ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นต้นในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา

เปิด/ปิดแถบข้าง

ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นต้นในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา

ค้นหา

  • สร้างบัญชี

เครื่องมือส่วนตัว

สร้างบัญชี

เข้าสู่ระบบ

หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม

  • คุย
  • ส่วนร่วม

การนำทาง

  • หน้าหลัก
  • ถามคำถาม
  • เหตุการณ์ปัจจุบัน
  • สุ่มบทความ
  • เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
  • ติดต่อเรา
  • บริจาคให้วิกิพีเดีย

มีส่วนร่วม

  • คำอธิบาย
  • เริ่มต้นเขียน
  • ศาลาประชาคม
  • เปลี่ยนแปลงล่าสุด
  • ดิสคอร์ด

เครื่องมือ

  • หน้าที่ลิงก์มา
  • การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวโยง
  • อัปโหลดไฟล์
  • หน้าพิเศษ
  • ลิงก์ถาวร
  • สารสนเทศหน้า
  • อ้างอิงบทความนี้
  • สิ่งนี้ใน วิกิสนเทศ

พิมพ์/ส่งออก

  • สร้างหนังสือ
  • ดาวน์โหลดเป็น PDF
  • รุ่นพร้อมพิมพ์

ภาษา

ลิงก์ข้ามไปยังรุ่นภาษาอื่นของบทความนี้ถูกย้ายไปด้านบนแล้วที่ทางขวาของชื่อหน้า ไปด้านบน

พงศาวดาร

Add languages

    เพิ่มลิงก์ข้ามภาษา

    • บทความ
    • อภิปราย

    ไทย

      • อ่าน
      • แก้ไข
      • ดูประวัติ

      เพิ่มเติม

      • อ่าน
      • แก้ไข
      • ดูประวัติ

      จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

      พงศาวดาร คือบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น ๆ[1]

      พงศาวดารในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีการถกเถียงกันเรื่องความน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เป็นหลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานชั้นต้น เพราะมีการเขียนพงศาวดารหลายฉบับในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในเนื้อหาและรายละเอียด ประกอบกับการใช้ศักราชในพงศาวดารไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ บ้างใช้มหาศักราช บ้างใช้จุลศักราช และพงศาวดารมีการเขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ซึ่งเขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่กล่าวถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นต้น

      รายชื่อพระราชพงศาวดารไทย[แก้]

      • พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์
      • พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ
      • พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)
      • พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด)
      • พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน
      • พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ภาษามคธ แล คำแปล
      • พระราชพงศาวดาร ฉบับหมอบรัดเล
      • พระราชพงศาวดารเหนือ ฉบับ พระวิเชียรปรีชา (น้อย)
      • พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน
      • พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา
      • พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ ๑ - ๔ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)
      • พงศาวดารโยนก ฉบับ พระยาประชากิจกรจักร(แช่ม บุนนาค)

      อ้างอิง[แก้]

      1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. หน้า 800. ISBN 978-616-7073-80-4

      ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นต้นในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา
      บทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล
      ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์

      เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=พงศาวดาร&oldid=10293279"

      หมวดหมู่:

      • พงศาวดาร
      • บทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์

      หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่:

      • หน้าที่ใช้ลิงก์พิเศษ ISBN

      ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นต้น

      1. หลักฐำนชั้นต้นหรือหลักฐำนปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานช่วง ต้น จึงเป็นหลักฐานที่มีความสาคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์ ...

      ข้อใดเป็นหลักฐานที่สําคัญที่สุดในการศึกษาประวัติศาสตร์

      1. หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานช่วงต้น จึงเป็นหลักฐานที่มีความสำคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์ ...

      ข้อใดจัดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ขั้นปฐมภูมิ

      หลักฐานขั้นปฐมภูมิ หมายถึง หลักฐานที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ต้องการศึกษา และบันทึก หรือจัดทำาขึ้นโดยบุคคลที่รู้เห็นหรือร่วมอยู่ในเหตุการณ์นั้น ๆ หลักฐานขั้นปฐมภูมิเป็นได้ทั้งหลักฐาน ประเภทลายลักษณ์อักษรและที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

      หลักฐานทางประวัติศาสตร์ขั้นทุติยภูมิมีอะไรบ้าง

      หลักฐานทางทุติยภูมิ - หลักฐานที่นักประวัติศาสตร์หรือนักวิจัยรวบรวบ เรียบเรียงขึ้นมาภายหลัง จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต หลักฐานประเภทนี้มีอยู่จำนวนมาก และหลากหลาย เช่น หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน และบทความทางด้านประวัติศาสตร์ ตลอดจนข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากเอกสารอื่นๆ เช่น หนังสือประเภท ...

      ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นต้น ข้อใดเป็นหลักฐานที่สําคัญที่สุดในการศึกษาประวัติศาสตร์ ข้อใดจัดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ขั้นปฐมภูมิ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ขั้นทุติยภูมิมีอะไรบ้าง ข้อใดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ ต่าง จากพวก ข้อใดคือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประเมินได้จากข้อใด หลักฐานปฐมภูมิมีความน่าเชื่อถือกว่าหลักฐานทุติยภูมิ เพราะเหตุใด ถ้าต้องการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยาควรศึกษาจากหลักฐานใด เพราะเหตุใด คำว่า “หลักฐานปฐมภูมิ” มีความสัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด