เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช


���ʡѴ�¡�á��蹴����͹�� ���Ըա��ʡѴ����͡�ҡ�ͧ��������͹���繵�Ƿ������ �Ըչ��������Ѻ�¡��÷������§��� �������¹�� ������ӻ�ԡ����ҡѺ��� �͡�ҡ��÷��������ҡ
���ʡѴ�¡�á��蹴����͹�ӹ͡�ҡ��ʡѴ�������§����͡�ҡ���������ҡ�����ѧ����ö���¡��÷���ըش��ʹ�٧������µ�Ƿ��ش��ʹ�ͧ�ѹ���ա ���С�á������Ըչ������ѹ���繤����ѹ�ͧ͢�͹�Ӻǡ�����ѹ�ͧ͢�ͧ���Ƿ���ͧ����¡ �֧���������ѹ����ҡѺ�����ѹ�ͧ����ҡ�ȡ�͹����س����Ԩж֧�ش��ʹ�ͧ�ͧ���Ƿ���ͧ����¡ �ͧ ����֧�����͡�ҷ���س����Ե�ӡ��Ҩش��ʹ�ͧ�ͧ���Ƿ���ͧ����¡ �� ��� A �ըش��ʹ 150 C �����ʡѴ�¡�á��蹴����͹�Ө������ A ���������͡�� � �س����� 95 C �������ѹ 760 ��������âͧ��ͷ ͸Ժ������� ��� 95 C ��Ҥ����ѹ�ͧ͢��� A ��ҡѺ 120 ��������âͧ��ͷ ����͹����ҡѺ 640 ��������âͧ��ͷ ����ͤ����ѹ�ͧ͢��� A ����Ѻ�͹�Ө���ҡѺ 760 ��������âͧ��ͷ ������ҡѺ�����ѹ����ҡ�� �֧�������� A ��й�ӡ��������͡�������س����Ե�ӡ��Ҩش��ʹ�ͧ��� A
������ҧ����¡����¡�á��蹴����͹�� ���� ����¡����ѹ���������͡�ҡ��ǹ��ҧ�ͧ�ת �� ����¡����ѹ�٤��Ի����͡�ҡ��٤��Ի��� ����¡����ѹ�С�ٴ�͡�ҡ����С�ٴ ����¡����ѹͺ�¨ҡ���͡��ͺ�� �繵� 㹡�á����͹�Ө�价�������ѹ�������¡��������¡�͡�Ҿ�����Ѻ�͹�� ����ͷ�����ͧ͢�ͧ����Ǻ���¼�ҹ����ͧ�Ǻ�� ���������й���ѹ�������»��ѹ���¡��鹡ѹ���� ���������ö�¡��ҹ���ѹ���������͡�ҡ��������


การสกัดน้ำมันหอมระเหย

เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช

เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช
การสกัดน้ำมันหอมระเหยสามารถทำได้ 5 วิธี ดังนี้
1. การกลั่น เป็นวิธีที่นิยมมากที่สุดเพราะทำง่าย ประหยัด ทำโดยการให้ไอน้ำผ่านพืชสมุนไพรซึ่งต้องการสกัดที่อยู่ในหม้อกลั่น น้ำมันระเหยจะถูกสกัดออกมาพร้อมกับไอน้ำซึ่งจะผ่านไปตามท่อ และถูกทำให้เย็นเก็บไว้ในขวด น้ำมันระเหยจะแยกตัวออกจากน้ำทำให้แยกออกได้ง่าย ได้น้ำมันหอมระเหย และน้ำปรุง น้ำมันที่สกัดโดยวิธีนี้ได้แก่ น้ำมันไพล น้ำมันตะไคร้ เป็นต้น
2. การสกัดด้วยน้ำมันสัตว์ ใช้กับน้ำมันหอมระเหยที่ระเหยได้ง่ายเมื่อกลั่นด้วยไอน้ำ วิธีนี้ใช้เวลานานเนื่องจากต้องแช่พืชไว้ในน้ำมันหลายวันเพื่อให้น้ำมันดูดเอากลิ่นหอมออกมา น้ำมันที่สกัดโดยวิธีนี้ ได้แก่ น้ำมันหอมระเหยจากดอกมะลิ ดอกกุหลาบ เป็นต้น
3. การสกัดด้วยตัวทำละลาย เป็นการสกัดโดยใช้ตัวทำละลายที่เหมาะสมซึ่งเป็น Volatile hydrocarbon เช่น hexane, benzene หรือ petroleum ether สกัดเอาสารหอมออกมา วิธีนี้จะได้น้ำมันหอมระเหยที่มีกลิ่นคงเดิม ได้น้ำมันที่มีความเข้มข้นสูง แต่คุณภาพไม่ดี เนื่องจากมักมีสารอื่นปะปนมาด้วย เหมาะสำหรับพืชที่ทนความร้อนสูงไม่ได้ วิธีนี้จะใช้กับพืชที่มีถุงน้ำมันอยู่ใต้เปลือกซึ่งมีองค์ประกอบที่สลายตัวโดยความร้อน เช่น มะลิ ซ่อนกลิ่น และหลังการสกัดต้องระเหยตัวทำละลายออกให้หมด
4. การคั้นหรือการบีบ ทำให้ได้น้ำมันที่อยู่ในเปลือกผลไม้ เช่น เปลือกส้ม แต่จะได้ปริมาณน้ำมันน้อยและไม่บริสุทธิ์
5. การสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหลวภายใต้ความดันสูง วิธีนี้จะได้น้ำมันหอมระเหยที่มีกลิ่นหอมมาก เพราะประสิทธิภาพการสกัดสูง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายใต้ความดันสูง (200 เท่าของความดันบรรยากาศและอุณหภูมิ 33OC) จะกลายสภาพกึ่งเหลวกึ่งก๊าซเรียกว่าSupercritical state มีคุณสมบัติในการละลายสูง จะสามารถสกัดสารหอมออกมาได้มาก ข้อดีคือไม่ใช้ความร้อน ดังนั้นสารหอมต่างๆจะไม่สลายตัว จะคงสภาพเหมือนในสภาวะธรรมชาติ แต่วิธีนี้ต้องใช้เครื่องมือราคาแพงและวิธีการยุ่งยาก

เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช
องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหย เป็นอย่างไร
       องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยมีอยู่มากมายหลายร้อยชนิด แต่สามารถแยก เป็นกลุ่มของสารได้เป็น 7 กลุ่ม ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะออกฤทธิ์ในการบำบัดที่แตกต่างกันดังนี้

- Alcohols สารในกลุ่มนี้มีคุณสมบัติ ฆ่าเชื้อโรค ต้านเชื้อไวรัส ยกระดับจิตใจ ได้แก่ Linalol citronellol geraniol borneol menthol nerol teppineol ฯลฯ
- Aldehydes สารในกลุ่มนี้มีฤทธิ์ในการระงับประสาท ยกระดับจิตใจ ลดการอักเสบ ลดความอ้วน ขยายหลอดเลือด และมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อโรค ตัวอย่างได้แก่ Cidral citronellal neral geranial
- Esters มีคุณสมบัติระงับประสาท สงบอารมณ์ ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบ และต้านเชื้อราได้แก่ linalyl acetate geranyl acetate bomyl acetate eugenyl acetate lavendulyl acetate
- Ketones สาร Ketones มีคุณสมบัติช่วยขยายหลอดลม ละลายเสมหะ เสริมสร้างเนื้อเยื่อ และลดการอักเสบได้แก่ Jasmone fenchone camphor carvone menthone
- Oxides ในสารกลุ่มนี้ มีคุณสมบัติในการขับเสมหะ ละลายเสมหะที่สำคัญได้แก่ Cineol นอกนั้นก็มีสารที่มีคุณสมบัติฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และการกระตุ้นระบบประสาท ได้แก่ Linalol oxide ascaridol bisabolol oxide bisabolon oxide
- Phenols มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย กระตุ้นระบบประสาท และภูมิต้านทานของร่างกายได้แก่ Eugenol thymol earvacrol
- Terpenes สารในกลุ่มนี้มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อและลดการอักเสบ ประกอบด้วย Camphene cadinene caryophyllene cedrene dipentene phellandrene terpinene sabinene mycrene สาร sesquiterpenes เช่น chamazulene farnesol มีฤทธิ์ในการลดการอักเสบและต้านเชื้อแบคทีเรีย สาร limonene มีคุณสมบัติต้านไวรัส pinene มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ เป็นต้น
       โดยปกติน้ำมันหอมระเหยแต่ละชนิดจะมีสารประกอบทางเคมีตั้งแต่ 50-500 ชนิด องค์ประกอบทางเคมีแต่ละชนิด ก็มีคุณสมบัติแตกต่างกันไป ดังที่กล่าวแล้ว แต่เมื่อมาผสมผสานกันอยู่ มันก็ทำให้เกิดคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์ ของน้ำมันหอมระเหยจากพืชแต่ละชนิด ที่มีจุดเด่นความเหมือนและความแตกต่างในการบำบัดต่างกันออกไป

เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช
เอกสารอ้างอิง
1. Aroma Therapy ศาสตร์และศิลป์ของกลิ่นหอม การนวด & น้ำมันหอมระเหย. Available at: http://www.elib-online.com/doctors/gen_aroma01.html. Accessed January 25, 2005.
2. สิริลักษณ์ มาลานิยม. น้ำมันหอมระเหย สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทย. Available at: http://library.tisi.go.th/multim/bulletin/2545/325Jul02.pdf. Accessed January 25, 2005.
3. สุชาดา ไชยสวัสดิ์. อโรมาเธอราปีคืออะไร. Available at: http://digital.lib.kmutt.ac.th/magazine/issue1/article/aroma.html. Accessed January 25, 2005.

เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช

HOME

เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหย

1. เหตุใดจึงนิยมใช้วิธีการสกัดด้วยไอน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช ทำได้ง่าย สารจะมีกลิ่นหอมมากขึ้น สารไม่ละลายตัวขณะสกัด

วิธีการใดที่นิยมใช้ในการสกัดน้ำมันหอมระเหย

การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชด้วยการกลั่นนั้นก็มีหลักการง่ายๆ คือ ต้มสมุนไพรกับ น้ำในหม้อต้ม หรือถ้าไม่ต้มโดยตรง ก็ใช้วิธีผ่านไอน้ำไปยังสมุนไพร เมื่อสมุนไพรโดนความร้อนต่อม น้ำมันหอมระเหยก็จะแตก น้ำมันหอมระเหยก็จะเป็นไอออกมาพร้อมกับไอน้ำ ซึ่งจะถูกส่งผ่านทางท่อ ไปยังส่วนควบแน่นที่ถูกหล่อเย็นด้วยน้ำ เมื่อไอน้ำและน้ำมันหอม ...

สมบัติของสารที่นำมาสกัดด้วยไอน้ำคือข้อใด *

การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำ เป็นวิธีการสกัดสารออกจากของผสมโดยใช้ไอน้ำเป็นตัวทำละลาย วิธีนี้ใช้สำหรับแยกสารที่ละเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ ออกจากสารที่ระเหยยาก

การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำนิยมใช้สกัดอะไร

การกลั่นด้วยไอน้ำ (Stream Distillation) เหมาะสำหรับแยกสารที่ระเหยง่าย (มีจุดเดือดต่ำ) ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ ออกจากสารที่ระเหยยากเป็นการแยกสารที่นิยมมากที่สุดในการกลั่นน้ำมันหอมระเหย