คํา ที่มีพยัญชนะ สระไม่ ออกเสียง ป. 3

เรียนมาตั้งแต่เด็ก แต่บางคำเราก็ยังไม่เข้าใจทั้งหมด อย่างผู้เขียนเองจะไม่สามารถเขียนคำว่า “กษัตริย์” ได้ง่ายๆ จะต้องเขียนพร้อมท่องใจในว่า “กะ สัด ตอ ริ ยอ” ฮ่าๆๆ นึกแล้วก็ยังแอบขำตัวเองไม่หาย หรืออย่างคำว่า “สับปะรด” ก็มักจะเขียนสลับตำแหน่งระหว่าง บ.ใบไม้ กับ ป.ปลา ทุกทีสิน่า วันนี้เลยหาความรู้ใส่ตัวเกี่ยวกับภาษาไทย ให้หายคาใจกับคำที่เคย เขียนยาก อ่านออกเสียงพลาดทุกที

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียง ในภาษาไทย

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ได้แก่

1. พยัญชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต (  ) กำกับ เช่นคำว่า ฤกษ์ สุขสันต์

2. พยัญชนะ หรือ สระที่ตามหลังตัวสะกดเป็นบางคำ เช่น จักร (ไม่ออกเสียง ร) พักตร์ (ไม่ออกเสียงทั้ง ต และ ร) เหตุ (ไม่ออกเสียง สระ อุ )

3. ร หรือ ห ที่นำพยัญชนะตัวสะกดในบางคำ เช่นคำว่า นารถ พราหมณ์ พระพรหม

4. ร ในอักษรควบไม่แท้ เช่นคำว่า ทราบ ทราม ทราย ทรุดโทรม อินทรีย์ จริง ไซร้ เศร้า สระน้ำ

ตัวอย่างคำที่ไม่ออกเสียง ร ที่ตามตัวสะกด

กอปร , เกษตร , จักร , ฉัตร , นักษัตร , บุตร , มิตร , สมัคร , เพชร , บาตร , บัตร , กิจวัตร , สูตร , ธรรมวัตร , นักษัตร , เนตรนารี , บริพัตร , ปริมาตร

ตัวอย่างคำที่ไม่ออกเสียงตัว ร , ห ที่อยู่กลางคำ

ชลมารค , ปรารถนา , พรหม , สามารถ

ตัวอย่างคำที่ไม่ออกเสียงสระ อิ หรือสระ อุ

เกตุ , ชาติ , ญาติ , ธาตุ , เมรุ , เหตุ , ประวัติ , พยาธิ , ภูมิใจ , ภาคภูมิ , จักรพรรดิ , จักรวรรดิ , ปฐมสมโพธิ , โลกนิติ , สมมติ , สมมุติ , สัญชาติ , ประพฤติ , คุณวุฒิ , สมบัติ , อัตโนมัติ , จักรพรรดิ , บัญญัติ , ปริยัติ , ปฏิบัติ , ขัดสมาธิ

ตัวอย่างคำที่ไม่ออกเสียงหลายกรณี

เช่น

  • ปาฏิหาริย์ ไม่ออกเสียง ิ และ ย์
  • พราหมณ์ ไม่ออกเสียง ห และ ณ์
  • กษัตริย์ ไม่ออกเสียง ริ และ ย์
  • อาถรรพณ์ ไม่ออกเสียง พ และ ณ์
  • กิโลเฮิรตซ์ ไม่ออกเสียง ร และ ซ์
  • เกียรติ ไม่ออกเสียง ร และ

สอนชาวต่างชาติ ให้เรียนรู้ภาษาไทย

Learning Thai language – Thai consonants

By @MThai Inter English : https://en.mthai.com

ถึงแม้ว่าจะผิดพลาดอย่างไร แต่เรื่องการใช้ “คะ” กับ “ค่ะ” นี่ผู้เขียนไม่เคยพลาดแน่นอน มั่นใจสุดๆ

ที่มา mcpswis.mcp.ac.th/ , www.gotoknow.org/posts/313619 , ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ภาษาไทยเบื้องต้น/พยัญชนะ

บทความแนะนำ

  • รวมชื่อเก๋ๆ ที่สะกดได้ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ พร้อมความหมาย
  • ชื่อย่อ มหาวิทยาลัยไทย | ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  • 200 ข้อคิดดีๆ คำคมสอนใจ ภาษาไทย-อังกฤษ
  • ชื่อเรียก วิชาเรียนต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษ
  • คำที่คนไทยมักเขียนผิด ภาษาไทยที่มักใช้ผิด

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

 การอ่านและเขียนคำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง ต้องสังเกตและจดจำตัวเหล่านั้นเพื่ออ่านและเขียนคำได้ถูกต้อง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

 ท 4.1 ตัวชี้วัด ป.3/1

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกความหมายของคำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียงได้

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1) เขียนคำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียงได้

2) อ่านคำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียงได้

3. ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน

การวัดผลและประเมินผล

1. ประเมินผลการทำใบงานที่ 12 เรื่อง จำแนกคำที่มีตัวอักษรและสระไม่ออกเสียง

2. ประเมินผลการทำใบงานที่ 13 เรื่อง นำคำไปเติมลงในช่องว่าง

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง วิชาภาษาไทย ป.3

คํา ที่มีพยัญชนะ สระไม่ ออกเสียง ป. 3

คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง วิชาภาษาไทย ป.3

  1. 1. คำที่มีตัวอักษรไม่ออกเสียง ส่วนใหญ่จะเป็นตัวอักษรที่ทำหน้ำที่เป็นตัวสะกด เมื่ออ่ำนจะไม่ออก เสียง แต่จะออกเสียงเป็นตัวสะกดร่วมกันเลย บำงคำตัวอักษรนั้นก็มีรูปสระผสม แต่ไม่อ่ำนออกเสียงสระ ซึ่งกำรที่มีตัวอักษรลักษณะนั้นก็เพื่อรักษำรูปศัพท์เดิมในภำษำเดิม แล้วปรับเสียงอ่ำนให้เหมำะกับกำรออก เสียงอย่ำงไทย เช่น  พุทธ อ่ำนว่ำ พุด (ไม่ออกเสียง ธ แต่ร่วมกับ ท เป็นเสียง ด สะกด)  บุตร อ่ำนว่ำ บุด (ไม่ออกเสียง ร แต่ร่วมกับ ต เป็นเสียง ด สะกด)  เมตร อ่ำนว่ำ เมด (ไม่ออกเสียง ร แต่ร่วมกับ ต เป็นเสียง ด สะกด)  เหตุ อ่ำนว่ำ เหด (ไม่ออกเสียงสระอุ แต่ร่วมกับ ต เป็นเสียง ด สะกด)  ญำติ อ่ำนว่ำ ยำด (ไม่ออกเสียงสระอิ แต่ร่วมกับ ต เป็นเสียง ด สะกด) ๑. คำที่ไม่ออกเสียงตัว ร, ห ที่อยู่กลำงคำ  ชลมำรค (ชน-ละ-มำก)  สำมำรถ (สำ-มำด)  ปรำรถนำ (ปรำด-ถะ-หนำ)  พรหม (พรม)  พรำหมณ์ (พรำม) ๒. คำที่ไม่ออกเสียงตัว ร ที่ตำมตัวสะกด  กอปร (กอบ)  เกษตร (กะ-เสด)  จักร (จัก)  ฉัตร (ฉัด)  บัตร (บัด)  สมุทร (สะ-หมุด)  เพชร (เพ็ด)  สมัคร (สะ-หมัก)  บำตร (บำด)  สูตร (สูด)
  2. 2. ๓. คำที่ไม่ออกเสียงสระอิ  ขัดสมำธิ (ขัด-สะ-หมำด)  ชำติ (ชำด)  บัญญัติ (บัน-หยัด)  ประวัติ (ประ-หวัด)  สมมุติ (สม-มุด)  ภูมิใจ (พูม-ใจ) ๔. คำที่ไม่ออกเสียงสระอุ  เกตุ (เกด)  ธำตุ (ทำด)  เมรุ (เมน)  เหตุ (เหด) เขียนตัวอักษรหรือสระที่ไม่ออกเสียงของคำต่อไปนี้ พร้อมทั้งเขียนคำอ่ำน ๑. สมมุติ ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๒. เพชร ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๓. ธำตุ ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๔. ภูมิใจ ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๕. บำตร ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๖. เมรุ ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๗. พยำธิ ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๘. ปรำรถนำ ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๙. มิตร ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................ ๑๐. เหตุ ไม่ออกเสียง ........................ อ่ำนว่ำ ................................................................................
  3. 3. เขียนคำจำกคำอ่ำนที่กำหนดให้ ๑. กะ-เสด = ................................................................................... ๒. แร่-ทำด = ................................................................................... ๓. สม-มำด = ................................................................................... ๔. สะ-หมุด = ................................................................................... ๕. สะ-หมัก = ................................................................................... ๖. พะ-ยำด = ................................................................................... ๗. คุน-นะ-วุด = ................................................................................... ๘. พระ-พรม = ................................................................................... ๙. สม-มุด = ................................................................................... ๑๐. วัน-สำด = ...................................................................................

คำใดมีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง

คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง หมายถึง คำที่มีรูปของ พยัญชนะและสระบางตัวปรากฏอยู่ แต่รูปพยัญชนะและสระตัวนั้น จะไม่ออกเสียงเวลาอ่าน ซึ่งจำแนกได้ดังนี้ 1. ไม่ออกเสียง ร หรือ ห ซึ่งอยู่กลางคำ เช่น ชลมารค อ่านว่า ชน-ละ-มาก พจนารถ อ่านว่า พด-จะ-นาด ปรารถนา อ่านว่า ปราด-ถะ-หนา พราหมณ์ อ่านว่า พราม

คำข้อใดมีพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง

พยัญชนะที่ไม่ออกเสียง ในภาษาไทย.
พยัญชนะที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต (  ) กำกับ เช่นคำว่า ฤกษ์ สุขสันต์.
พยัญชนะ หรือ สระที่ตามหลังตัวสะกดเป็นบางคำ เช่น จักร (ไม่ออกเสียง ร) พักตร์ (ไม่ออกเสียงทั้ง ต และ ร) เหตุ (ไม่ออกเสียง สระ อุ ).
ร หรือ ห ที่นำพยัญชนะตัวสะกดในบางคำ เช่นคำว่า นารถ พราหมณ์ พระพรหม.

คำที่มีสระไม่ออกเสียงมีอะไรบ้าง

คำที่ไม่ออกเสียงพยัญชนะหรือสระบางตัว.

คําในข้อใดมีตัว ร ที่ไม่ออกเสียง

1.1 คำที่ไม่ออกเสียง ร ที่ตามตัวสะกด เช่น กอปร เกษตร จักร ฉัตร สมุทร บุตร มิตร สมัคร เพชร บาตร บัตร สูตร สมัคร ศีรษะ เนตรนารี นักษัตร ปริมาตร ธรรมวัตร กิโลเมตร กิจวัตร