เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย

การเตรียมตัวตรวจสุขภาพสำคัญอย่างไร?

ผู้รับการตรวจสุขภาพ ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนรับการตรวจสุขภาพ หากอดนอนจะทำให้ผลการตรวจผิดปกติได้ โดยเฉพาะความดันโลหิต การเต้นของหัวใจ อุณหภูมิของร่างกาย และจะทำให้แพทย์ไม่สามารถประเมินได้ว่ามีความผิดปกติจริงหรือไม่ นอกจากนี้ควรงดดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจสุขภาพ เนื่องจากแอลกอฮอล์อาจมีผลต่อการตรวจบางอย่าง ควรแจ้งให้แพทย์หรือพยาบาลทราบก่อนตรวจ

การตรวจความดันโลหิต

  • ก่อนวัดความดันประมาณ 30 นาที ไม่ควรดื่มกาแฟ เครื่องดื่มบำรุงกำลังที่มีคาเฟอีน หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ออกกำลังกาย ไม่เครียด ไม่โกรธ
  • ควรนั่งพักก่อนวัดความดันประมาณ 5 – 15 นาที
  • หากปวดปัสสาวะควรปัสสาวะก่อนวัดความดัน
  • ไม่ควรพูดคุย

** หากท่านกำลังรับประทานยาเพื่อควบคุมความดันโลหิต ท่านสามารถรับประทานต่อได้ตามที่แพทย์แนะนำขณะวัดความดัน

การเจาะเลือดจำเป็นต้องงดน้ำงดอาหารหรือไม่?

เฉพาะการตรวจน้ำตาลในเลือด (ตรวจเบาหวาน) และการตรวจไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอร์ไรด์) ที่ควรงดน้ำและอาหารอย่างน้อย 8 - 12 ชั่วโมงก่อนตรวจ แต่สามารถดื่มน้ำเปล่าได้ และควรงดอาหารที่มีไขมันสูงอย่างน้อย 3 วันก่อนตรวจ

การตรวจเลือดอื่นๆ

การตรวจเลือดอื่นๆ เช่น ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด การทำงานของตับ หรือไต ไม่จำเป็นต้องงดน้ำและอาหาร

เตรียมตัวก่อนตรวจปัสสาวะ (urinalysis)

ควรหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำหวาน น้ำอัดลมในปริมาณมาก หรือการรับประทานขนมหวานจัด เพราะจะทำให้มีน้ำตาลปนในปัสสาวะ หลีกเลียงการมีเพศสัมพันธ์ในคืนก่อนตรวจ

สำหรับสุภาพสตรี ไม่ควรอยู่ในช่วงก่อนและหลังมีประจำเดือน 7 วัน หากมีประจำเดือนให้งดตรวจปัสสาวะ เพราะเลือดจะปนเปื้อนในปัสสาวะ มีผลต่อการแปลผลการตรวจ

วิธีการเก็บปัสสาวะที่ถูกต้องคือ ต้องทำความสะอาดส่วนปลายของทางเดินปัสสาวะด้วยน้ำสะอาดแล้วเช็ดให้แห้งก่อน ปัสสาวะทิ้งไปเล็กน้อยแล้วเก็บปัสสาวะตรงส่วนกลางให้ได้ปริมาณที่กำหนด

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย

การตรวจด้วยการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัย

การตรวจเอกซเรย์ กรณีสงสัยว่าตั้งครรภ์ โปรดแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่องดการตรวจเอกซเรย์

การตรวจอัลตราซาวนด์ช่องท้องทั้งหมด ควรงดอาหารอย่างน้อย 4 ชั่วโมง และดื่มน้ำจนรู้สึกปวดปัสสาวะจึงจะทำอัลตราซาวนด์ ซึ่งจะสามารถเห็นภาพได้ชัดเจน

การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) หลีกเลี่ยงการตรวจในช่วงมีประจำเดือน แนะนำให้ตรวจหลังหมดประจำเดือน หากสงสัยว่าตั้งครรภ์ โปรดแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่องดการตรวจเอกซเรย์

การตรวจสายตา และสมรรถภาพการมองเห็น
(ตรวจได้ที่ศูนย์ตา ของโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์)

ไม่ควรมีภาวะเจ็บป่วยของดวงตาขณะตรวจ เช่น ตาแดง ตาอักเสบ ตาบวม เป็นต้น หากสวมแว่นสายตาควรนำแว่นที่ใช้อยู่มาตรวจเช็คด้วย ไม่ควรตรวจสายตาหลังจากที่ทำงานใช้สายตาจนรู้สึกล้าหรือตาพร่ามัวแล้ว

การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน
(ตรวจได้ที่ศูนย์หู คอ จมูก ของโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์)

ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดในการตรวจสมรรถภาพการได้ยิน คือตรวจหลังจากที่หลีกเลี่ยงเสียงดังมาแล้วอย่างน้อย 16 ชั่วโมง นั่นก็คือควรตรวจก่อนเวลาเข้าทำงาน การตรวจในขณะทำงานหรือหลังจากออกกะมาแล้วอาจทำให้ผลการตรวจผิดพลาดได้

ผู้รับการตรวจต้องไม่เป็นหวัดคัดจมูกเพราะอาจมีภาวะหูอื้อได้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจคือหูฟังครอบหู ดังนั้นการสวมต่างหูใหญ่ แว่นตา ที่คาดผม หมวก อาจเป็นอุปสรรคต่อการตรวจ

การตรวจสมรรถภาพปอด
(ตรวจได้ที่ศูนย์อายุรกรรม โรคปอด ของโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์)

1. ไม่ควรตรวจหลังจากรับประทานอาหารมาใน 1 ชั่วโมง เพราะอาจจะทำให้อาเจียน
2. หากสูบบุหรี่ ให้งดสูบบุหรี่มาก่อนอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
3. ควรสวมชุดที่ไม่รัดทรวงอกและท้อง ควรเป็นชุดที่ค่อนข้างหลวมสบาย
4. ไม่อยู่ในภาวะหลังผ่าตัด โดยเฉพาะผ่าตัดช่องท้อง ทรวงอก หรือสมอง
5. หากเป็นโรคระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัด หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ ควรรักษาหายแล้ว
6. ควรพักให้หายเหนื่อยก่อนตรวจ ไม่ควรตรวจหลังออกกำลังกาย
7. หากมีฟันปลอมต้องถอดฟันปลอมออกก่อนตรวจ
8. ห้ามเคี้ยวหมากฝรั่ง หรืออมลูกอมขณะตรวจ
9. หากเป็นโรคที่ต้องใช้ยาขยายหลอดลมชนิดพ่น ต้องงดใช้ยาขยายหลอดลมก่อนตรวจอย่างน้อย 2 ชั่วโมง

คำแนะนำ

หากท่านต้องการเข้ารับบริการ แนะนำให้นัดหมายล่วงหน้าที่ โทร.1474 ซึ่งจะมีเจ้าหน้าที่คอยให้คำแนะนำและดำเนินการนัดหมายให้ท่านค่ะ

หากท่านสนใจตรวจสุขภาพ สามารถดูเลือกเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! โปรแกรมตรวจ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! คลินิกตรวจสุขภาพ ชั้น 4 โซน E

การเตรียมตัวตรวจสุขภาพสำคัญอย่างไร?

ผู้รับการตรวจสุขภาพ ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนรับการตรวจสุขภาพ หากอดนอนจะทำให้ผลการตรวจผิดปกติได้ โดยเฉพาะความดันโลหิต การเต้นของหัวใจ อุณหภูมิของร่างกาย และจะทำให้แพทย์ไม่สามารถประเมินได้ว่ามีความผิดปกติจริงหรือไม่ นอกจากนี้ควรงดดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจสุขภาพ เนื่องจากแอลกอฮอล์อาจมีผลต่อการตรวจบางอย่าง ควรแจ้งให้แพทย์หรือพยาบาลทราบก่อนตรวจ

การตรวจความดันโลหิต

  • ก่อนวัดความดันประมาณ 30 นาที ไม่ควรดื่มกาแฟ เครื่องดื่มบำรุงกำลังที่มีคาเฟอีน หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ออกกำลังกาย ไม่เครียด ไม่โกรธ
  • ควรนั่งพักก่อนวัดความดันประมาณ 5 – 15 นาที
  • หากปวดปัสสาวะควรปัสสาวะก่อนวัดความดัน
  • ไม่ควรพูดคุย

** หากท่านกำลังรับประทานยาเพื่อควบคุมความดันโลหิต ท่านสามารถรับประทานต่อได้ตามที่แพทย์แนะนำขณะวัดความดัน

การเจาะเลือดจำเป็นต้องงดน้ำงดอาหารหรือไม่?

เฉพาะการตรวจน้ำตาลในเลือด (ตรวจเบาหวาน) และการตรวจไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอร์ไรด์) ที่ควรงดน้ำและอาหารอย่างน้อย 8 - 12 ชั่วโมงก่อนตรวจ แต่สามารถดื่มน้ำเปล่าได้ และควรงดอาหารที่มีไขมันสูงอย่างน้อย 3 วันก่อนตรวจ

การตรวจเลือดอื่นๆ

การตรวจเลือดอื่นๆ เช่น ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด การทำงานของตับ หรือไต ไม่จำเป็นต้องงดน้ำและอาหาร

เตรียมตัวก่อนตรวจปัสสาวะ (urinalysis)

ควรหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำหวาน น้ำอัดลมในปริมาณมาก หรือการรับประทานขนมหวานจัด เพราะจะทำให้มีน้ำตาลปนในปัสสาวะ หลีกเลียงการมีเพศสัมพันธ์ในคืนก่อนตรวจ

สำหรับสุภาพสตรี ไม่ควรอยู่ในช่วงก่อนและหลังมีประจำเดือน 7 วัน หากมีประจำเดือนให้งดตรวจปัสสาวะ เพราะเลือดจะปนเปื้อนในปัสสาวะ มีผลต่อการแปลผลการตรวจ

วิธีการเก็บปัสสาวะที่ถูกต้องคือ ต้องทำความสะอาดส่วนปลายของทางเดินปัสสาวะด้วยน้ำสะอาดแล้วเช็ดให้แห้งก่อน ปัสสาวะทิ้งไปเล็กน้อยแล้วเก็บปัสสาวะตรงส่วนกลางให้ได้ปริมาณที่กำหนด

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย

การตรวจด้วยการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัย

การตรวจเอกซเรย์ กรณีสงสัยว่าตั้งครรภ์ โปรดแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่องดการตรวจเอกซเรย์

การตรวจอัลตราซาวนด์ช่องท้องทั้งหมด ควรงดอาหารอย่างน้อย 4 ชั่วโมง และดื่มน้ำจนรู้สึกปวดปัสสาวะจึงจะทำอัลตราซาวนด์ ซึ่งจะสามารถเห็นภาพได้ชัดเจน

การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) หลีกเลี่ยงการตรวจในช่วงมีประจำเดือน แนะนำให้ตรวจหลังหมดประจำเดือน หากสงสัยว่าตั้งครรภ์ โปรดแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่องดการตรวจเอกซเรย์

การตรวจสายตา และสมรรถภาพการมองเห็น
(ตรวจได้ที่ศูนย์ตา ของโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์)

ไม่ควรมีภาวะเจ็บป่วยของดวงตาขณะตรวจ เช่น ตาแดง ตาอักเสบ ตาบวม เป็นต้น หากสวมแว่นสายตาควรนำแว่นที่ใช้อยู่มาตรวจเช็คด้วย ไม่ควรตรวจสายตาหลังจากที่ทำงานใช้สายตาจนรู้สึกล้าหรือตาพร่ามัวแล้ว

การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน
(ตรวจได้ที่ศูนย์หู คอ จมูก ของโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์)

ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดในการตรวจสมรรถภาพการได้ยิน คือตรวจหลังจากที่หลีกเลี่ยงเสียงดังมาแล้วอย่างน้อย 16 ชั่วโมง นั่นก็คือควรตรวจก่อนเวลาเข้าทำงาน การตรวจในขณะทำงานหรือหลังจากออกกะมาแล้วอาจทำให้ผลการตรวจผิดพลาดได้

ผู้รับการตรวจต้องไม่เป็นหวัดคัดจมูกเพราะอาจมีภาวะหูอื้อได้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจคือหูฟังครอบหู ดังนั้นการสวมต่างหูใหญ่ แว่นตา ที่คาดผม หมวก อาจเป็นอุปสรรคต่อการตรวจ

การตรวจสมรรถภาพปอด
(ตรวจได้ที่ศูนย์อายุรกรรม โรคปอด ของโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์)

1. ไม่ควรตรวจหลังจากรับประทานอาหารมาใน 1 ชั่วโมง เพราะอาจจะทำให้อาเจียน
2. หากสูบบุหรี่ ให้งดสูบบุหรี่มาก่อนอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
3. ควรสวมชุดที่ไม่รัดทรวงอกและท้อง ควรเป็นชุดที่ค่อนข้างหลวมสบาย
4. ไม่อยู่ในภาวะหลังผ่าตัด โดยเฉพาะผ่าตัดช่องท้อง ทรวงอก หรือสมอง
5. หากเป็นโรคระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัด หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ ควรรักษาหายแล้ว
6. ควรพักให้หายเหนื่อยก่อนตรวจ ไม่ควรตรวจหลังออกกำลังกาย
7. หากมีฟันปลอมต้องถอดฟันปลอมออกก่อนตรวจ
8. ห้ามเคี้ยวหมากฝรั่ง หรืออมลูกอมขณะตรวจ
9. หากเป็นโรคที่ต้องใช้ยาขยายหลอดลมชนิดพ่น ต้องงดใช้ยาขยายหลอดลมก่อนตรวจอย่างน้อย 2 ชั่วโมง

คำแนะนำ

หากท่านต้องการเข้ารับบริการ แนะนำให้นัดหมายล่วงหน้าที่ โทร.1474 ซึ่งจะมีเจ้าหน้าที่คอยให้คำแนะนำและดำเนินการนัดหมายให้ท่านค่ะ

หากท่านสนใจตรวจสุขภาพ สามารถดูเลือกเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! โปรแกรมตรวจ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! คลินิกตรวจสุขภาพ ชั้น 4 โซน E

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

เพื่อตรวจความพร้อมของสุขภาพร่างกาย เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง เพื่อตรวจสอบความบกพร่องของจิตใจ พื่อตรวจหาสารเสพติดในร่างกาย

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

1. เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 2. เพื่อนำผลการทดสอบไปจัดกลุ่มการเรียนการสอน การจัดโปรแกรมการฝึกซ้อมกีฬา การออกกำลังกาย 3. เพื่อป้องกันการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยที่อาจจะเกิดขึ้นจากการออกกำลังกาย การฝึกซ้อมกีฬา และการ เรียนการสอน 4. เพื่อเป็นการกระตุ้น และแรงจูงใจ ในการปรับปรุง พัฒนา สมรรถภาพ ...

ก่อนทดสอบสมรรถภาพทางกายควรทำสิ่งใดก่อน

การเตรียมร่างกายในการทดสอบสมรรถภาพ.
ฝึกร่างกายให้พร้อม.
2.งดรับประทานยาที่เป็นสารกระตุ้น อย่างน้อย 7 วัน.
งดออกกำลังกายอย่างหนัก อย่างน้อย 24 ชั่วโมง ชั่วโมง.
งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์.
รับประทานอาหารประจำวันตามปกติ.
พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพออย่างน้อย 8 ชั่วโมง.

การทดสอบสมรรถภาพทางกายมีความจำเป็นหรือไม่อย่างไร

เป็นที่ยอมรับกันว่าสมรรถภาพทางกายมีบทบาทและมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดต่อการทำงานทุกอาชีพ เนื่องจากการมีสมรรถภาพทางกายดีช่วยให้คนเราสามารถประกอบอาชีพได้เป็นระยะเวลานานและมีปริสิทธิภาพสูง นอกจากนี้ยังช่วยให้คนเรามีความสามารถที่จะต่อสู้กับความยุ่งยากในชีวิตไม่เกิดความตึงเครียดทางอารมณ์ และสามารถปรับจิตใจและอารมณ์ให้เหมาะกับ ...