ รายการทสี่ อื่ เกยี่ วกบั เรอื่ งเพศ อาจทาำ ใหว้ ยั รนุ่ เขา้ ใจผดิ หรอื มเี จตคตทิ างเพศทเ่ี ปลีย่ นไป ๔ ความคิดเก่ียวกับเร่ืองเพศในวัยรนุ ขอใดไมเหมาะกบั สงั คมไทย จ. เมอื่ ตอ้ งการมีเพศสัมพนั ธ์ในวัยเรียนควรปองกนั ด้วยการรบั ประทานยาคมุ กำาเนิดฉุกเฉิน เหตุผล ควรปองกันอย่างเหมาะสม เช่น การใส่ถุงยางอนามัยเม่ือมีเพศสัมพันธ์ การรับประทาน ยาคุมกำาเนิดฉุกเฉินไม่ใช่วิธีปองกันที่ดีท่ีสุด เสี่ยงก่อให้เกิดการต้ังครรภ์ไม่พร้อมและเกิดโรคติดต่อ ทางเพศสมั พนั ธ์ ๕ วิชดุ ามีพฤตกิ รรมทางเพศทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป คอื ชอบแตงกายท่เี ปด เผยเน้อื หนงั มากข้นึ ชอบไปเทย่ี วในเวลา กลางคนื แมจ ะถกู วา กลาวจากพอ แมแตเธอกม็ ักจะเถยี งกลบั วาพอกับแมเ ปน คนหวั โบราณสมยั นี้โลกเปลีย่ น ไปแลว เราควรปรับตวั ใหม การเปลยี่ นแปลงของเธอนา จะมาจากสาเหตุขอใด ง. การเลยี นแบบพฤตกิ รรมการแตง่ กายและความคดิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งเพศผา่ นสอ่ื โทรทศั นแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็ เหตผุ ล การรับชมส่ือทป่ี ราศจากวจิ ารณญาณและการใหค้ ำาแนะนาำ จากผ้ปู กครอง อาจทำาให้เกดิ การ เลยี นแบบตัวอย่างทไี่ ม่เหมาะสม ในวยั รุน่ ซึง่ เปน็ วัยที่อยากรู้ อยากลองได้ ๖ เจนสุดาเติบโตมาในครอบครัวที่พอแมคอนขางใหอิสระทางความคิด เธอสามารถปรึกษาพอกับแมไดทุก เร่ือง เธอมักจะนําเร่ืองท่ีพูดคุยกับเพ่ือนหรือเลาวาเพื่อนท่ีโรงเรียนเปนอยางไรมาเลาใหพอและแมฟงอยู บอยๆในบางครั้งก็มีขอสงสัยหลังจากการรับชมสื่อทางโทรทัศนหรืออินเทอรเน็ต ปจจัยในขอใดที่มีอิทธิพล ตอ เจตคตใิ นเร่ืองเพศของเจนสดุ ามากทสี่ ดุ ข. การอบรมและการให้คาำ แนะนำาเรอื่ งเพศจากพ่อและแม่ เหตุผล จากข้อความระบวุ า่ เจนสดุ ามคี วามสนทิ สนมกับครอบครัว สามารถปรึกษาไดท้ ุกเรื่อง ดงั นน้ั พอ่ และแมข่ องเธอจงึ เข้ามามีอทิ ธิพลอย่างมากในเรือ่ งเจตคตทิ างเพศ ๗ วนั ชยั เขา ใจวา คนทส่ี าํ เรจ็ ความใครด ว ยตนเองเปน คนทผ่ี ดิ ปกตทิ างจติ เพราะเขา ใจวา คนโดยทว่ั ไปไมป ฏบิ ตั กิ นั ขอใดกลา วถูกตองเก่ยี วกับความเช่อื และความเขาใจของวนั ชยั ก. เปน็ ความเชื่อและความเข้าใจทีผ่ ดิ เนือ่ งจากไมเ่ ก่ยี วกับการปวยทางจติ แต่เป็นวิธีการลดความ กดดนั ทางเพศ เหตุผล การสำาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ไม่ได้แสดงว่าเป็นผู้ปวยทางจิต หรือคนท่ีมีความต้องการ ทางเพศสงู แต่เปน็ เพียงการระบายอารมณ์ทางเพศวิธหี นงึ่ ซงึ่ เป็นธรรมชาติ ๘ การมีความเช่อื และความเขาใจผดิ เก่ียวกับเรื่องเพศ ขอ ใดสง ผลรา ยแรงที่สดุ ค. ไม่ควรทาำ ความสะอาดอวยั วะเพศเนอ่ื งจากเปน็ สิง่ ท่นี า่ รังเกียจและสกปรก เหตุผล การไม่ทำาความสะอาดอวัยวะเพศอาจทำาให้เกิดการสะสมของเช้ือแบคทีเรีย อาจทำาให้เกิด โรคและมีกลนิ่ ที่ไมพ่ ึงประสงค

22 ๙ ขอ ใดถูกตอง ก. ๑ และ ๒ เหตุผล ๓. สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ มที ง้ั ประโยชนแ์ ละโทษขน้ึ อยกู่ บั การเลอื กใชง้ านและวจิ ารณญาณในการรบั ชมสอ่ื วยั รนุ่ อาจไดร้ บั ความรแู้ ละมคี วามเขา้ ใจทางเพศมากขน้ึ จากการหาขอ้ มลู ผา่ นสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ ๔. เพอื่ นอาจเปน็ หรอื ไมเ่ ปน็ ตวั แปรหลกั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลมากทสี่ ดุ ในการสรา้ งเจตคตขิ องวยั รนุ่ ขนึ้ อยกู่ บั สิ่งแวดล้อมอืน่ ๆ ด้วย ทำาใหป้ จ จยั ทมี่ ีอิทธพิ ลอาจมาจากหลายปจ จยั และแตกต่างกนั ไปในแต่ละบุคคล ๑๐ การมีความเชื่อและความเขา ใจเกี่ยวกับเรอ่ื งเพศที่ถูกตอง จะกอ ใหเ กดิ ประโยชนอ ยางไร ง. ขอ้ ก และ ข เหตุผล การมีความเชื่อและความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเพศท่ีถูกต้องช่วยให้มีเจตคติท่ีถูกต้องและ สามารถแสดงออกทางเพศได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากน้ียังสามารถนำาไปอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ สิ่งท่ีถูกต้องและเหมาะสมไดอ้ ีกด้วย ๑. _ช_._ ๖. _ข_._ ๒._ฉ__. ๗._ก_._ ๓._จ_._ ๘. _ญ__. ๔._ง_._ ๙. _ซ_._ ๕._ค__. ๑๐._ฌ__. ใบงานที่ ๓.๑ เจตคติในเร่อื งเพศ คำาชี้แจง : จงเขียนเคร่ืองหมาย หนาขอท่ีเห็นวาถูก และเขียนเครื่องหมาย หนาขอท่ีเห็นวาผิด แลว แกไ ขใหถ กู ตอ ง

23 ขอ้ ความ ขอ้ ความทแ่ี กไ้ ข ๑. คนทเ่ี ปลย่ี นคนู อนบอ ยๆ เสย่ี งตอ การตดิ โรค .............................................................. ตดิ ตอ ทางเพศสมั พนั ธ .............................................................. ๒. คนสว นใหญคดิ วา เรือ่ งเพศเปน เรอื่ ง .............................................................. ตอ งหา ม .............................................................. ๓. วยั รนุ ไมส นใจเรือ่ งเพศ ว...ัย..ร..่นุ ..ส...น..ใ..จ..เ.ร..ือ่ ..ง..เ.พ...ศ................................. ๔. ครอบครวั ไมไ ดม อี ิทธพิ ลตอ เจตคตใิ น .............................................................. เรอื่ งเพศ ค...ร..อ..บ...ค..ร..ัว..ม...ีอ..ิท...ธ..ิพ..ล...ต..่อ...เ.จ..ต..ค...ต..ิใ..น.............. เ..ร..่ือ..ง..เ.พ..ศ................................................... ๕. เพอื่ นมีอิทธิพลตอเจตคติในเร่ืองเพศ ............................................................... ............................................................. ๖. วัฒนธรรมของแตละชาตยิ อ มสง ผลตอ การมีคา นยิ มในเรอื่ งเพศทแี่ ตกตางกนั ............................................................... ............................................................... ๗. การรกั นวลสงวนตวั เปน คา นยิ มทเ่ี พศหญงิ ควรปฏบิ ตั เิ ทา น้ัน .ก..า..ร..ร..ัก..น...ว..ล..ส...ง..ว..น..ต...ัว..เ.ป...็น...ค..่า..น...ิย..ม...ท..ี่.......... .ท..ุก..เ..พ..ศ...ค..ว..ร..ป...ฏ..บิ...ตั ..ิ................................... ๘. ไมว า เพศใดควรมสี ทิ ธทิ างเพศเทา เทยี มกนั ............................................................... ๙. การกอ คดเี รื่องเกย่ี วกับเพศ ............................................................... สวนใหญเกิดจากคนใกลชิด ............................................................... ............................................................... ๑๐. ถา แตง งานแลว หากมที ศั นคติ ............................................................... เรอ่ื งเพศไมตรงกนั ก็ควรหนั มา ............................................................... ปรกึ ษาหาทางออกรวมกัน ไมควร ............................................................... หาทางออกดว ยการหยารา ง ...............................................................

24 ใบงานท่ี ๓.๒ ปจจยั ท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อเจตคตใิ นเรือ่ งเพศ คาำ ชแี้ จง : ใหนกั เรียนอธบิ ายปจจัยตางๆ ท่มี ีอิทธพิ ลตอ เจตคติในเร่ืองเพศ ปจ จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง คาำ อธบิ าย ครอบครวั ครอบครัวมีส่วนช่วยสร้างเสริมการเรียนรู้ในการมีเจตคติในเร่ืองเพศ และการแสดงออกทางเพศอย่างเหมาะสม ต้ังแต่การใช้ชีวิตอยู่กับ เพือ่ น ครอบครัวและบทบาททางเพศของตนเอง เพอื่ นทอี่ ยูใ่ นวยั เดียวกัน มรี สนยิ มและสนใจในเรื่องตา่ งๆ เหมอื นกนั จะช่วยทาำ ให้มีเจตคติในเรื่องเพศท่เี ปลย่ี นไป สือ่ ตา งๆ การได้รบั ข้อมลู ขา่ วสารจากสิง่ ต่างๆ ส่งผลใหม้ เี จตคติ พฤติกรรมทาง วฒั นธรรม เพศท่ีเปล่ียนแปลงไป ซึ่งส่ือเป็นท่ีให้ข้อมูลความรู้และการแสดงความ คิดเห็นอยา่ งเปด กวา้ งเกย่ี วกบั เรอื่ งเพศ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ในปจ จบุ นั ทาำ ใหว้ ฒั นธรรมตา่ งๆ เขา้ มามอี ทิ ธพิ ล ต่อวัยรุ่นโดยเฉพาะพฤติกรรมทางเพศ ใบงานที่ ๓.๓ ความเข้าใจผดิ เก่ียวกับเรอื่ งเพศ คาำ ชี้แจง : ใหนักเรียนยกตัวอยา งความเขาใจผดิ เกี่ยวกบั เร่อื งเพศแลววิเคราะหความเชอื่ นั้นใหถ ูกตอ ง คำาตอบขน้ึ อยู่กบั นักเรียน อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครู ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ความเข้าใจผิดเก่ียวกับเร่ืองเพศในเร่ือง การใส่ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์แสดงถึง ความไม่ไว้วางใจกัน ขอ้ เทจ็ จรงิ การใสถ่ งุ ยางอนามยั เปน็ การคมุ กาำ เนดิ วธิ หี นง่ึ ซงึ่ เปน็ การปอ งกนั การตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม และโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ ถอื วา่ เป็นการปองกนั ความเสยี่ งต่างๆ ท่ีอาจเกดิ ขึ้นจากการมีเพศสมั พนั ธ์ ไม่เก่ียวข้องกับความไว้วางใจ ถ้าจะทดสอบความไว้วางใจควรดูที่พฤติกรรมการแสดงออกด้วยการมี ความรบั ผิดชอบและความซือ่ สัตย์มากกว่า

25 ใบงานท่ี ๓.๔ เจตคตใิ นเรื่องเพศ คำาชแ้ี จง : ใหนักเรียนอานเรือ่ งเจตคตใิ นเรอื่ งเพศแลว ตอบคาํ ถาม ๑. จากขอความทีก่ ลาวมาขา งตน นักเรียนเห็นดว ยกบั เจตคติในเรอื่ งเพศตามขอใด เพราะเหตใุ ดจึงเปนเชนน้ัน คำาตอบข้นึ อยกู่ บั นักเรียน อยใู่ นดลุ ยพินิจของครู ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ เหน็ ดว้ ยกบั เจตคติ ขอ้ ๔ ตอ้ งตระหนกั ถงึ ศกั ดศ์ิ รี คณุ คา่ ของตนเองและผอู้ นื่ เพราะ เรอื่ งเพศ เปน็ เรอ่ื งของธรรมชาติ อยทู่ บ่ี คุ คลนน้ั จะมเี จตคตแิ ละการแสดงออกทางเพศอยา่ งไรยอ่ มขนึ้ อยกู่ บั อทิ ธพิ ล ที่ไดร้ บั แตต่ ้องอยภู่ ายใต้การเคารพศกั ดิ์ศรี คุณค่าของตนเองและผ้อู ื่น ไม่ละเมิดสทิ ธิทางเพศของผู้อ่ืน ๒. จากขอความท่ีกลา วมาขางตน นักเรยี นไมเหน็ ดว ยกับเจตคติในเรื่องเพศตามขอใด เพราะเหตุใดจึงเปน เชน นนั้ คาำ ตอบข้ึนอยูก่ บั นักเรียน อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครู ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เช่น ไม่เหน็ ด้วยกบั เจตคติ ข้อ ๑๖ การรกั นวลสงวนตวั เปน็ ส่งิ ที่เพศหญิงควรปฏบิ ัติ เพราะ การรกั นวลสงวนตวั ไมค่ วรเจาะจงเฉพาะเพศใดเพศหนง่ึ แตเ่ ปน็ คา่ นยิ มทเ่ี หมาะสมทที่ กุ เพศควรปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความ เห็นคณุ คา่ ในตนเองและผอู้ ่ืน ใบงานที่ ๓.๕ เจตคติในเรอื่ งเพศทีม่ ตี ่อวฒั นธรรมไทย คำาชี้แจง : ใหนักเรียนอธิบายถึงเจตคติในเรื่องเพศที่มีตอวัฒนธรรมไทยและการปฏิบัติตนในเร่ืองเพศ ตามวัฒนธรรมไทย เจตคติในเรื่องเพศ การปฏบิ ตั ิตนในเรอ่ื งเพศ ท่ีมตี อ วฒั นธรรมไทย ตามวฒั นธรรมไทย .๑.......ก..า..ร..ร..ัก..น...ว..ล..ส...ง..ว..น..ต...ัว...ค...ือ...ก...า..ร..เ.ห..น็.............. .๑.......ก..า..ร..ร..กั ..น...ว..ล..ส..ง..ว..น...ต..วั..ต..อ.้ ..ง.แ...ส..ด..ง..ก..ริ..ยิ..า..ส..ภุ..า..พ... .......ค..ณุ....ค..า่ ..ใ.น...ต..น...เ.อ..ง..แ..ล..ะ..ผ...อู้ ..น่ื ....ว..า.ง..ต...วั ..ต..อ่..ผ...อู้ ..น่ื .... .......เ.ห..ม...า..ะ.ส...ม...แ..ต..ง.่ .ก..า..ย..เ.ห...ม..า..ะ..ส..ม..ต...า..ม..ก..า..ล..เ.ท...ศ..ะ.. .......อ..ย...่า.ง..เ.ห...ม..า..ะ..ส...ม......................................... .๒......ก..า..ร..ไ..ม..่.ช..ิง..ส..ุก...ก..่อ...น..ห...่า..ม.....เ.ป...็น..ก...า..ร..ป..อ...ง..ก..ัน... .๒.......ก..า..ร..ไ..ม..่ช..ิง..ส...ุก..ก..อ่...น..ห...่า..ม....ค..อื ....ก..า..ร..ไ..ม..ม่ ...ีเ.พ..ศ..... .......ไ.ม...ใ่ .ห..เ.้ .ก..ดิ ..ก...า.ร..ม...เี .พ..ศ...ส..มั..พ...นั ..ธ...ก์ ..อ่ ..น...ว..ยั ..อ..นั...ค..ว..ร.. .......ส..มั...พ..ัน...ธ..ก์...อ่ ..น...ว..ัย..อ..ัน...ค..ว..ร............................. .๓......ก..า..ร..ร..กั ..เ.ด...ยี ..ว..ใ.จ...เ.ด..ยี..ว...ค...ร..อ..บ..ค...ร..วั ..ค..ว..ร..ย..ดึ...ม..น่ั... .๓.......ก..า..ร..ร..กั ...เ.ด..ยี ...ว..ใ.จ..เ.ด...ีย..ว....ค..ือ....ก..า..ร..ม...ีค..ูช่ ..ีว..ิต......... .......ใ..น..ค...่า..น...ิย...ม...ก..า...ร..ม..ี.ค..ู่ช...ีว..ิต...เ..พ..ี.ย..ง..ค...น...เ.ด...ีย...ว.. .......เ.พ...ีย..ง..ค..น...เ.ด...ีย..ว........................................... .......ห..า..ก...ม..ีป...ญ...ห...า..ต..้อ..ง..ป...ร..ับ..ต...ัว..เ.ข...้า..ห..า..ก...ัน....แ...ล..ะ.. .......แ..ส..ด...ง..อ..อ..ก...ม..า..อ...ย..า่ ..ง..เ.ห..ม...า..ะ..ส..ม..................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... .....................................................................

26 เฉลยคาำ ถามหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๔ ความเท่าเทียมระหว่างเพศ ๑ นักเรียนคิดวาในครอบครัวของตนเองมีความเทาเทียมระหวางเพศหรือไม ยกตัวอยางและอธิบาย ใหเขาใจ ตัวอยา่ งคำาตอบ เชน่ ค่อนข้างมีความเสมอภาคกันระหว่างหญิงชาย กล่าวคือ มีการแบ่งหน้าท่ีกันอย่างเท่าเทียม เช่น แบง่ หนา้ ทก่ี นั ทาำ ความสะอาดบา้ น ไมจ่ าำ เปน็ ตอ้ งเปน็ ของผหู้ ญงิ เพยี งผเู้ ดยี ว และมสี ทิ ธใิ นการแสดงความคดิ เหน็ เทา่ เทียมกัน เป็นต้น ๒ ความเทา เทยี มระหวา งเพศในความหมายของนกั เรยี น ควรปฏบิ ตั อิ ยา งไร ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ทุกเพศควรปฏิบัติและถูกปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน มองว่าทุกเพศมีศักยภาพและความเป็นมนุษย์ เทา่ เทยี มกนั ไม่กีดกนั ทางเพศ ๓ ใหน กั เรยี นยกตวั อยา งสถานการณค วามไมค วามเทา เทยี มระหวา งเพศและบอกวธิ กี ารแกป ญ หาสถานการณน น้ั ตวั อย่างคำาตอบ เช่น ผหู้ ญงิ มกั จะถกู จาำ กดั เรอ่ื งการเดนิ ทางไปไหนมาไหนคนเดยี ว การออกไปเทย่ี วนอกบา้ น หรอื การไปเทย่ี ว ต่างจังหวัดกับเพื่อน เน่ืองจากผู้ปกครองเป็นห่วงเร่ืองความปลอดภัย ดังนั้นเราจึงต้องคำานึงในเร่ือง ความปลอดภัยของตนเองด้วย โดยไม่ไปในที่เปล่ียวคนเดียว หรือไปเที่ยวกับเพ่ือนหลายคน จะทำาให้ ผู้ปกครองลดความกังวลลงได้ ๔ นกั เรยี นคิดวา ตนเองวางตวั ตอผอู ื่นอยางเหมาะสมหรอื ไม และมีวิธปี ฏิบตั ิอยา งไร ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เช่น โดยส่วนตัวคิดว่าตนเองมีการวางตัวต่อผู้อื่นอย่างเหมาะสม กล่าวคือการให้เกียรติซึ่งกันและกัน มีน้ำาใจเอ้ือเฟอเผ่ือแผ่ ไม่พูดจาหยาบคาย และมีมารยาทในการแสดงพฤติกรรมหรือการพูดด้วยวาจา เป็นต้น ๕ นกั เรยี นคดิ วา ปจ จบุ นั ประเทศไทยมคี วามความเทา เทยี มระหวา งเพศมากนอ ยเพยี งใด ตวั อย่างคำาตอบ เช่น ปจจุบันความเสมอภาคทางเพศของประเทศไทยมีมากข้ึนเมื่อเทียบกับอดีตท่ีมีการจำากัดตำาแหน่ง หนา้ ทกี่ ารงานแกเ่ พศหญงิ หรอื ไมใ่ หเ้ พศหญงิ เขา้ มามบี ทบาทสาำ คญั ในการปกครอง แตป่ จ จบุ นั นผี้ หู้ ญงิ ได้ รับการยอมรบั จากสงั คมมากข้นึ มีบทบาทหน้าที่การงานทที่ ดั เทยี มกับผชู้ าย

27 ๖ ปญหาความไมค วามเทา เทยี มระหวา งเพศสามารถสง ผลกระทบกับการพฒั นาประเทศอยา งไร ตวั อยา่ งคำาตอบ เช่น ความไมเ่ สมอภาคทางเพศสง่ ผลใหข้ าดแคลนทรพั ยากรมนษุ ยท์ ม่ี ศี กั ยภาพในการสง่ เสรมิ การพฒั นา ประเทศ เชน่ บางประเทศมีการกีดกนั ไม่ให้ผ้หู ญงิ ไดท้ าำ งานในตาำ แหนง่ สำาคัญระดับประเทศ ซง่ึ ความจรงิ แลว้ ทงั้ เพศชายและเพศหญงิ มปี ระสทิ ธภิ าพทเ่ี ทา่ เทยี มกนั ซง่ึ ในแตล่ ะบคุ คลอาจมคี วามสามารถทม่ี ากนอ้ ย แตกตา่ งกนั ไป ๗ นักเรียนคิดวาสถาบันใดมีสวนชวยในการขัดเกลาบทบาทความสัมพันธระหวางเพศในสังคมไทยมากที่สุด เพราะอะไร ตัวอย่างคาำ ตอบ เชน่ สถาบันครอบครวั มสี ว่ นชว่ ยใหห้ ญิงและชายรู้บทบาททพ่ี ึงปฏิบัติ เป็นการชแี้ ละอบรมให้ลกู หลาน ได้แสดงบทบาทที่เหมาะสม เน่ืองจากเป็นสถาบันที่มีความใกล้ชิดกับวัยรุ่นมากท่ีสุด ครอบครัวจึงเป็น สถาบนั แรกท่จี ะส่งั สอนอบรมให้เด็กเขา้ ใจและเรียนรู้ ๘ นกั เรยี นคดิ วา เหตใุ ดจงึ จาํ เปน ตอ งมกี ารวางตวั ตอ ผอู น่ื อยา งเหมาะสม ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ การวางตัวต่อเพศตรงข้ามให้เหมาะสมส่งผลโดยตรงต่อบุคลิกภาพท่ีดีของตนเอง และเป็นการ แสดงออกทางเพศที่ถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับวัฒนธรรมในสังคม และส่งผลให้เป็นท่ีน่าช่ืนชม และภาคภมู ิใจแก่ตนเอง ครอบครวั และคนในสังคม ๙ นักเรียนคิดวาการวางตัวท่ีเหมาะสมตอผูอ่ืนมีสวนชวยในการลดการมีเพศสัมพันธในวัยเรียน หรอื ไม อยางไร ตวั อย่างคำาตอบ เชน่ การวางตัวที่เหมาะสมต่อเพศตรงข้ามมีส่วนช่วยในการลดการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน กล่าวคือ แมว้ า่ จะมีความสมั พันธ์กนั ในฐานะครู่ กั แตก่ ็ยดึ หลักของการวางตัวทถี่ ูกตอ้ งเหมาะสม คอื มีการให้เกยี รติ ซง่ึ กนั และกนั ไม่ทาำ ให้อกี ฝายต้องเสอ่ื มเสีย พยายามหลกี เล่ียงการไปเที่ยวคา่ำ มดื กัน หรอื อยู่ในหอ้ งด้วย กันสองตอ่ สองซง่ึ เสยี่ งตอ่ การมเี พศสมั พันธ์ ดงั นั้นเพ่ือลดปญหาการมเี พศสมั พนั ธใ์ นวยั เรยี น การอบรม แนะนาำ ถงึ เรอ่ื งการวางตวั ตอ่ เพศตรงขา้ มจงึ เปน็ เรอ่ื งจาำ เปน็ ๑๐ นกั เรยี นคดิ วา สงั คมในปจ จบุ นั มคี วามความเทา เทยี มระหวา งเพศหรอื ไม อยา งไร ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เช่น เนื่องจากสังคมให้การยอมรับในศักยภาพที่เท่าเทียมกันของเพศหญิงมากข้ึน โดยผู้หญิงสมัยใหม่ จะตอ่ ตา้ นความไมเ่ สมอภาคทางเพศและพยายามแสดงศักยภาพเพอ่ื ให้เปน็ ที่ยอมรับแกส่ งั คมมากขึน้

28 ๑ ขอใดกลา วถกู ตอ ง ง. ค่านิยมของสังคมเปน็ ปจ จยั ที่ทำาให้มคี วามเท่าเทียมระหวา่ งเพศไมเ่ หมอื นกันในแต่ละสังคม เหตุผล ข้อ ก. ผิด เพราะบทบาททางเพศ ท้ังในเพศหญิงและชายแตกต่างกันตามสรีระที่มีมา แตก่ ำาเนดิ คือ ผูห้ ญิงมีหน้าทีต่ งั้ ครรภ์ ผ้ชู ายมเี ชือ้ อสจุ ใิ นการผสมพนั ธ์ุกบั ไขข่ องเพศหญิง ดงั น้นั แล้ว เพศ หญิงและชายไม่ได้มีบทบาททางเพศท่ีเหมือนกันทุกประการ ขอ้ ข. ผดิ เพราะครอบครวั จะเปน็ ผถู้ า่ ยทอดและอบรมสง่ั สอนคา่ นยิ มของสงั คมและบทบาททางเพศ แต่ตวั เราเองจะเป็นตัวกำาหนดบทบาททางเพศให้เหมาะสมกบั สภาพสงั คมและวฒั นธรรม ขอ้ ค. ผดิ เพราะบทบาททางเพศในสังคมจะไมค่ งที่ มกี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา ๒ ความไมเทาเทยี มระหวางเพศ อาจสง ผลใหเกดิ ปญหาใด ก. ๑, ๒ เหตผุ ล เนอ่ื งจากบางครอบครวั มกี ารกดขเ่ี พศหญงิ และปลกู ฝง วา่ เพศหญงิ ตอ้ งมหี นา้ ทค่ี อยรบั ใชเ้ พศชาย ดังน้ัน จงึ อาจเกิดความรุนแรงและทาำ ร้ายเพศหญงิ ได้ นอกจากนกี้ ารกีดกันเพศหญิงใหเ้ ข้าทาำ งานในบาง ตำาแหน่ง อาจทาำ ใหเ้ กดิ การขาดแคลนแรงงานทม่ี ีคณุ ภาพอีกด้วย ๓ ขอ ใดแสดงถงึ ความไมเทา เทยี มระหวา งเพศ ข. วารุณถี ูกปฏิเสธเข้าทาำ งาน เนือ่ งจากความเป็นผู้หญงิ จะทาำ ให้การทาำ งานยุ่งยากขน้ึ เหตผุ ล เนอ่ื งจากการกดี กนั ทางเพศในการทาำ งาน ถอื เปน็ ความไมเ่ ทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ ควรดทู ค่ี วาม สามารถเฉพาะบคุ คล ๔ “บทบาททางเพศที่กระบวนการทางสังคมและวัฒนธรรมกําหนดและคาดหวังนั้น จะมีรูปแบบตายตัว และเปนไปในรูปแบบเดียวกัน สงผลใหบทบาททางเพศของแตละครอบครัวมีบทบาทเหมือนกัน” ขอ ความดงั กลา วจริงเท็จหรอื ไม อยา งไร จ. ไม่จรงิ เพราะแมว้ า่ กระบวนการทางสังคมและวฒั นธรรมจะเป็นตัวกาำ หนดบทบาททางเพศแตจ่ ะ ไม่มีรปู แบบท่แี นน่ อนและอาจจะไมเ่ ป็นไปในรปู แบบเดยี วกนั เหตุผล กระบวนการทางสังคมและวัฒนธรรมจะเป็นตัวกำาหนดและคาดหวังบทบาททางเพศ วา่ ควรเปน็ อยา่ งไร แตส่ ถาบนั ทมี่ สี ว่ นสง่ เสรมิ ระบบความคดิ และการทาำ ใหเ้ รากลายเปน็ บคุ คลทเ่ี หมาะสม ตามประเพณนี นั้ ไดแ้ ก่ สถาบนั ครอบครวั และสอ่ื ตา่ งๆ นอกจากนบี้ ทบาททางเพศจะไมม่ รี ปู แบบทตี่ ายตวั และคงท่ีแต่จะเปลยี่ นไปตามยุคสมยั

29 ๕ ปญ หาความไมเทา เทยี มระหวางเพศนีเ้ กิดมาจากสาเหตใุ ด ง. ความเชอื่ และเจตคติในเรื่องเพศแบบเดิม เหตุผล ความเชอื่ และเจตคตใิ นเร่ืองเพศแบบเดมิ ของบางครอบครัว เช่อื วา่ ผู้หญงิ เป็นเพศท่ีออ่ นแอ มหี นา้ ทค่ี อยรบั ใชผ้ ชู้ าย บางประเทศมคี วามเชอื่ วา่ ผหู้ ญงิ เปน็ เพศทตี่ าำ่ ตอ้ ย ดอ้ ยความสามารถและปญ ญา ๖ จากขอ ๕ ผลรา ยแรงสุดท่อี าจเกิดเนือ่ งมาจากปญ หาความไมเทา เทยี มระหวางเพศนคี้ อื ขอ ใด ข. ความไมเ่ จรญิ ของบา้ นเมอื ง เหตผุ ล ปญ หาความไมเ่ สมอภาคกอ่ ใหเ้ กดิ การกดี กนั ทางเพศ ซงึ่ หมายถงึ อาจเกดิ การกดี กนั แรงงาน ท่ีมีศกั ยภาพซ่งึ เปน็ ทรพั ยากรสำาคัญในการพัฒนาประเทศ ดงั น้นั ปญหาความไม่เสมอภาคทางเพศก็จะส่ง ผลต่อปญ หาในการพฒั นาประเทศ ๗ บุคคลในขอใดมีการวางตวั ตอ ผูอืน่ ไดเหมาะสมมากท่สี ุด ก. มารก์ เ้ี ปน็ คนรอบคอบและระวงั ตวั อยา่ งมาก พยายามหลกี เลย่ี งการแตง่ กายเปด เผยเนอ้ื ตวั รา่ งกาย เวลาทต่ี อ้ งไปออกค่ายอาสาทต่ี า่ งจังหวดั กับเพื่อนเป็นกลมุ่ ใหญ่ เหตผุ ล การแตง่ กายทส่ี ภุ าพเรยี บรอ้ ยถกู ตอ้ งตามกาลเทศะ จะทาำ ใหม้ คี วามปลอดภยั มากขน้ึ และสรา้ ง ภาพพจนท์ ่ดี ีให้แก่ตนเอง ๘ ปจจุบันการวางตัวตอผูอื่นเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ชองทางการส่ือสารใดเปนปจจัยที่ทําใหเกิด การเปลีย่ นแปลงมากทส่ี ุด ก. Social network เหตผุ ล ปจ จบุ นั Social network เขา้ มามบี ทบาทในทกุ ๆ ดา้ น ทาำ ใหส้ ามารถตดิ ตอ่ พดู คยุ กนั ไดส้ ะดวกขน้ึ รวมทง้ั มีการแบ่งปนขอ้ มลู ตา่ งๆ ที่อาจเปน็ ทัง้ ประโยชนแ์ ละโทษ นอกจากน้ี การมี Social network ทำาให้ พฤตกิ รรมในดา้ นตา่ งๆ ของวัยรุ่นเปลี่ยนไปจากเดมิ เช่น เสพติดสอ่ื อนิ เทอร์เน็ต การแช็ต มคี วามกลา้ ในการส่ือสารโต้ตอบกันมากขึ้น สูญเสียศักยภาพในการสื่อสารโดยตรง ทำาให้ส่งผลต่อพฤติกรรม ที่แสดงออกด้วย ๙ สุดารัตนเติบโตมาจากครอบครัวฐานะปานกลาง พอและแมของเธอทํางานคอนขางยุงจึงไมคอยมีเวลาดูแล และมักจะกลับบานดึกๆ ด่ืนๆ ทุกวัน ดังนั้นเธอจึงมักชวนเพื่อนชายคนสนิทมาติวหนังสือกันที่บานอยูบอยๆ สดุ ารัตนม กี ารวางตวั ทเ่ี หมาะสมหรือไม ก. ไมเ่ หมาะสม เนือ่ งจากการวางตัวตอ่ เพศตรงขา้ มทดี่ ีไมค่ วรอยดู่ ้วยกนั สองต่อสอง เหตผุ ล การวางตวั ทเ่ี หมาะสมตอ่ เพศตรงขา้ มไมค่ วรอยกู่ บั เพศตรงขา้ มตามลาำ พงั สองตอ่ สองในบา้ น หรือที่ลับคน โดยเฉพาะคู่รัก และนอกจากน้ียังไม่ควรไปเที่ยวกลางคืนหรือไปต่างจังหวัดกันสองต่อสอง อีกดว้ ย

30 ๑๐ จากขอ ๙ การวางตวั ตอผอู ่นื ของสดุ ารตั นเ ปนผลท่ีเกดิ ขน้ึ จากขอใด ก. ครอบครวั ปลอ่ ยปละละเลย เหตุผล เน่ืองจากครอบครัวเป็นส่วนสำาคัญในการอบรมส่ังสอน ชี้แนะในส่ิงที่ถูกและผิด แม้ว่าจะมี ภาระหน้าทม่ี ากมาย แต่การอบรมส่ังสอนลกู กเ็ ป็นอกี หนึง่ หนา้ ที่ท่ีพอ่ แมไ่ ม่ควรละเลย ๑. _ง_._ ๖. _ก_._ ๒._ค__. ๗._ช_._ ๓. _ฉ__. ๘. _ญ__. ๔. _จ_._ ๙. _ซ_._ ๕. _ข_._ ๑๐. _ฌ__. ใบงานท่ี ๔.๑ เพศ คาำ ชี้แจง : จงเขียนเคร่ืองหมาย หนาขอท่ีเห็นวาถูก และเขียนเคร่ืองหมาย หนาขอท่ีเห็นวาผิด แลว แกไ ขใหถ กู ตอ ง ขอ้ ความ ขอ้ ความทแ่ี กไ้ ข ๑. เมอ่ื เขาสูวยั รนุ จะเรมิ่ มคี วามสนใจ ................................................................ เกยี่ วกบั เร่ืองเพศ ................................................................ ๒. เพศโดยกาํ เนดิ เปน ลกั ษณะทางชวี วทิ ยาท่ี ................................................................ กําหนดใหเปนเพศชายหรือเพศหญิงหรือ บคุ คลทม่ี อี วยั วะเพศสองเพศในคนเดยี วกนั ................................................................ ๓. เพศวิถี เปนลักษณะที่เกี่ยวของกับจิตใจ ................................................................ พฤตกิ รรม และสงั คมในดา นเพศของแตล ะ ................................................................ บุคคล .เ.พ...ศ..ใ..น..ป...จ ..จ..บุ ..นั...ไ.ม..ไ่..ด..ถ้..กู..ก...าำ .ห...น..ด...โ.ด..ย..ล...กั ..ษ..ณ....ะ.. ๔. เพศถูกกําหนดโดยลกั ษณะทางชวี วทิ ยา .ท...า..ง..ช..ีว..ว..ิท...ย..า....แ..ต...่บ..ุค...ค..ล...น..้นั...เ.ป...็น..ผ...้กู ..ำา..ห..น...ด... หรอื โครโมโซมเพศเทา น้นั .เ..อ..ง..โ..ด..ย..อ...า.จ..แ...ส..ด..ง..อ..อ...ก..ท..า..ง..เ.พ...ศ..ต..ร..ง..ห..ร..อื..ไ..ม..่. .ต...ร..ง..ก..บั ..เ.พ...ศ..โ..ด..ย..ก...าำ .เ..น..ดิ..ก...ไ็ .ด...้ .......................

31 ขอ้ ความ ขอ้ ความทแ่ี กไ้ ข ๕. ทกุ เพศมคี วามเทาเทียมกันในสทิ ธิ หนาท่ี ................................................................ และโอกาสในดา นตางๆ ................................................................ ๖. ปจจัยที่สงผลใหเกิดความไมเทาเทียม ................................................................ ระหวา งเพศ ไดแ ก สงั คม ครอบครวั สอ่ื ................................................................ ตา งๆ ................................................................ ๗. เพศชายเปน เพศทค่ี วรใหเ กยี รตผิ อู น่ื กอ น .ท..กุ ..เ.พ...ศ..ไ..ม..ว่..า่..เ.พ...ศ..ช..า..ย....เ.พ...ศ..ห...ญ...งิ ...ห...ร..อื ..บ..คุ...ค..ล.. เพอื่ แสดงถงึ ความเปน ผนู าํ .ท..ม่ี ..คี...ว..า..ม..ห...ล..า..ก..ห..ล...า..ย..ท..า..ง..เ.พ...ศ..ค...ว..ร.ใ..ห..เ้..ก..ยี ..ร..ต..ิ .ผ..อู้ ..น่ื ........................................................... ๘. ความยึดติดที่วา เพศหญิงเปนเพศที่ ................................................................ ออนแอจึงตองเปนแมบานอยูในบาน ................................................................ เทาน้นั ถือเปน ท่ีมาของอคติทางเพศ ................................................................ ๙. สงั คมในปจ จบุ นั เปน สงั คมทม่ี คี วามหลาก ................................................................ หลายทางเพศ ................................................................ ................................................................ ๑๐. เราไม่จําเป็นที่จะต้องศึกษาและ เตรียมตัวในเรื่องของการวางตัว เ.ร...า..ต..้อ...ง..ศ..ึก...ษ...า..แ..ล..ะ...เ.ต..ร..ี.ย..ม...ต..ัว...ใ.น...เ.ร..่ือ...ง..ก..า..ร.. ต่อเพศเดียวกันและเพศตรงข้าม ว..า..ง..ต..วั...ต..อ่..เ..พ..ศ...เ.ด..ยี...ว..ก..นั...แ..ล..ะ..เ.พ...ศ..ต...ร..ง..ข..า้ ..ม...... เพราะเรอ่ื งนจ้ี ะเปน ไปตาม สญั ชาตญาณ อยแู ลว ................................................................ ................................................................ ................................................................

32 ใบงานท่ี ๔.๒ จะทาำ อยา่ งไรดี คำาช้ีแจง : ใหน กั เรยี นนาํ เสนอแนวการปฏบิ ตั เิ มอ่ื นกั เรยี นตกอยใู นสถานการณต อ ไปน้ี สถานการณท์ ่ี ๑ เพอ่ื นชวนหนเี รยี นไปดคู อนเสริ ต นกั รอ งทต่ี นเองชน่ื ชอบ แนวการปฏบิ ตั ิ : .ข...ึ้น..อ...ย..ู่ก..ับ...ด..ุล..ย...พ..นิ...จิ ..ข..อ...ง..ค..ร..ู .ต...ัว..อ..ย...่า.ง..ค...าำ ..ต..อ..บ....เ.ช...่น......................................................................... .บ...อ..ก..เ..พ..อ่ื...น..ว..า่..ไ..ม..่ไ..ป....เ.พ..ร..า..ะ..จ..ะ..ท...าำ .ใ..ห..เ้..ส..ีย..ก...า..ร..เ.ร..ีย..น...ไ.ด...้ .................................................................... ................................................................................................................................................. สถานการณท์ ่ี ๒ เพอ่ื นชวนไปเทย่ี วโดยใหห ลอกผปู กครองวา ไปทาํ กจิ กรรมกบั โรงเรยี น แนวการปฏบิ ตั ิ : .ข...้ึน..อ...ย..ู่ก..ับ...ด..ุล..ย...พ..นิ...ิจ..ข..อ...ง..ค..ร..ู .ต...วั ..อ..ย...่า.ง..ค...ำา..ต..อ..บ....เ.ช...น่ ......................................................................... .บ...อ..ก..เ..พ..ือ่...น..ว..า่..ไ..ป..ไ..ม..ไ่..ด..้..เ.พ..ร..า..ะ..ต...อ้ ..ง..ไ.ป...ธ..ุร..ะ..ก..ับ...ผ..้ปู...ก..ค..ร..อ...ง................................................................. ................................................................................................................................................. สถานการณท์ ่ี ๓ ไปงานวนั เกดิ เพอ่ื น แลว เพอ่ื นๆ ชกั ชวนใหด ม่ื สรุ า สบู บหุ ร่ี และดวู ซี ดี ลี ามก แนวการปฏบิ ตั ิ : .ข...้ึน..อ...ย..่กู ..บั...ด..ลุ..ย...พ..ิน...ิจ..ข..อ...ง..ค..ร..ู .ต...ัว..อ..ย...่า.ง..ค...ำา..ต..อ..บ....เ.ช...่น......................................................................... .บ...อ..ก...เ.พ..ือ่...น..ว..า่..ก...า.ร..ด...ื่ม..ส...ุร..า...ส..บู...บ..ุห...ร..่ี .แ..ล...ะ.ด...ูว..ีซ..ดี...ีล..า..ม...ก..เ.ป...น็ ..ส..ง่ิ..ไ..ม..ด่...ี .แ..ล...ะ..ข..อ..ต...วั ..ก..ล..ับ...ท...ัน..ท...ี .................. .................................................................................................................................................

33 ใบงานท่ี ๔.๓ จะเลอื กทางไหนดี คาำ ชแ้ี จง : ใหน กั เรยี นอา นกรณีศกึ ษาตอไปน้ีแลว ชวยหาทางเลือกใหก บั แอว ๒ ทางเลือก ข้นึ อยูก่ บั ดลุ ยพินจิ ของครู ตวั อย่างคำาตอบ เชน่ ทางเลอื กที่ ๑ ผลบวก.....เ.ม..ือ่..ห..ม...อ่ ..ง.ไ.ป...ส..ง่ .แ..อ..ว ..ท..่หี ..อ..พ..ัก..แ..อ..ว..ป..ฏ..เิ..ส..ธ..ไ.ม..ใ่ .ห..้ห...ม..่อ..ง.เ.ข..้า..ห..อ้..ง..โ.ด..ย..เ.ด..็ด..ข..า..ด.................... ผลลบ...................................................................................................................... ทางเลอื กท่ี ๒ ผลบวก.....แ..อ..ว..บ..อ..ก..ห..ม..อ่..ง..ว..า่ .ใ..น..โ.ร..ง.ห..น...งั .ม..กี..ล..อ้..ง..ว..ง.จ..ร..ป..ด ..ห..า้..ม..ท..าำ..พ..ฤ..ต..กิ..ร..ร..ม..ไ.ม..่เ.ห..ม...า.ะ..ส..ม............... ผลลบ...................................................................................................................... ใบงานท่ี ๔.๔ ความหลากหลายทางเพศ คาำ ชแ้ี จง : จงตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี ความหลากหลายทางเพศ หมายถงึ ความมตี ัวตน ความชอบ และการแสดงออกทางเพศของบคุ คล ซง่ึ ไมต่ รงกบั เพศโดยกาำ เนดิ เชน่ เพศหญงิ ทช่ี อบเพศหญงิ ดว้ ยกนั (เลสเบย้ี น) เพศชายทช่ี อบเพศชายดว้ ยกนั (เกย)์ คนทช่ี อบทง้ั ผชู้ ายและผหู้ ญงิ (ไบเซก็ ชวล) เพศหญงิ ทม่ี จี ติ ใจเปน็ ผชู้ าย (ผชู้ ายขา้ มเพศ) และเพศชาย ที่มีจิตใจเป็นผูห้ ญิง (ผู้หญงิ ข้ามเพศ หรือกะเทย) Lesbian คือ มเี พศโดยกำาเนดิ และรสนิยมทางเพศเปน็ ผหู้ ญงิ คือ เกดิ และแต่งตวั เป็นผู้หญิงมรี สนิยม ชน่ื ชอบผู้หญิงดว้ ยกัน Gay คือ มีเพศโดยกำาเนิดและรสนิยมทางเพศเป็นผู้ชาย คือ เกิดและแต่งตัวเป็นผู้ชาย มีรสนิยม ชื่นชอบผ้ชู ายดว้ ยกัน Bisexualคอื มเี พศโดยกาำ เนดิ เปน็ ชายหรอื หญงิ ทว่ั ไป และมรี สนยิ มทางเพศทช่ี น่ื ชอบทง้ั ผชู้ ายและผหู้ ญงิ Trangender คือ ผู้มีเพศไม่ตรงกับเพศโดยกำาเนิด หรือเรียกว่า คนข้ามเพศ เช่น หญิงข้ามเพศมี เพศโดยกาำ เนดิ เปน็ ชาย แตป่ จ จบุ นั เปน็ หญงิ หรอื ชายขา้ มเพศมเี พศโดยกาำ เนดิ เปน็ หญงิ แตป่ จ จบุ นั เปน็ ชาย นักเรียนจะปฏิบัตติ นอยางไรในสงั คมทมี่ ีความหลากหลายทางเพศ ตวั อยา่ งคำาตอบ เชน่ - ยอมรับในสิทธิและความเทา่ เทยี มของสงั คมท่ีมคี วามหลากหลายทางเพศ - ใช้คาำ พดู ทส่ี ุภาพและแสดงลกั ษณะกริ ิยาท่าทางทใ่ี ห้เกยี รติตอ่ ผู้อ่นื - มีนาำ้ ใจให้ความชว่ ยเหลือผู้อืน่ ตามความสามารถของตนเอง

34 ใบงานที่ ๔.๕ จะตดั สนิ ใจอยา่ งไรดี คำาชแ้ี จง : ใหน กั เรยี นอา นกรณศี กึ ษาตอ ไปน้ี แลว ชว ยตดั สนิ ใจแทนหญงิ สาวในเรอ่ื งน้ี ขึน้ อยกู่ บั ดลุ ยพินิจของครู ตัวอย่างคำาตอบ เชน่ ๑ ถา เกยี รตซิ อ้ื อาหารมากนิ ทห่ี อพกั ของสาย และยงั แสดงบทรกั กบั สายอกี ในครงั้ นสี้ ายควรพดู หรอื แสดงอาการ อยา งไร สายควรบอกกบั เกยี รตวิ า่ ถา้ ทาำ พฤตกิ รรมทไ่ี มส่ มควรอกี สายจะเลกิ คบกบั เกยี รติ ๒ สายควรจะคบกบั เกยี รตติ อ ไปอยา งไรดี ถา้ เกียรตปิ รบั ปรงุ พฤติกรรมตนเองกค็ บเกียรตเิ หมอื นเดมิ เฉลยแบบฝกหัดท้ายหน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๕ เพศสัมพันธใ์ นวยั เรยี น ๑ นกั เรียนคดิ วาการมเี พศสมั พันธใ นวัยเรียนเปน สงิ่ ที่สมควรหรอื ไม เพราะอะไร ตัวอย่างคำาตอบ เช่น ไมส่ มควรอยา่ งยง่ิ เนอ่ื งจากอาจเกดิ การตง้ั ครรภ์ และเสย่ี งตอ่ การตดิ โรคทางเพศสมั พนั ธ์ นอกจากน้ี วัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องใช้เวลาในการศึกษาเรียนรู้ และเก็บเก่ียวประสบการณ์ทั้งในและนอกห้องเรียน หากการมเี พศสมั พนั ธน์ น้ั นาำ มาซง่ึ โรครา้ ยหรอื การตง้ั ครรภ์ นอกจากจะทาำ ใหต้ นและครอบครวั มภี าระแลว้ ยังเปน็ การดับอนาคตของตนอกี ดว้ ย ๒ นกั เรยี นคดิ วา การมเี พศสมั พนั ธใ นวยั เรยี นกอ ใหเ กดิ ปญ หาและผลกระทบอยา งไร ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ การมเี พศสมั พนั ธเ์ สย่ี งตอ่ การเกดิ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธแ์ ละการตง้ั ครรภ์ อาจทาำ ใหต้ อ้ งหยดุ เรยี น กลางคันและต้องรับภาระเพ่ิมหากเกิดการต้ังครรภ์ซึ่งเป็นปญหาของทั้งครอบครัวไม่ใช่ปญหาของตนแต่ เพียงผ้เู ดยี ว ๓ นกั เรยี นคดิ วา ปญ หาใดรนุ แรงมากทส่ี ดุ จากการมเี พศสมั พนั ธใ นวยั เรยี น ตัวอย่างคำาตอบ เชน่ การทาำ แทง้ เนอ่ื งจากการตง้ั ครรภท์ ไ่ี มพ่ รอ้ ม ซง่ึ การทาำ แทง้ นน้ั มโี อกาสเสย่ี งทจ่ี ะเสยี ชวี ติ ระหวา่ งการทาำ โดยเฉพาะการรบั ประทานยาขบั เลือดมโี อกาสท่จี ะเสยี ชีวติ สูง

35 ๔ ถา นกั เรยี นมเี พอ่ื นรใู จ นกั เรยี นจะมวี ธิ ที าํ ความเขา ใจกบั เพอ่ื นคนนน้ั อยา งไรเพอ่ื ปอ งกนั ตนเองไมใ หเ กดิ ปญ หาการ ตง้ั ครรภไ มพ รอ ม ตวั อย่างคาำ ตอบ เชน่ มีการตกลง ทำาความเข้าใจและพร้อมท่ีจะให้เกียรติซ่ึงกันและกัน โดยมองไปท่ีปญหาหลังการมี เพศสัมพนั ธ์อาจเกดิ ปญ หาท่ยี ากต่อการแกไ้ ข อาจทำาใหท้ ้งั ตนและครอบครัวเสียใจ ดังน้ัน พงึ ตระหนกั ถงึ ปญ หาก่อนท่ีคดิ จะมเี พศสัมพันธเ์ สมอ ๕ นกั เรียนคดิ วา การตงั้ ครรภไ มพ รอม สงผลกระทบตอสังคมอยางไร ตวั อยา่ งคำาตอบ เชน่ ทำาให้อัตราเด็กที่ถูกทิ้งเพิ่มสูงข้ึน ซ่ึงการเติบโตมาในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีครอบครัวคอยอบรม สง่ั สอน อาจกลายเปน็ คนจรจดั หรอื มจิ ฉาชีพ กอ่ ให้เกิดปญ หาสงั คมไดใ้ นภายหลัง ๖ นักเรียนคดิ วาเหตใุ ดประเทศไทยจึงมอี ัตราการตงั้ ครรภในวยั เรียนเพมิ่ ข้ึนทกุ ๆ ป ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ขาดการใหค้ วามรแู้ ละเจตคตใิ นเรอื่ งเพศทถี่ กู ตอ้ ง ทาำ ใหว้ ยั รนุ่ ไมม่ ภี มู คิ มุ้ กนั ทเี่ พยี งพอ และขาดความ ยง้ั คดิ ก่อนมเี พศสัมพนั ธ์ ๗ การตั้งครรภไมพรอมเปนปญหาสังคมที่ทําใหเกิดปญหาตามมาในหลายๆ ดาน ดังน้ันจึงเปนเหตุใหเกิด แนวคดิ ทท่ี ดลองใชจ รงิ ในประเทศหนง่ึ คอื การจดั ตง้ั สถานทร่ี บั เดก็ แรกเกดิ สาํ หรบั พอ แมท ไ่ี มพรอม เพอ่ื ตอ งการ ลดอัตราการทาํ แทง และเดก็ ทเี่ กิดมาถกู ทิ้ง นกั เรยี นเห็นดวยกบั แนวคิดนี้หรอื ไม เพราะเหตุใด ตัวอยา่ งคำาตอบ เชน่ ไมเ่ หน็ ดว้ ย เนอ่ื งจากเปน็ การแกป้ ญ หาทป่ี ลายเหตุ เพราะสดุ ทา้ ยแลว้ เดก็ ทถี่ กู นาำ มาทงิ้ กจ็ ะกลายเปน็ เดก็ กาำ พรา้ อยดู่ ี สว่ นวยั รนุ่ อาจตระหนกั ถงึ ปญ หาการตง้ั ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควรลดลง เพราะสามารถนาำ เด็กไป ใหแ้ กส่ ถานรบั เลย้ี งได้ สดุ ทา้ ยเดก็ วยั รนุ่ กย็ งั คงจะมอี ตั ราการตงั้ ครรภเ์ ทา่ เดมิ หรอื เพมิ่ ขนึ้ พรอ้ มกบั จาำ นวน เดก็ กาำ พร้าท่แี ปรผนั ตามเช่นกัน ๘ นกั เรยี นมคี วามคดิ เหน็ อยา งไรเกย่ี วกบั การทาํ แทง สาํ หรบั วยั รนุ ทต่ี ง้ั ครรภไ มพ รอ ม ตัวอยา่ งคำาตอบ เช่น เปน็ เรือ่ งท่ไี ม่สมควรทาำ ควรขอรับคำาปรกึ ษาจากผ้ปู กครองและครอบครวั รวมถงึ แพทย์ เพราะการ ทำาแทง้ อาจผดิ ตอ่ หลักศาสนาและเสี่ยงตอ่ ชวี ิต ๙ นกั เรยี นคดิ วา สถาบนั ครอบครวั มผี ลตอ เจตคตเิ รอ่ื งการมเี พศสมั พนั ธข องลกู หลานในวยั เรยี นอยา งไร ตวั อยา่ งคำาตอบ เช่น สถาบันครอบครัวคือสถาบันแรกท่ีให้ความรู้ อบรมและส่ังสอนเด็ก ดังนั้นการสอนเรื่องเพศแก่เด็ก นนั้ เป็นเร่ืองที่สมควรสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีเจตคติทางเพศที่ถูกต้องและเหมาะสม ๑๐ นกั เรยี นคดิ วา ปญ หาหลกั ทท่ี าํ ใหป ระเทศไทยมจี าํ นวนคนตดิ โรคเอดสเ พม่ิ ขน้ึ เนอ่ื งมาจากสาเหตใุ ดบา ง ตวั อย่างคาำ ตอบ เช่น การขาดความรเู้ รอ่ื งการปอ งกนั ทถ่ี กู ตอ้ ง และความไวใ้ จในกรณขี องครู่ กั หรอื สามภี รรยา เชน่ บางคภู่ รรยา ตดิ โรคเอดสจ์ ากสามี เนอ่ื งจากสามไี ปตดิ โรคมาจากคนอน่ื เปน็ ตน้

36 ๑ บุคคลในขอ ใดอยใู นสถานการณท ีเ่ สย่ี งตอการมเี พศสมั พันธมากที่สุด ง. ไปเท่ยี วคา้ งคนื ต่างจังหวัดกบั เพือ่ นชายคนสนทิ สองต่อสอง เหตุผล การไปเที่ยวค้างคืนพักแรมด้วยกันกับเพ่ือนเพศตรงข้ามสองต่อสอง เส่ียงมากที่สุดท่ีจะมี เพศสัมพันธ์ เนอื่ งจากอาจเกิดอารมณท์ างเพศไดง้ ่าย ๒ บุคคลในขอใดเสี่ยงตอ การติดโรคทางเพศสัมพนั ธม ากทส่ี ดุ ข. หมากมกั ไปเทยี่ วสถานบรกิ ารทางเพศ เหตุผล การไปเที่ยวสถานบรกิ ารทางเพศ มกั เส่ยี งตอ่ การตดิ โรคทางเพศสมั พนั ธ์มากท่ีสดุ เนอ่ื งจาก การมเี พศสัมพันธก์ บั บุคคลที่ไมร่ ้จู กั โดยไมไ่ ด้ปอ งกัน ๓ ขอ ใดกลาวถูกตองทสี่ ดุ ง. ขอ้ ก และ ข เหตุผล การรับประทานยาคุมกำาเนิดช่วยปองกันการต้ังครรภ์แต่ไม่ช่วยปองกันการติดโรคทาง เพศสัมพนั ธ์ได้ ๔ ขอใดถูกตองเกยี่ วกบั โรคเอดส ง. การทยี่ งุ กัดผปู้ วยแลว้ มากดั คนปกตไิ ม่กอ่ ให้เกดิ การติดเชื้อ HIV เหตผุ ล โรคเอดสส์ ามารถติดต่อได้ ๓ ทาง ได้แก่ ทางเพศสัมพนั ธ์ ทางกระแสเลือดและจากมารดาสู่ ทารกในครรภ์ การสวมถุงยางอนามัยเป็นการปองกันการติดโรคเอดส์ได้ แต่การฉีดยาคุมกำาเนิด ไม่เปน็ วิธปี อ งกนั การตดิ โรคเอดส์ ๕ สไปรทและไผมีเพศสัมพันธกันในวัยเรียน เปนเหตุใหสไปรทต้ังครรภกอนวัยอันควร เธอจึงปรึกษากับไผ เพื่อหาทางออก ขอใดเปน ทางออกทดี่ ีทส่ี ุดของทงั้ สองคน ค. ปรกึ ษาองค์กรทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับเร่อื งการตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อม เหตผุ ล องคก์ รเหลา่ นเี้ ปน็ ผทู้ ่มี ปี ระสบการณ์และเขา้ ใจปญหาของวยั รนุ่ อยา่ งดี จงึ เปน็ ผทู้ จี่ ะสามารถ แนะนำาทั้งสองคนได้ดที ีส่ ุด ๖ ขอใดเปนการแกปญหาทตี่ นเหตสุ าํ หรบั การตั้งครรภไ มพ รอมในวัยรนุ ข. การใหค้ วามรู้และชีแ้ นะเก่ยี วกับปญ หาการตัง้ ครรภ์ไมพ่ รอ้ ม เหตุผล การแก้ปญหาที่ต้นเหตุคือการให้วัยรุ่นได้ตระหนักถึงผลท่ีอาจเกิดข้ึนถ้าเกิดการต้ังครรภ์ เพือ่ ตอ้ งการใหว้ ัยรุ่นได้ย้งั คดิ กอ่ นท่จี ะมีเพศสมั พันธ์ในวยั เรียน ๗ ผลเสียทร่ี ายแรงที่สดุ เม่อื เกิดการตดิ โรคทางเพศสมั พันธ คอื ขอใด ก. เสียชวี ติ เหตผุ ล การเสยี ชีวิตเปน็ การสูญเสียท่รี า้ ยแรงที่สดุ เน่อื งจากการสูญเสยี ทรัพยส์ ิน ชอ่ื เสียง สามารถ หามาใหมไ่ ดต้ ลอดเวลา แตก่ ารเสียชวี ิตนนั้ ไม่สามารถหามาทดแทนใหม่ได้

37 ๘ ขอใดเปนการปอ งกนั การตั้งครรภไ มพรอมที่ไดผลมากทสี่ ดุ ก. การสวมถุงยางอนามัย เหตุผล การสวมถงุ ยางอนามยั เป็นการปอ งกันทไี่ ด้ผลมากที่สุดเน่อื งจากกรณีการนบั วันไข่ตกอาจ เกิดขอ้ ผดิ พลาดหากนับวันผิด หรอื ไข่ไมไ่ ดต้ กตามปกติ มีโอกาสตัง้ ครรภ์ไดส้ ูง หรอื การรบั ประทานยา คมุ กาำ เนดิ เปน็ การปอ งกนั การตง้ั ครรภแ์ ตต่ อ้ งรบั ประทานกอ่ นมเี พศสมั พนั ธ์ มเิ ชน่ นน้ั อาจจะไมไ่ ดผ้ ล ๙ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การตง้ั ครรภไ มพ รอ มในวยั รนุ ยกเวน้ ขอ้ ใดตอ ไปน้ี ข. สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาติ เหตุผล ทุกขอ้ เปน็ หน่วยงานประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ๑๐ การมเี พศสมั พนั ธท ไ่ี มป ลอดภยั ขอ ใดสง ผลเสยี ตอ การพฒั นาประเทศมากทส่ี ดุ ก. การสูญเสียประชากรวัยแรงงาน เหตผุ ล เน่อื งจากประชากรวัยแรงงานเปน็ กำาลังสาำ คัญในการพัฒนาประเทศ ๑. _ซ_._ ๖. _จ_._ ๒._ช_._ ๗._ฉ_._ ๓._ง_._ ๘. _ค__. ๔._ก__. ๙. _ญ__. ๕._ข_._ ๑๐._ฌ__.

38 ใบงานที่ ๕.๑ โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ คาำ ชี้แจง : ใหน กั เรยี นเขยี นแผนผงั ความคดิ เกย่ี วกบั โรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พนั ธท พ่ี บมากในประเทศไทย ..โ..ร...ค....ห....น....อ...ง...ใ...น....เ..ท....ีย...ม...... .โ..ร...ค....ซ....ิฟ....ล....สิ ...... โ.ร...ค....ห....น....อ....ง...ใ..น... ..โ..ร...ค....แ....ผ...ล....ร...มิ ....อ....่อ....น..... โ.ร...ค....ก....า...ม....โ..ร...ค....ข....อ....ง..ต....อ่....ม... ........แ.......ล.......ะ..(....ฝท........ม่อ........ะน......ม..ำา้......่วเ....ห..ง......ล).......อื........ง............ เกดิ จากเชือ้ แบคทเี รยี เกิดจากเช้อื ไวรสั โรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พนั ธ เกิดจากเช้อื รา และโปรโตซวั ............ห....โ....งร.....อ.ค.......น.ห.......ไ.ดู....ก........่........... ......อ.......ว..โ....ร.ัย.....ค..ว......เ.ะ...ร...เ...มิพ.........ศ............. ..โ....ร.ช.....ค...่อ.....เ..ง..ช....ค...้อื.....ล..ร.....อ.า......ด.ใ....น.......... .......ช..โ....ร..่อ.....ค..ง.....พ.ค........ลย.......อา......ธ.ด......ิ......... ใบงานที่ ๕.๒ โรคเอดส์ คาำ ช้แี จง : ใหนักเรียนอธิบายเก่ยี วกับสาเหตุการติดโรคเอดสและยาตานไวรัสเพ่อื ปองกันเช้อื เอชไอวีลงในกรอบ ทก่ี าํ หนดให โรคเอดสต์ ดิ ตอ่ ได้ ๓ ทาง ดงั น้ี ๑. ทางเพศสัมพันธ์ ๒. ทางกระแสเลอื ด ๓.การติดเช้อื จากมารดาส่ทู ารก การมเี พศสมั พนั ธก์ บั ผตู้ ดิ เชอ้ื ไวรสั ก า ร รั บ เ ช้ื อ ท า ง ก ร ะ แ ส เ ลื อ ด ในครรภ์มารดาท่ตี ิดเช้อื เอชไอวี เอชไอวีโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยซึ่ง โดยการใชเ้ ขม็ และกระบอกฉดี ยา สามารถถ่ายทอดเช้ือเอชไอวีสู่ เป็นวิธที ี่พบการตดิ เชื้อมากท่สี ุด ร่วมกันหรือการได้รับเลือดจาก ทารกในครรภท์ ง้ั ระยะกอ่ นคลอด ผทู้ ม่ี เี ชอ้ื เอชไอวี ขณะคลอด และหลงั คลอด

39 ยาตา้ นไวรสั เพอ่ื ปอ งกนั เชอ้ื เอชไอวี ๑. การใช้ยาต้านไวรัสเพื่อการ ๒. การใช้ยาเพ่ือปองกันก่อน ๓. การใช้ยาเพ่ือปองกันหลัง รักษา (ARV) เป็นการให้ยา สมั ผสั เชอ้ื (PrEP) เปน็ การใชย้ า สมั ผสั เชอ้ื (PEP) เปน็ การใชย้ า ต้านไวรัสในผู้ที่ติดเช้ือเอชไอวี ในผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งกอ่ นสมั ผสั เชอ้ื หลังการสัมผัสเช้ือ ซ่ึงอาจเกิด การกินยาอย่างต่อเนื่องจะทำาให้ โดยยาจะเข้าไปปองกันเซลล์ จากการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ท่ี ปริมาณเชื้อเอชไอวีในร่างกาย เมด็ เลอื ดขาว ทางการแพทย์ ลดลง ระบบภมู คิ ุ้มกนั จะดีข้นึ ใบงานที่ ๕.๓ ประเมนิ โอกาสเส่ียง ลงในชอง คาำ ชแ้ี จง : ใหนักเรียนประเมินโอกาสเส่ียงตอการติดเช้ือเอชไอวี ดวยการเขียนเคร่ืองหมาย การประเมนิ บางขอ อาจถกู ไดม ากกวา ๑ ชอ ง เหตกุ ารณ์ การประเมนิ ๑. การดม่ื นา้ํ แกว เดยี วกนั กับผปู ว ยเอดส มโี อกาสมาก มโี อกาสนอ้ ย ไมม่ โี อกาสเลย ๒. การใชใบมีดโกนโกนหนวดรว มกันกับผปู วยเอดส ๓. การใชเข็มฉีดยารกั ษาโรครว มกันกบั ผปู วยเอดส ๔. การถูกขม ขืนจากผปู ว ยเอดส ๕. การมเี พศสมั พนั ธก บั ผหู ญงิ ทเ่ี พง่ิ รจู กั กนั ในสถานบนั เทงิ โดยไมใชถุงยางอนามยั ๖. การวา ยนํ้าในสระเดยี วกนั กับผูปวยเอดส ๗. ผตู ดิ ยาใชเข็มฉีดยารวมกันกับผปู วยเอดส ๘. การใชหอ งนํา้ เดียวกันกบั ผปู วยเอดส ๙. การจูบปากกันอยางดดู ดมื่ กบั ผูป ว ยเอดส ๑๐. การสมั ผสั เนือ้ ตัวของผปู ว ยเอดส

40 ใบงานที่ ๕.๔ การตงั้ ครรภ์ไม่พรอ้ ม คาำ ช้แี จง : ใหน กั เรยี นหาขา ว แลว ยกตวั อยา ง วเิ คราะหผ ลกระทบจากการตง้ั ครรภไ มพ รอ ม คาำ ตอบขน้ึ อยกู่ บั สภาพจรงิ ของนกั เรยี น อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครู ใบงานท่ี ๕.๕ หลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมเส่ยี ง คำาชแี้ จง : ใหน กั เรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ วธิ กี ารหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมทเ่ี สย่ี งตอ่ การเกดิ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และการตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ๑. หลกี เลย่ี งการมเี พศสมั พนั ธใ์ นวยั เรยี น การมเี พศสมั พนั ธท์ ไ่ี มป่ อ งกนั การปอ งกนั อยา่ งไมถ่ กู วธิ ี หรอื ปฏเิ สธการชกั ชวนทน่ี าำ ไปสกู่ ารมเี พศสมั พนั ธ์ เพราะจะกอ่ ใหเ้ กดิ ปญ หาตา่ งๆ เชน่ การเกดิ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศ สมั พนั ธ์ การตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม ๒. งดดม่ื สรุ า ของมนึ เมา และสารเสพตดิ ตา่ งๆ เพราะจะทาำ ใหข้ าดสติ ขาดการควบคมุ ตนเอง ๓. ปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มทางเพศทน่ี าำ ไปสกู่ ารมเี พศสมั พนั ธท์ ไ่ี มป่ ลอดภยั เชน่ การมคี นู่ อนหลายคน การแลก เปลย่ี นคนู่ อน ๔. หลกี เลย่ี งการเทย่ี วสถานบนั เทงิ เพราะเปน็ สถานทท่ี เ่ี ออ้ื ตอ่ การมเี พศสมั พนั ธ์ ๕. หลกี เลย่ี งสอ่ื กระตนุ้ อารมณท์ างเพศ เชน่ ภาพลามก หนงั สอื กระตนุ้ อารมณท์ างเพศ เวบ็ ไซตห์ าคหู่ าเพอ่ื น การต์ นู ลามก วซี ดี ลี ามก ๖. เมอ่ื เกดิ อารมณท์ างเพศ ควรเบย่ี งเบนความสนใจโดยการทาำ กจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ เลน่ กฬี า เลน่ ดนตรี วาด รปู อา่ นหนงั สอื หรอื อาจใชก้ ารสาำ เรจ็ ความใครด่ ว้ ยตนเอง ซง่ึ เปน็ การลดความกดดนั ทางเพศ แตค่ วรปฏบิ ตั ิ ในทล่ี บั และมดิ ชดิ และไมค่ วรหมกมนุ่ มากเกนิ ไป ๗. ไมใ่ ชข้ องใชส้ ว่ นตวั รว่ มกบั ผอู้ น่ื เชน่ เสอ้ื ชน้ั ใน กางเกงในผา้ เชด็ ตวั มดี โกน กรรไกรตดั เลบ็ ๘. หลกี เลย่ี งการสมั ผสั กบั สารคดั หลง่ั ของผอู้ น่ื เชน่ เลอื ด นา้ำ ลาย เสมหะ เหงอ่ื ปส สาวะ อจุ จาระ ๙. หลกี เลย่ี งการเจาะหู เจาะจมกู เจาะลน้ิ การสกั บนผวิ หนงั ๑๐. การมเี พศสมั พนั ธท์ ป่ี ลอดภยั และรบั ผดิ ชอบ ควรเกดิ จากความรกั ความเขา้ ใจ ความยนิ ยอมพรอ้ มใจ และความพรอ้ มของทง้ั สองฝา ย

41 ใบงานที่ ๕.๖ ปฏเิ สธเพือ่ หลีกเล่ยี งการนำาไปสู่การมีเพศสัมพนั ธ์ คำาชแี้ จง : ใหน กั เรยี นเขยี นคาํ พดู ปฏเิ สธเมอ่ื ถกู ชกั ชวนดว ยคาํ พดู ตอ ไปน้ี ๑ ไปที่บา นเอกนะวันน้ไี มม ใี ครอยเู ลย ........ไ.ป..ไ.ม...่ไ.ด..้ห..ร..อ..ก...เ.พ..ร..า..ะ.ว..ัน..น..จ้ี..ะ..ต..อ้..ง..ไ.ป..ธ..ุร..ะ.ก..ับ...แ.ม...่ .ข..อ..บ..ค..ณุ...ม..า..ก............................................... ........ห..ร..อื ..ข..น้ึ ..อ..ย..กู่ ..ับ..ด..ุล..ย..พ..ิน...จิ .ข..อ..ง..ค..ร..ู ................................................................................... ๒ สม คนื น้ีไปเทยี่ วสถานบันเทิงกันนะ ไปกันหลายคนดวย ................หเ..ร..ร..า..ือไ....ปข....ไึ้น..ม..อ..่ไ..ย..ด..กู่ ..้ห..ับ..ร..ดอ....ุลก....ย....รพ..สู้....นิ กึ....จิ ไ....ขม....อ่ค....งอ่ ..ค..ย..ร..ส..ู ..บ....า....ย....แ....ล....ะ..ป....ว....ด....ห....วั....ด....ว้....ย.................................................................................................................. ๓ คนื วันวาเลนไทนน้ีไปเทย่ี วอยา งที่ครู กั อ่นื ๆ เขาไปเทยี่ วกันนะ ................เห..ร..ร..า..ือไ....มข....ไ่ึ้น..ป..อ..ห..ย..ร..ู่ก..อ..บั ..ก..ด....เลุ..ร..ย..า..พเ..ท....ิน..ยี่ ..ิจ..ว..ขก....อนั....ง..ตค....อร....นู ....ก....ล....า....ง..ว....นั ....ก....็ไ....ด....้น....ี่ ............................................................................................................................ ๔ วันนวี้ ันเกิดนนทไ ปด่มื เปน เพื่อนหนอยนะ ไมเมาหรอก ................หเ..ร..ร..า..อื ไ....ปข....ไึ้น..ม..อ..่ไ..ย..ด..ู่ก..้ห..ับ..ร..ดอ....ลุก....ย....กพ....า..ินร....ิจบ....ขา้....อน....งย..ค..งั ..ร..ไ..มู ....เ่ ..ส....ร....จ็ ....เ..ล....ย......แ....ล....้ว....อ....กี ....อ....ย....า่ ..ง....แ....ม....่ก....ไ็ ..ม....ม่......ีค....น....ช....ว่ ....ย..............................................................

42 เฉลยแบบฝก หัดทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การบริการทางสุขภาพ ๑ หนว ยบรกิ ารปฐมภมู ขิ องรัฐหรอื เอกชนทเี่ ขา รวมโครงการที่อยใู กลบานของนกั เรียนทีส่ ุดคอื ท่ีใด ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เชน่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาำ บล (รพ. สต.) / ศูนยส์ าธารณสขุ มูลฐานชมุ ชน(ศสมช.) ๒ เมื่อนักเรียนเจ็บปวยหรือบาดเจ็บ นักเรียนเคยเขารับการบริการทางสาธารณสุข ณ สถานท่ีใด มีข้ันตอนการใชบ รกิ ารอยางไรบา ง ตวั อยา่ งคำาตอบ เช่น เคยเขา้ รบั บรกิ ารสาธารณสขุ ทโี่ รงพยาบาลเนอ่ื งจากเจบ็ ปว ยเปน็ ไขห้ วดั มขี นั้ ตอนเหมอื นทไ่ี ดศ้ กึ ษา ในเนื้อหาท่เี รยี น คอื ๑. เขา้ รับบรกิ ารรักษาพยาบาลที่หนว่ ยบริการปฐมภมู กิ อ่ น ๒. แจง้ ความจาำ นงขอใช้ สิทธิพรอ้ มบตั รประจาำ ตัวประชาชน ๓ ในกรณที ่เี พ่อื นนกั เรียนประสบอุบัตเิ หตจุ ากรถ นักเรียนมีวิธพี าเพอ่ื นเขา รับบริการทางการแพทยอ ยา งไร ตัวอยา่ งคำาตอบ เช่น พาเขา้ รบั การรักษาทห่ี น่วยบริการของรฐั หรือเอกชนที่เข้ารว่ มโครงการทีใ่ กลท้ ส่ี ดุ ๔ นกั เรยี นเคยพบปญ หาเมอื่ เขาใชบรกิ ารสาธารณสุขหรอื ไม อยางไร ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เชน่ ปญหาความลา่ ชา้ ในการให้บริการ ๕ นักเรียนเคยเขารวมกิจกรรมสงเสริมสุขภาพหรือไม กิจกรรมอะไร แลวไดประโยชนจากการเขารวม อยา งไรบา ง ตวั อย่างคาำ ตอบ เช่น เคยเขา้ รว่ มกจิ กรรมเตน้ แอโรบกิ ไดอ้ อกกาำ ลงั กายและไดร้ บั ความรสู้ กึ ผอ่ นคลายอกี ดว้ ย ๖ สิทธิการรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ มีประโยชน ตอ ประชาชนอยางไรบา ง ตวั อย่างคำาตอบ เช่น ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนชาวไทยมสี ขุ ภาพทด่ี ขี น้ึ และยงั เปน็ การลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ยของประชาชนอกี ดว้ ย ๗ นกั เรยี นคดิ วา การใหบ รกิ ารทางสขุ ภาพ มสี ว นชว ยในการพฒั นาประเทศอยา งไรบา ง ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เช่น การจดั ใหม้ บี รกิ ารทางสขุ ภาพ ไดแ้ ก่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การรกั ษาโรค การปอ งกนั โรค และการฟน ฟู สขุ ภาพ เปน็ ไปเพอ่ื ตอ้ งการใหป้ ระชาชนมสี ขุ ภาพทด่ี ี สามารถดาำ รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ ทาำ งานไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ และเปน็ กาำ ลงั สาำ คญั ในการพฒั นาชาติ ๘ ถา คนในครอบครวั ของนกั เรยี นปว ยเปน ไขส งู นกั เรยี นจะเลอื กพาคนปว ยไปสถานบรกิ ารสขุ ภาพใด เพราะอะไร ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เชน่ เลอื กพาคนปว ยไปสถานบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ เนอ่ื งจากเปน็ การเจบ็ ปว ยทว่ั ไป และยงั สะดวกรวดเรว็ กวา่ สถานบรกิ ารสขุ ภาพอน่ื

43 ๙ ถานักเรียนเปนหน่ึงในผูใหบริการทางสุขภาพ นักเรียนมีแนวทางในการพัฒนาระบบการใหบริการ ทางสขุ ภาพอยา งไร ตัวอย่างคาำ ตอบ เช่น ขยายหนว่ ยบรกิ ารทางสขุ ภาพใหม้ ากขน้ึ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยและสะดวก ๑๐ นกั เรยี นไดป ระโยชนอ ยา งไรจากการเรยี นในเรอ่ื งการบรกิ ารทางสขุ ภาพ ตวั อย่างคาำ ตอบ เช่น ทาำ ใหไ้ ดท้ ราบถงึ หนว่ ยงานสาธารณสขุ วา่ มอี ะไรบา้ ง และทราบขน้ั ตอนการขอรบั สทิ ธกิ ารเขา้ รบั การ รกั ษาอกี ดว้ ย ๑ การบรกิ ารทางสขุ ภาพครอบคลมุ บรกิ ารขอ ใดบาง จ. ถูกทกุ ข้อ เหตผุ ล การบรกิ ารทางสขุ ภาพ หมายถึง การบริการเพ่ือส่งเสรมิ สุขภาพ ปองกนั โรค รักษาพยาบาล และฟนฟูสมรรถภาพของประชาชน ๒ ขอ ใดกลาวถกู ตอ ง จ. ข้อ ๒. และ ๓. เหตผุ ล ทกุ คนมสี ทิ ธใิ นการไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ โดยตอ้ งรว่ มจา่ ยคา่ บรกิ ารในอตั ราทกี่ าำ หนดแก่ หนว่ ยบรกิ ารแตล่ ะครง้ั ทร่ี บั บรกิ าร ยกเวน้ บคุ คลทรี่ ฐั กาำ หนดใหเ้ ปน็ บคุ คลทรี่ ฐั ประกาศกาำ หนดไมต่ อ้ งจา่ ย ๓ วิชัยถูกสงตัวเขาโรงพยาบาลฉุกเฉินเนื่องจากประสบอุบัติเหตุทางรถยนต เขาสามารถใชสิทธิหลักประกัน สุขภาพไดหรือไม ก. ได้ เพราะประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธติ ามพระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาตแิ ละโครงการหลกั ประกนั สขุ ภาพ เหตผุ ล ทุกคนมสี ทิ ธิในการใช้สทิ ธิหลกั ประกนั สขุ ภาพไดท้ กุ กรณี ๔ พรกมลเขา รบั บรกิ ารทางการแพทยท ห่ี นว ยบรกิ ารอน่ื ซง่ึ ไมใ ชห นว ยทต่ี นมสี ทิ ธิ เนอ่ื งจากตอ งไปถงึ โรงพยาบาล ใหเ ร็วที่สดุ เทาท่ีจะทาํ ได พรกมลสามารถใชสทิ ธิหลกั ประกันสุขภาพไดห รอื ไม ก. ได้ เนื่องจากกรณีเจ็บปวยฉุกเฉินหรือกรณีอุบัติเหตุ สามารถเข้ารับบริการของรัฐหรือ เอกชนท่ีเขา้ รว่ มโครงการทอี่ ยู่ใกล้ทีส่ ดุ เหตผุ ล ทุกคนมสี ิทธใิ นการใช้สทิ ธิหลักประกันสุขภาพไดท้ กุ กรณี ๕ สดุ าเขา รับการรักษาท่ีโรงพยาบาลประจาํ จังหวัด ดวยอาการปวยเปนโรคกระเพาะ สดุ าเขารับการบรกิ ารทาง สขุ ภาพประเภทใด ข. หนว่ ยบริการทตุ ยิ ภูมิ เหตุผล โรงพยาบาลประจำาจังหวัดเป็นหนว่ ยบรกิ ารทุตยิ ภมู ิ ๖ จากขอ ๕ เอกสารสําคัญใดที่สดุ าตอ งใชเพือ่ แจงความจํานงขอใชสทิ ธหิ ลักประกันสุขภาพ ค. บัตรประจำาตวั ประชาชน เหตุผล การแจง้ ความจำานงขอใช้สทิ ธหิ ลกั ประกันสุขภาพ ต้องนำาหลักฐานไปแสดงด้วย ได้แก่ บตั ร ประจำาตัวประชาชน หรือบตั รประจำาตัวท่มี ีรปู ถ่ายซง่ึ ทางราชการออกให้

44 ๗ หนว ยงานสาธารณสขุ ใดท่มี ีความสาํ คญั ตอ ประชาชนมากที่สดุ จ. ทกุ หนว่ ยงาน เหตผุ ล ทกุ หนว่ ยงานสาธารณสขุ มีความสำาคัญและจำาเปน็ ตอ่ ประชาชนทุกคนเทา่ กนั หมด ไม่วา่ จะ เป็นหน่วยงานเล็กหรอื ใหญ่ ๘ บุคคลในขอใดมสี ิทธิในการเขา รบั บรกิ ารสุขภาพท่สี ถาบนั ทรวงอก จ. ทกุ คน เหตุผล ทุกคนมีโอกาสได้รับการตรวจและวินิจฉัยหากประสงค์ท่ีจะขอคำาปรึกษาแพทย์หรือเข้ารับ การรกั ษา ๙ ขอ ใดตอ ไปน้ีไมสมั พนั ธกัน ง. สถาบันผิวหนัง-โรงพยาบาลชมุ ชนในระดบั อำาเภอ เหตผุ ล สถาบนั ผวิ หนงั เปน็ การบรกิ ารตตยิ ภมู ิ สว่ นโรงพยาบาลชมุ ชนในระดบั อาำ เภอเปน็ การบรกิ าร ทตุ ิยภมู ิ ๑๐ บุคคลในขอใดท่ีไมมสี ทิ ธริ บั บริการสาธารณสขุ จ. ไม่มขี ้อถูก เหตผุ ล เนือ่ งจากทุกคนมสี ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสุขเท่าเทยี มกันทกุ คน ๑. _ซ_._ ๖. _ช_._ ๒._ค__. ๗._จ_._ ๓._ก__. ๘. _ง_._ ๔._ฉ__. ๙. _ญ__. ๕._ข_._ ๑๐._ฌ__.

45 ใบงานที่ ๖.๑ ความหมายของการบริการทางสุขภาพ คาำ ชี้แจง : ใหน กั เรยี นบอกความหมายของการบรกิ ารทางสขุ ภาพ ใหค รอบคลมุ ทง้ั ๔ ประเดน็ หลกั ข้ึนอยกู่ บั ดุลยพนิ จิ ของครู ตัวอยา่ งคำาตอบ เช่น การบริการสขุ ภาพ หมายถงึ การบรกิ ารเพอื่ ปองกันโรค รักษาพยาบาล และฟน ฟสู มรรถภาพของ ประชาชน ซึ่งดำาเนนิ การโดยบุคลากรหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนรวมทงั้ การมสี ่วนรว่ มในการใหบ้ รกิ าร ของภาคประชาชน การสงเสริมสขุ ภาพ การปองกนั โรค การรักษาพยาบาล การฟน ฟสู ภาพ หมายถงึ เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพ หมายถึง เป็นการจัด หมายถึง เป็นการจัด หมายถึง เป็นการจัด ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ แ ก่ บริการด้านสุขภาพเพื่อ บริการบำาบัดรักษาโรค บริการสุขภาพหลังการ ประชาชนลดปจจัยเส่ียง ปองกันโรคต่างๆ ใน แก่ประชาชนเมื่อเกิด รักษาพยาบาลจนหาย ปรบั ปรงุ สง่ิ แวดลอ้ ม และ ทอ้ งถิน่ จ า ก โ ร ค เ พ่ื อ ใ ห้ ผู้ ป ว ย พฒั นาสขุ ภาพใหด้ ขี น้ึ ทงั้ การเจ็บปวย กลบั ไปสสู่ ภาพปกตกิ อ่ น ทางรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม เจ็บปวยมากที่สุด และสติปญ ญา ใบงานที่ ๖.๒ ระบบบริการสุขภาพ คำาช้ีแจง : ใหน กั เรยี นเขียนหนวยงานสาธารณสขุ ที่เกย่ี วขอ งกบั บริการสขุ ภาพ ระบบบริการสุขภาพ หนว่ ยงานระดบั จังหวดั หน่วยงานระดบั อาำ เภอ หนว่ ยงานระดับตาำ บลและ หมู่บ้าน สาำ นกั งานสาธารณสุข สำานักงานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริม จังหวดั (สสจ.) อำาเภอ (สสอ.) สุขภาพตำาบล (รพ.สต.) โรงพยาบาลศนู ย์ (รพ.ศ.) โรงพยาบาลชมุ ชน (รพ.ช) ศูนย์สาธารณสุข มูลฐานชมุ ชน (ศมมช.) โรงพยาบาลทวั่ ไป (รพ.ท.)

46 ใบงานที่ ๖.๓ ตรวจสอบสทิ ธกิ ารรกั ษาพยาบาล คำาชีแ้ จง : ใหน กั เรียนตรวจสอบสิทธกิ ารรักษาพยาบาลดว ยตนเองพรอมตอบคาํ ถามตอไปน้ี ตวั อยา่ งคาำ ตอบ เช่น ๑. ตรวจสอบสทิ ธกิ ารรกั ษาพยาบาลผ่านโทรศพั ท์มอื ถือ ๒. โทรสายด่วน สปสช. ๑๓๓๐ กด ๒ ตามด้วยหมายเลขบัตรประชาชน ๑๓ หลัก และเครอ่ื งหมาย # ๓. ตัวอยา่ งคำาตอบ เช่น โรงพยาบาลราชวิถี ๔. เคย เพราะใช้สิทธิตามสิทธิการรักษาพยาบาล เป็นหน่วยงานที่อยู่ใกล้บ้าน สามารถ เข้าถงึ สถานพยาบาลได้สะดวก ใบงานท่ี ๖.๔ หน่วยงานบริการทางสุขภาพในฝน คำาชแ้ี จง : ใหนักเรยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี คาำ ตอบขน้ึ อยกู่ บั สภาพจรงิ ของนกั เรยี น อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครู ใบงานท่ี ๖.๕ วธิ ใี ช้สทิ ธหิ ลกั ประกนั สุขภาพเมื่อเจบ็ ปวย คาำ ชแี้ จง : จงบอกวิธกี ารใชสทิ ธหิ ลักประกันสุขภาพเม่อื เจบ็ ปว ย ตัวอย่างคำาตอบ เช่น à¨ºç »Ç† ·ÇÑè ä» .เ..ข..า้ ..ร..บั ...ก..า..ร..ร..กั...ษ..า..พ...ย...า..บ..า..ล...ท..ห่ี...น...ว่ ..ย..บ...ร..กิ ..า..ร... .ป...ฐ..ม...ภ...ูม...ิก..่อ...น...ท..ุก...ค...ร..งั้ ................................. .................................................................. ¡Ã³ÍÕ ØºµÑ àÔ ËµØ à¨çº»Ç† ©¡Ø à©Ô¹ ....หโเป....ค....ข....รน....ร้ ....าะ....่ ง.ว...รจ....ก....ัย.บ...ำา....า....บข....กร........อทร.า........ิ...งก่ีใร........กร.บ...า....ัฐล.....รร.......้ท....ิ อก....ห.ส่ี.......่ื าน....รดุ .....ร...ือน........ท....เ.อ....อ...า.....ก...ก.ง........เ...กช....ห........นา.....น...ร.ท.......ื.แ...อ.ี่เ.......ข.พ...ห.....้...า.ท...น....ร........ย่ ่วว.........์ ท...มย.........ี่ ... ..เห....ข..ร..้า..อื ..ร..เ..อั..บ....ก..ก..ช..า....น..ร....ทร....ักเ่ี..ข....ษ..า้ ....รา....ว่ห....ม..น..โ....่คว....ยร....ง..บ..ก....ร..า..ิก..ร....ทา....รใ่ี....กข....ล..อ....ท้ ..ง..ส่ี..ร....ดุัฐ...... .................................................................. .................................................................. ¡ÒÃÊ‹§µ‹Íà¾Íè× ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ เ..ข..้า...ร..ับ...ก...า...ร..ร..ัก...ษ...า.....ณ.......ห...น...่ว...ย..บ...ร...ิก...า..ร.... ต...า..ม..ส...ทิ ...ธ..หิ ...ล..กั...ป..ร..ะ..ก...นั ...ส..ขุ...ภ..า..พ...................... ..................................................................

47 เฉลยแบบฝกหัดทา้ ยหน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๗ สุขภาพกับการใช้เทคโนโลยี ในชีวติ ประจำาวัน ๑ นักเรียนสํารวจเทคโนโลยีท่ีตนเองใชในชีวิตประจําวันวามีอะไรบาง และคิดวาเทคโนโลยีชนิดใดท่ี นักเรียนใชแ ลวเกดิ ผลเสียตอสขุ ภาพ เพราะเหตใุ ด และจะมีวิธกี ารใชอยา งไรใหป ลอดภัย ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เชน่ เทคโนโลยสี าำ คญั ทใี่ ชใ้ นชวี ติ ประจาำ วนั ไดแ้ ก่ โทรศพั ทม์ อื ถอื สมารท์ โฟน โทรทศั น์ ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ คอมพวิ เตอร์ และ Tablet เทคโนโลยีชนดิ ใดท่ใี ชแ้ ลว้ เกดิ ผลเสยี ต่อสุขภาพมากท่ีสดุ ได้แก่ โทรศพั ท์มือถือ สมาร์ทโฟน เนื่องจากใช้โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนไว้เป็นโทรศัพท์ติดต่อส่ือสารออนไลน์ เล่นเกม เสิรช์ หาข้อมลู เล่นเฟซบกุ ดงั น้นั ใน ๑ วนั จงึ ใชเ้ วลาไปกับโทรศัพท์สมารท์ โฟนกวา่ ๗๐% จงึ ส่งผลใหเ้ กิด อาการลา้ สายตาบ่อยครง้ั สายตาเริม่ ส้ัน เน่ืองจากตอ้ งเพ่งหน้าจอเปน็ เวลานาน วธิ กี ารใชท้ ป่ี ลอดภยั ควร มกี ารพกั ผอ่ นสายตา ไมค่ วรใชง้ านอยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยไมห่ ยดุ พกั ๒ นกั เรยี นคน ควา และนาํ เสนอเทคโนโลยที ใ่ี ชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ทค่ี ดิ วา หากใชม ากเกนิ ไปและไมถ กู ตอ งอาจเกดิ โทษ หรือผลเสียตอ สุขภาพนอกเหนอื จากตวั อยา งท่ีนาํ เสนอในหนงั สือ ตวั อย่างคำาตอบ เช่น Tablet มีฟงกช์ ันการใช้งานท่ัวไปหลักๆ คอื เพอ่ื ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ การสื่อสารออนไลน์ เลน่ เกม และ อ่ืนๆ คล้ายๆ กับโทรศัพทส์ มารท์ โฟน เพยี งแต่ไมส่ ามารถโทรออกได้ มีลักษณะเล็ก เบา สะดวกแก่การ พกพา แตโ่ ทษทเี่ กดิ จากการใชง้ านมากเกนิ ไปและไมถ่ กู ตอ้ ง เชน่ เดก็ บางคนมกั จะตดิ การเลน่ เกมออนไลน์ ผ่าน Tablet ทำาให้เสียสุขภาพถ้าหากเล่นโดยไม่มีการหยุดพัก นอกจากเสียสุขภาพสายตาแล้ว ยังเสีย สขุ ภาพรา่ งกายอกี ด้วย เนือ่ งจากเวลาพักผอ่ นไม่เพยี งพอ ใชช้ วี ิตไมเ่ ป็นเวลา หรือบางคนเสพติดกบั โลก โซเชียลเน็ตเวิร์กท่ีต้องเล่นอยู่ตลอดเวลาไม่สามารถละสายตาได้ กลุ่มคนเหล่านี้อาจจะเกิดปญหาด้าน การสอื่ สารกบั คนรอบขา้ งได้ ๓ นกั เรยี นคดิ วา พฤตกิ รรมการใชเ ทคโนโลยใี นชวี ติ ประจาํ วนั ของนกั เรยี นมคี วามเสย่ี งตอ สขุ ภาพหรอื ไม อยา งไร ตวั อย่างคาำ ตอบ เชน่ พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีประจำาวันทุกวันน้ีค่อนข้างมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอย่างมาก เนื่องจาก ความจาำ เปน็ ทต่ี อ้ งใช้งานเทคโนโลยเี หลา่ นี้ในการประกอบการเรยี น การทำางาน อีกท้งั ยังชว่ ยผอ่ นคลาย ความเครยี ด จนเสมอื นกาำ ลังจะกลายเป็นสิ่งจาำ เป็นในการใชช้ ีวติ เขา้ ไปทุกวนั ส่งผลใหส้ ขุ ภาพกายแยล่ ง เมื่อเสพติดการเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์กเนื่องจากบางครั้งไม่สามารถละมือหรือละสายตาจากอุปกรณ์สื่อสาร ได้ บางคร้ังก็ส่งผลเสียมาถึงสภาพจิตใจ อาจแสดงอาการหงุดหงิดง่ายเวลาถูกขัดจังหวะขณะเล่นเกม หรอื แชต็ อยู่

48 ๔ ถาการใชเทคโนโลยีมีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของนักเรียนอยางหลีกเล่ียงไมได นักเรียนมีวิธีจัดการ การใชเทคโนโลยเี พอ่ื ไมใ หส งผลกระทบตอ สขุ ภาพไดอยา งไร ตวั อย่างคาำ ตอบ เชน่ จดั เวลาการใชง้ านและการพกั ผอ่ นใหส้ มดลุ กนั เมอ่ื ใชง้ านไปสกั ระยะหนงึ่ กค็ วรพกั เครอ่ื ง พกั สายตา เปลย่ี นอิรยิ าบถการนง่ั การเดิน เปน็ ตน้ ๕ อธบิ ายความสาํ คญั ของเทคโนโลยตี อ การพฒั นาดา นสาธารณสุข ตัวอย่างคาำ ตอบ เช่น ความเจรญิ ทางเทคโนโลยสี ามารถนาำ มาใชเ้ พอ่ื พฒั นาระบบสาธารณสขุ ใหม้ คี ณุ ภาพเพอ่ื ใหป้ ระชาชน ได้รับบรกิ ารด้านสุขภาพที่มีคุณภาพย่ิงข้ึน สง่ เสริมให้สขุ ภาพของประชาชนดขี น้ึ ๖ นักเรียนคิดวาความเจริญกาวหนาทางการแพทยดานใดท่ีนักเรียนมีโอกาสใชในชีวิตประจําวัน พรอมยกตวั อยาง ตัวอย่างคำาตอบ เชน่ เคยมีโอกาสได้รับการฉีดวัคซีนปองกันโรคบาดทะยักและวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ ซ่ึงความเจริญ ก้าวหน้าทางการแพทย์ด้านการผลิตวัคซีนปองกันโรคน้ีมีประโยชน์อย่างมาก เน่ืองจากช่วยลดปริมาณ ผ้ปู ว ยไดม้ ากมายหลายโรค ๗ หากนกั เรยี นเปน นกั วทิ ยาศาสตร นกั เรยี นคดิ วา จะผลติ เทคโนโลยที างการแพทยอ ะไรเพอ่ื เปน ประโยชนต อ สขุ ภาพ ของตนเองและครอบครวั ตัวอยา่ งคำาตอบ เช่น ถา้ ไดเ้ ปน็ นกั วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยที างการแพทยท์ ต่ี อ้ งการผลติ เพอ่ื เปน็ ประโยชนต์ อ่ สขุ ภาพของตนเอง และครอบครวั คอื การผลติ วคั ซนี ปอ งกนั โรคสายตาสน้ั และยาว เพอ่ื ใหส้ ามารถรกั ษาความปกตขิ องสายตา ใหอ้ ยไู่ ดอ้ ยา่ งยาวนาน และดาำ รงชวี ติ ประจาำ วนั ไดอ้ ยา่ งสะดวก ๘ นอกจากความเจรญิ ทางการแพทยจ ะชว ยรกั ษาอาการเจบ็ ปว ย ลดอตั ราการตาย และสง เสรมิ สขุ ภาพประชาชนแลว ยงั มผี ลตอ การพฒั นาประเทศอยา งไร ตวั อย่างคำาตอบ เชน่ เม่อื มีความเจริญทางการแพทย์จะส่งเสริมให้ประชากรมีสุขภาพร่างกายท่แี ข็งแรงสมบูรณ์ ทำาให้มี ประสทิ ธภิ าพในการทาำ งานทส่ี งู ขน้ึ สง่ ผลใหป้ ระเทศชาตมิ ที รพั ยากรทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและศกั ยภาพทม่ี ากพอ ในการขบั เคลอ่ื นใหช้ าตเิ กดิ การพฒั นาตอ่ ไป ๙ นักเรยี นคนควา และนาํ เสนอความกาวหนา ทางการแพทยน อกเหนือจากทมี่ ใี นหนังสือ ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เช่น วคั ซนี สาำ หรบั อลั ไซเมอร์ เปน็ วคั ซนี ทมี่ ฤี ทธใิ์ นการปอ งกนั และรกั ษาการสญู เสยี ความทรงจาำ โดยใช้ หลักการเดียวกันกับวัคซีนปองกันโรคอ่ืนๆ คือ กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันมาต่อต้านสารก่อโรค จะฉีดเขา้ ไปในรา่ งกายเพือ่ กระตุ้นระบบภมู ิคมุ้ กนั ใหส้ รา้ ง จากการทดลองพบว่า ผูป้ ว ยมคี วามจำาท่ีดีขึน้

49 ๑๐ นกั เรยี นไดร บั ประโยชนอ ยา งไรในการศกึ ษาเนอ้ื หาเรอ่ื งสขุ ภาพกบั การใชเ ทคโนโลยใี นชวี ติ ประจาํ วนั ตัวอยา่ งคาำ ตอบ เช่น ได้ทราบถึงโทษที่อาจเกิดจากการใช้งานที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมของเทคโนโลยี ทำาให้ตระหนักถึงการ ดูแลสุขภาพและการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมีสติ ใช้แต่พอดี และเหมาะสม ๑ การใชเ ทคโนโลยีของบคุ คลในขอ ใดสง ผลเสียตอสขุ ภาพมากทีส่ ุด ก. ซนั นี่ทาำ งานเปน็ กราฟกดีไซน์ เขาเป็นคนท่ีมฝี มือจึงมงี านเขา้ มากมาย เหตุผล เนื่องจากการทำางานด้านกราฟกดีไซน์จะต้องจดจ่ออยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์อยู่ตลอดเวลา จงึ ส่งผลให้ผู้ที่ทาำ งานด้านนี้มกั ประสบปญ หาทางสายตาและสุขภาพอน่ื ๆ ตามมามากมาย ๒ การใชเ ทคโนโลยีของบคุ คลในขอ ใดไมเหมาะสม ข. ขวัญเล่นเกมในโทรศัพทม์ อื ถือระหว่างยืนรอรถเมล์ เหตุผล ไมค่ วรยนื เล่นเกมระหวา่ งยนื รอรถเมล์ หรอื ยนื ตามพนื้ ที่การจราจรสาธารณะ เน่ืองจากอาจ เกิดการถกู ฉกชิงวง่ิ ราวทรพั ยส์ ิน และอาจก่อใหเ้ กิดอบุ ัติเหตุทีไ่ มค่ าดคดิ อกี ดว้ ย ๓ การใชง านเทคโนโลยขี อ ใดเส่ยี งตอ การมปี ญหาดา นสายตามากทสี่ ุด ง. การเล่นเกมแข่งรถเป็นประจำา ไม่ต่าำ กว่าวันละ ๒ ช่ัวโมง เหตผุ ล เนอ่ื งจากการเลน่ เกมประเภทแขง่ รถ ฟตุ บอล หรอื ตอ่ สจู้ ะตอ้ งใชส้ ายตาอยา่ งมากในการเลน่ และสว่ นมากระยะเวลาการเล่นโดยทว่ั ไปจะอยู่ขัน้ ต่ำาที่ ๒ ชว่ั โมง ซึ่งแตกต่างจากกจิ กรรมในขอ้ อื่นท่อี าจ ใชส้ ายตาแตเ่ ป็นแคเ่ พียงระยะสั้นๆ หรอื อาจไม่ไดใ้ ชส้ ายตาเลยจึงไมไ่ ดส้ ง่ ผลมากเท่าการเล่นเกม ๔ ขอใดใชเทคโนโลยไี ดถ ูกตองเหมาะสมมากทสี่ ดุ ง. ควรพักสายตาจากการดโู ทรทัศน์ อย่าดูติดตอ่ กนั เปน็ เวลานาน เหตผุ ล ขอ้ ก. ไมเ่ หมาะสมเพราะ ควรเปด ไฟขณะทาำ งานคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื ปอ งกนั การใชส้ ายตามากเกนิ ไป ขอ้ ข. ไมเ่ หมาะสมเพราะ ไมค่ วรนง่ั พมิ พค์ อมพวิ เตอรบ์ นโซฟา เปน็ ทา่ นง่ั ทไ่ี มเ่ หมาะสมอาจทาำ ใหเ้ กดิ ปญ หา สขุ ภาพได้ ขอ้ ค. ไมเ่ หมาะสมเพราะ ไมค่ วรเดนิ หรอื หยดุ ยนื เลน่ เกมในทส่ี าธารณะ ๕ การใชเ ทคโนโลยีอยา งไมถกู ตอ งจะกอ ใหเ กดิ ผลเสียในขอ ใดบา ง ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก เหตุผล เน่อื งจากการใช้เทคโนโลยีอยา่ งต่อเนอ่ื งทำาใหเ้ กดิ ความเคยชิน เน่ืองจากเอ้ืออาำ นวยตอ่ การ ดำาเนินชีวิตให้สะดวกยิง่ ขนึ้ ทำาให้เทคโนโลยเี ข้ามามีบทบาทในชีวิตมากขน้ึ ในบางกรณีเสพตดิ เทคโนโลยี แบบไม่สามารถขาดได้เสมือนปจจัย ๔ ในการดำารงชีวิตของมนุษย์ และเมื่อเกิดการใช้งานที่มากเกินไป และไมถ่ กู ตอ้ งจะทาำ ใหเ้ กดิ อาการเจบ็ ปว ย เชน่ อาการเจบ็ ปว ยทางสายตา อาการปวดเมอ่ื ยและลา้ ตามตวั เปน็ ต้น

50 ๖ ขอใดคอื ปญ หาทีเ่ กดิ จากผลกระทบจากการเลนเกมมากเกนิ ไป จ. เป็นไปไดท้ กุ ขอ้ เหตุผล การเลน่ เกมมากเกนิ ไป ทาำ ใหเ้ กดิ การหมกมนุ่ และจรงิ จงั กบั การเลน่ เกมมากเกนิ ไป นานเข้าก็ จะเกิดปญหาดา้ นสขุ ภาพกาย เช่น ปญ หาทางสายตา พฤติกรรมทีพ่ บของเดก็ ทต่ี ิดเกมจะเร่มิ มพี ฤตกิ รรม ทก่ี ้าวรา้ ว ขึ้นกบั ประเภทเกมท่เี ลน่ และจะมปี ระสิทธภิ าพการส่ือสารทีต่ ่ำาลง ๗ ขอ ใดแสดงถงึ ความเจริญกา วหนา ทางการแพทย ก. วัคซนี อโี บลา เหตผุ ล วัคซนี อโี บลา เกดิ จากเทคโนโลยแี ละความเจรญิ ทางการแพทย์ทส่ี ามารถนำามาผลิตวคั ซนี ที่ มีประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ ส่วนในข้ออ่ืนๆ ไม่เกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ข้อ ค.-ง. เป็นการส่งเสริมให้การบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ ดขี ึ้น สว่ นขอ้ ข. เกย่ี วกับพนั ธุวิศวกรรม ๘ ขอ ใดเปน ปจ จยั ทสี่ งเสรมิ ใหเ กดิ ความเจริญกาวหนาทางการแพทย จ. ถกู ทุกข้อ เหตผุ ล ถกู ทกุ ขอ้ เนอื่ งจากเศรษฐกจิ ทดี่ ขี องประเทศจะเปน็ แหลง่ เงนิ ทนุ ทรี่ ฐั ใชเ้ พอื่ ใหน้ กั วจิ ยั ใชว้ จิ ยั เพ่ือผลประโยชน์แกป่ ระเทศชาติ การเมอื งกเ็ ช่นเดียวกนั ถ้าบา้ นเมอื งสงบสขุ ทกุ ฝา ยจะสามารถทำางาน ร่วมกัน ให้ความสนับสนุนการแพทย์และนักวิจัยได้อย่างเต็มที่ ส่วนโรคระบาดจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิด การพัฒนาเพือ่ ชว่ ยเหลอื ชีวิตผคู้ นจาำ นวนมาก สุดท้ายท่ีขาดไม่ไดค้ อื การมเี ทคโนโลยีที่เจรญิ กา้ วหนา้ จะ ชว่ ยใหม้ ีความสำาเรจ็ ในการวิจัยและพฒั นาทางการแพทยม์ ากขน้ึ ๙ ขอใดเปน ประโยชนของการใชเทคโนโลยมี ากทีส่ ุด ก. สะดวก เหตผุ ล เทคโนโลยมี ปี ระโยชนม์ ากมาย คอยเออ้ื อาำ นวยใหด้ าำ เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งสะดวกสบายยง่ิ ขน้ึ และ ยังมีหลากหลายเทคโนโลยี หลากหลายรปู แบบให้ได้เลอื กใชต้ ามวถิ ีชีวติ ทแี่ ตกต่างกนั ของแต่ละบุคคล ๑๐ ขอ ใดไมใ่ ช่ความเจรญิ กาวหนา ทางการแพทย ง. Hepatitis C เหตผุ ล Hepatitis C คือ ชือ่ ไวรสั ตับอักเสบชนิดซี แต่ในขอ้ อน่ื คอื ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ดังน้ี BCG คือวัดซีนปองกันวัณโรค MMR คือวัคซีนปองกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน stem cell theraphy คือเทคโนโลยีท่ีใช้ในการฟนฟูและชะลอความเสื่อมของสุขภาพร่างกายและ Mammogram คือ เครอ่ื งตรวจมะเรง็ เต้านม ๑. _จ_._ ๖. _ก_._ ๒._ค__. ๗._ญ__. ๓._ฌ__. ๘. _ซ__. ๔._ฉ__. ๙. _ช_._ ๕._ข_._ ๑๐._ง_._