จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จากนั้น รองเลขาธิการฯ ได้นำเสนอ "ร่างกรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13” ซึ่งกำหนดแนวทางและหมุดหมายการพัฒนาให้ตอบสนองกับบริบทการพัฒนาที่เกิดขึ้นในช่วงปีที่ 6 ถึงปีที่ 10 ของยุทธศาสตร์ชาติ สรุปได้ดังนี้ 

สาระของกรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีเป้าหมายเพื่อพลิกโฉมประเทศไทย สู่เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน โดยสิ่งที่ต้องทำ คือ การเปลี่ยนผ่านประเทศ หรือการ transform ประเทศใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ 

1. การเปลี่ยนผ่านจากเศรษฐกิจฐานทรัพยากร ไปสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมและองค์ความรู้ หรือการมุ่งสู่เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีเป้าหมายให้เศรษฐกิจไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง บนพื้นฐานของการสร้างมูลค่าเพิ่ม จากการพัฒนา ต่อยอด และใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม พร้อมกับการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ 

2. การเปลี่ยนผ่านจากสังคมที่มีเพียงบางกลุ่มที่เข้าถึงโอกาสไปสู่สังคมที่มีโอกาสสำหรับทุกคนและทุกพื้นที่ หรือการสร้างสังคมแห่งโอกาสและความเสมอภาค โดยทุกกลุ่มคนมีโอกาสในการเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเต็มศักยภาพ ได้รับความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ มีส่วนร่วมและได้รับประโยชน์จากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และประเทศมีความเหลื่อมล้ำลดลง ทั้งในเชิงธุรกิจ พื้นที่ รายได้ และความมั่งคั่ง 

3. การเปลี่ยนผ่านจากการผลิตและการบริโภคที่ทำลายสิ่งแวดล้อมไปสู่วิถีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีความปลอดภัยหรือการเสริมสร้างวิถีชีวิตที่ยั่งยืน โดยทุกภาคส่วนในสังคมมีรูปแบบการดำเนินชีวิตและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เอื้อให้เกิดความยั่งยืนต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งสามารถรับมือและมีภูมิคุ้มกันจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป 

4. การเปลี่ยนผ่านจากกำลังคนทักษะต่ำและภาครัฐที่ล้าสมัย ไปสู่กำลังคนและภาครัฐที่มีสมรรถนะสูง เพื่อเอื้อต่อการเปลี่ยนผ่านประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน

ภายใต้องค์ประกอบในแต่ละด้าน จะมีการกำหนด "หมุดหมาย” ซึ่งเป็นการบ่งบอกถึงสิ่งที่ประเทศไทยปรารถนาจะ ‘เป็น’ มุ่งหวังจะ ‘มี’ หรือต้องการจะ ‘ขจัด’ ในช่วงระยะเวลา 5 ปีของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เพื่อให้การขับเคลื่อนเป้าหมายการพลิกโฉมประเทศสู่การเป็น เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน ไปสู่การปฏิบัติมีทิศทางที่ชัดเจนและเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม จำนวน 13 หมุดหมาย คือ (1) ไทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและอาหารแปรรูปมูลค่าสูง (2) ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและความยั่งยืน (3) ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของอาเซียน (4) ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง (5) ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและจุดยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สำคัญของภูมิภาค (6) ไทยเป็นฐานการผลิตอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและบริการดิจิทัลของอาเซียน (7) มุ่งลดความเหลื่อมล้ำระหว่างธุรกิจขนาดใหญ่และ SMEs (8) มุ่งลดความเหลื่อมล้ำระหว่างพื้นที่ (9) มุ่งเพิ่มพลวัตการเลื่อนชั้นทางสังคมและลดความเหลื่อมล้ำเชิงรายได้และความมั่งคั่ง (10) ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ (11) ไทยสามารถปรับตัวและลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ (12) ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต และ (13) ไทยมีภาครัฐที่มีสมรรถนะสูง

การระดมความเห็นต่อกรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ที่ สศช. จัดขึ้นในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน 2564 นี้ ประกอบด้วยการจัดเวทีระดมความเห็นในระดับกลุ่มจังหวัดทั่วประเทศ จำนวน 18 ครั้ง การระดมความเห็นภาคีการพัฒนาจำนวน 7 กลุ่ม ได้แก่ ภาคราชการ ภาคเอกชน กลุ่มนักวิชาการ/สถาบันการศึกษา กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มสื่อมวลชน และกลุ่มอดีตผู้บริหาร สศช. 

นอกจากนี้ประชาชนทั่วไปสามารถแสดงความคิดเห็นต่อกรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ของ สศช. ได้ทางเว็บไซต์ www.nesdc.go.th, Facebook สภาพัฒน์, Twitter สภาพัฒน์, Line สภาพัฒน์ Update, Email : [email protected] แบบสอบถามออนไลน์ และตู้ ปณ.49 ปทฝ.หลานหลวง กรุงเทพฯ 10102

ขอต้อนรับสู่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดกระบี่

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดตรัง

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดพังงา

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดภูเก็ต

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดระนอง

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดสตูล

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

นายพุฒิพงศ์ ศิริมาตย์
ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่นายขจรศักดิ์ เจริญโสภา
ผู้ว่าราชการจังหวัด ตรัง นายเอกรัฐ หลีเส็น
ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงานายณรงค์ วุ่นซิ้ว
ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต- ว่าง -
ผู้ว่าราชการจังหวัดระนองนายจำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา
ผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดกระบี่

แนะนำแหล่งท่องเที่ยว

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

นายพุฒิพงศ์ ศิริมาตย์

ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่

คำขวัญประจำจังหวัด

แหล่งถ่านหิน ถิ่นหอยเก่า เขาตระหง่าน ธารสวย รวยเกาะ เพาะปลูกปาล์ม งามหาดทราย ใต้ทะเลสวยสด มรกตอันดามัน สวรรค์เกาะพีพีสระมรกต กำเนิดมาจากธารน้ำอุ่น ในผืนป่าที่ราบต่ำภาคใต้ เป็นน้ำพุร้อนมีอุณหภูมิประมาณ 30-50 องศาเซลเซียส เป็นสระน้ำสวยใสกลางใจป่าที่มีน้ำใสเป็นสีเขียวอมฟ้า เปลี่ยนสีไปได้ตามวันเวลาและสภาพแสง สระมรกตกำเนิดมาจากธารน้ำอุ่น ในผืนป่าที่ราบต่ำภาคใต้ เป็นน้ำพุร้อนลักษณะเป็นสระน้ำร้อน 3 สระ ได้แก่ สระแก้ว สระมรกต และสระน้ำผุด รอบๆ บริเวณเป็นป่าร่มรื่นเขียวครึ้มมีพรรณไม้ที่น่าสนใจ... รายละเอียด

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดตรัง

แนะนำแหล่งท่องเที่ยว

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

นายขจรศักดิ์ เจริญโสภา

ผู้ว่าราชการจังหวัตรัง


คำขวัญประจำจังหวัด

เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง หมูย่างรสเลิศ ถิ่นกำเนิดยางพารา เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล เสน่ห์หาดทรายงาม น้ำตกสวยตระการตาเกาะมุก-ถ้ำมรกต นับเป็นจุดเด่นที่สุดในทะเลตรัง ลักษณะของเกาะทางด้านทิศตะวันตกส่วนใหญ่เป็นโขดหน้าผาหินสูงตระหง่านหันหน้าออกสู่ทะเล ทางฝั่งตะวันออกเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวประมงสามารถเดินเที่ยวรอบเกาะได้ และทางด้านทิศตะวันตกของกเกาะมุก มีถ้ำมรกตหรือถ้ำทะเลซึ่งมีความงดงามตระการตาอย่างมาก จากปากทางเข้าถ้ำเป็นโพรงเล็กๆ การเข้าชมภายในถ้ำจะต้องว่ายน้ำลอยคอเข้าไป... รายละเอียด

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดพังงา

แนะนำแหล่งท่องเที่ยว

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

นายจำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา

ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา

คำขวัญประจำจังหวัด

แร่หมื่นล้าน บ้านกลางน้ำ ถ้ำงามตา ภูผาแปลก แมกไม้จำปูน บริบูรณ์ด้วยทรัพยากรอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะที่มีแนวปะการังน้ำตื้นที่สมบูรณ์สวยงาม มีปลาสีสันต่างๆ มากมาย เป็นแหล่งเหมาะสำหรับชมปะการังน้ำตื้น โดยเฉพาะเกาะตอรินลาและเกาะปาจุมบา สำหรับบริเวณที่เหมาะจะดำน้ำลึกคือ กองหินริเชลิว อยู่ห่างจากเกาะสุรินทร์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 10 กิโลเมตร เป็นแหล่งที่สมบูรณ์ด้วยธรรมชาติใต้ทะเล มีปลาหลายพันธุ์ ปะการังสีสวยและเป็นจุดที่มีโอกาสพบฉลามวาฬ... รายละเอียด

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดภูเก็ต

แนะนำแหล่งท่องเที่ยว

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

นายณรงค์ วุ่นซิ้ว

ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต

คำขวัญประจำจังหวัด

ไข่มุกอันดามัน สวรรค์เมืองใต้ หาดทรายสีทอง สองวีรสตรี บารมีหลวงพ่อแช่มจุดชมวิวสามหาด เป็นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นหาดทั้ง 3 หาดพร้อมกัน ได้แก่ หาดกะตะน้อย หาดกะตะ หาดกะรน ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวขี้นไปชมวิวและถ่ายรูปเป็นจำนวนมาก ได้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกอย่างหนึ่งของภูเก็ต... รายละเอียด

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดระนอง

แนะนำแหล่งท่องเที่ยว

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

นายสมเกียรติ ศรีษะเนตร

ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง

คำขวัญประจำจังหวัด

คอคอดกระ ภูเขาหญ้า กาหยูหวาน ธารน้ำแร่ มุกแท้เมืองระนองเกาะพยาม เป็นเกาะขนาดใหญ่ พื้นที่ประมาณ 35ตารางกิโลเมตร อยู่ใกล้เกาะช้าง มีชาวบ้านอาศัยอยู่บนเกาะประมาณ 160 ครัวเรือน ชาวบ้านมีอาชีพทำสวนมะม่วงหิมพานต์ สวนยางพาราและประมงชายฝั่ง กิจกรรมบนเกาะจะมีการตกปลา ขี่จักรยานรอบเกาะ และสำหรับผู้ที่ชื่นชอบการดำน้ำดูปะการัง เกาะพยามถือเป็นแหล่งดูปะการังที่สมบูรณ์สวยงาม และด้านทิศตะวันออกของเกาะไม่มีหาดทราย แต่มีความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน... รายละเอียด

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย


จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

ตราประจำจังหวัดสตูล

แนะนำแหล่งท่องเที่ยว

จังหวัดใดไม่อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย

นายเอกรัฐ หลีเส็น

 ผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล

คำขวัญประจำจังหวัด

สตูล สงบ สะอาด ธรรมชาติบริสุทธิ์พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสตูล พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสตูลเป็นอาคาร 2 ชั้น หลังคาทรงปั้นหยา ผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส จัดแสดงนิทรรศการและส่วนบริการ 10 ห้องดังนี้ ห้องที่ 1 ห้องข้อมูลข่าวสารห้องที่ 2 ห้องภูมิหลังเมืองสตูลห้องที่ 3 ห้องประชาสัมพันธ์ห้องที่ 4 ห้องวิถีชีวิตชาวสตูลห้องที่ 5 ห้องจัดแสดงนิทรรศการชั่วคราวห้องที่ 6 ห้องบ้านเจ้าเมืองห้องที่ 7 ห้องเรือนชานชาวบ้านห้องที่ 8 ห้องรับแขกร่วมสมัยกูเด็นห้องที่ 9 ห้องวัฒนธรรมชาวไทย-มุสลิมห้องที่ 10 ส่วนชั้นดาดฟ้า รายละเอียด